You are on page 1of 4

นิทาน 

(บาลี: นิทาน) ในภาษาไทย มีใช้อย่างน้อย 2 ความหมาย คือ

นิทาน เป็ นเรื่องเล่าสืบต่อกันมา กล่าวได้ว่าเป็ นวรรณกรรมที่เก่า


แก่ที่สุด นิทานอาจมีกำเนิดพร้อมๆ กับครอบครัวของมนุษยชาติ มูล
เหตุที่มาแต่เริ่มแรก คงเป็ นเรื่องที่เกิดขึ น
้ จริงแล้วเล่าสู่กันฟั ง มีการเพิ่ม
เติมเสริมแต่งให้พิสดารมากยิ่งขึ น
้ จนห่างไกลจากเรื่องจริง กลายเป็ น
นิทานไป การเขียนนิทานในความหมายแรก อาจเป็ นการเขียนจาก
จินตนาการก็ได้

นิทาน (บาลี) เป็ นเรื่องต้นเหตุของเหตุการณ์ในปั จจุบัน เช่น  เจ้า


ชายสิทธัตถะ ก็จัดเป็ นอวิทูเรนิทานของพระพุทธเจ้า เพราะเจ้าชาย
สิทธัตธะเป็ นเรื่องต้นเหตุของเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ถ้าไม่มี
เจ้าชายสิทธัตธะที่ออกบวช พระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดมก็มีไม่ได้
เป็ นต้น

ความหมายอย่างที่สองเป็ นความหมายที่ยืมเอาคำในภาษาบาลี
ในพระพุทธศาสนามาใช้นั่นเอง เพราะนิทานในพระพุทธศาสนาจะ
กล่าวถึงเรื่องต้นเหตุย้อนหลังไปนานมาก จนบางอย่างที่เคยมีในยุคนั น

ๆ ไม่ปรากฏให้คนในยุคนี ไ้ ด้พบเห็นอีกแล้ว ท่านจึงอนุโลมเอาศัพท์มา
ใช้เทียบกับนิยายปรัมปราให้เรียกว่า  นิทาน ไปด้วย แต่ความจริงแล้ว
คำว่า "นิทาน" ดังเดิมที่มาจากพระพุทธศาสนานั น
้ จะหมายถึงเรื่ องที่
เคยมีอยู่จริง ๆ เท่านั น
้ ไม่ใช่เรื่ องแต่งขึ น
้ แต่ประการใด

ประเภทของนิทาน

นิทานประเภทตำนาน อาจอิงเหตุการณ์จริงอยู่บ้างก็ได้ เช่น
ตำนานเรื่อง ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ซึ่งมีหลักฐานอ้างอิงว่าเป็ นเรื่องจริง
เพียงอย่างเดียว คือพระธาตุกล่องข้าวน้อยที่บ้านตาดทอง อ.เมือง
จ.ยโสธร มุ่งให้เกิดการเรียนรู้ เรื่ ออดีตและเป็ นข้อคิด ข้อปฏิบัติ และข้อ
ละเว้น

นิทานสุภาษิต เป็ นนิทานที่มีผ ู้แต่งขึ น


้ เพื่อเป็ นบทสอนใจผู้อ่านและผู้ฟั ง
เช่นินิทานอีสป นิทานประเภทนี จ
้ ะมีคติหรือข้อคิดลงท้ายเรื่องเสมอ
เช่น เรื่ องราชสีห์กับหนู กระต่ายกับเต่าและสุนัขกับเงาเป็ นต้น

นิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานประจำท้องถิ่น เป็ นนิทานที่เกี่ยวกับวิถี


ชีวิตของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ น
้ ใน
แต่ละท้องถิ่น เช่น เรื่องปอบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ปอบ
ผีฟ้ าในภาคเหนือ เป็ นต้น

นิทานชาดก เป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็ นมาของ


พระพุทธเจ้าในพระชาติต่างๆ ทั ง้  10 ชาติ  เช่น เรื่ องเวชสันดรชาดก
มุ่งสร้างความศรัทธาในการบำเพ็ญทานบารมี

นิทานเกี่ยวกับเทพเจ้า หรือ นิทานเทพปกรฌัม  เป็ นเรื่ องที่เกี่ยว


กับเทพเจ้าในลัทธิศาสนาต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อ โดยเฉพาะตัว
บุคคลที่มีอภินิหารเหนือความเป็ นจริงลึกลับได้แก่   พระอินทร์ พระ
พรหม ทศกัณฐ์ พระสมุทร พระแม่ธรณี พระแม่คงคา พระอาทิตย์
เป็ นต้น มุ่งสร้างความเชื่อ ความศรัทธาแก่ผ ู้อ่านและผู้ฟั ง

นิทานเกี่ยวกับพืชสัตว์และเรื่องสิ่งของต่างๆ ตัวละครที่เห็นพืช
สัตว์ และสิ่งของจะพูดได้ มรการแต่งนิทานประเภทนี ม
้ ากเพื่อใช้
ประกอบการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยเพราะนอกจากจะช่วยส่งเสริม
พัฒนาการของเด็กแลวจะช่วยให้เด็กรักษาธรรมชาติสิ่งแวดล้อมด้วย
นิทานสะท้อนสังคม เป็ นนิทานที่แต่งขึ น
้ มาเพื่อแสดงให้ร ู้ ถึงสภาพ
ของสังคมที่เป็ นอยู่หรือสถาพของสังคมที่ควรจะเป็ นไปในอนาคต มุ่ง
ปลูกฝั งเจตคติ ค่านิยาต่างๆในด้านเศรษฐกิจ   การเมืองการปกครอง
การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็ นต้น

นิทานอธิบายเหตุ  เป็ นเรื่องราวของเหตุที่มาของสิ่งหนึ่งสิ่งใดและ


อธิบายพร้อมตอบคำถามเรื่องราวนั น
้ ๆ ด้วย เช่น เรื่ องกระต่ายในดวง
จันทร์ ทำไมน้ำทะเลจึงเค็ม นกยูงกับกา เป็ นต้น

นิทานตลกขบขัน เป็ นเรื่ องเปรียบเทียบชีวิตความเป็ นอยู่ แต่มีมุก


ที่ตลกขบขัน สนุกสนาน ทำให้เกิดความรู้ สึกเป็ นสุข เนื้ อเรื่ องเกี่ยวกับ
ไหวพริบ เรื่องราวแปลกๆเรื่องเหลือเชื่อ เรื่องเกินความจริง เป็ นต้น
นิทานมีหลายประเภทด้วยกัน การแยกนิทานขึ น
้ อยู่กับ ลักษณะของ
เรื่ อง และที่มาของนิทานเป็ นสำคัญ

นิทานวีรบุรุ ษ  เป็ นนิทานที่กล่าวอ้างถึงบุคคล ที่มีความสามรถ


องอาจ กล้าหาญ มักเป็ นเรื่องที่ถ่ายทอดเรื่ องจริงของบุคคลสำคัญๆ ไว้
มักสร้างฉากหรือสถานที่ที่น่าตื่นเต้นเกินความเป็ นจริง เพื่ อให้เรื่องราว
สนุกสนานทำให้เกิดความรู้สึกคล้อยตามบุคคลที่เป็ นวีรบุรุษนัน
้ มีความ
สามารถและน่าสนใจจริงๆ

ประโยชน์ของนิทาน

1.นิทานช่วยกระตุ้นจินตนาการ การฟั งจากเสียงที่เล่าออกมาทำให้เด็ก


ได้ใช้จินตนาการโดยสร้างเรื่องราวให้เห็นเป็ นรู ปภาพ การเชื่อมโยงใน
การใช้จินตนาการจากเสียงเป็ นภาพจะช่วยพัฒนาความฉลาดของเด็ก
ได้มาก
2.ปลูกฝั งให้เด็กเป็ นคนช่างคิด ช่างสังเกต ซึ่งเป็ นพื้ นฐานในการสร้าง
ความมั่นใจ กล้าคิด กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่
เหมาะสมและสร้างสรรค์

3.นิทานช่วยส่งเสริมด้านภาษา การที่เด็กได้ฟั งได้ยินเสียงจะทำให้เขา


รู้ จักคำหรือประโยคตลอดจนรู้ จักความหมายของคำหรือประโยคนั น
้ ๆ
และนำไปสู่การเข้าใจภาษาและสื่ อสารได้เหมาะสม อีกทั ง้ เป็ นการปูพ้ื น
ฐานทักษะการฟั ง การพูด การอ่านและการเขียนต่อไป

4.นิทานช่วยเสริมสร้างสมาธิ  สมาธิเป็ นส่วนสำคัญที่จะทำให้เด็กหรือ


ผู้ใหญ่ได้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนเสร็จและสำเร็จได้ง่าย

5.เนื้ อหาในนิทานส่วนใหญ่มักสอดแทรกทักษะชีวิต  และข้อคิดดีๆไว้ใน


ตอนท้ายเรื่องเสมอ ซึ่งสามารถใช้เป็ นสื่อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่
ไม่เหมาะสมและปลูกฝั งพฤติกรรมที่ดีให้แก่เด็กใช้เป็ นตัวบ่มเพาะ
คุณธรรมและจริยธรรม ทำให้เด็กได้ตระหนักถึงคุณงามความดีและสิ่ง
เหล่านีจ
้ ะพัฒนาเป็ นบุคลิกภาพติดตัวไปจนตลอดชีวิต

6.นิทานช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้แก่พ่อแม่และเด็กได้เป็ นอย่างดี
นิทานเป็ นสื่อกลางที่ส่งความอบอุ่นความเอาใจใส่จากพ่อแม่ไปสู่ลูก
ทำให้เด็กไม่รู้ สึกว้าเหว่ เด็กมีสภาพจิตใจที่มั่นคงมีพัฒนาการทางด้าน
อารมณ์และความคิดเหมาะสมตามวัย

You might also like