You are on page 1of 58

การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และผู้บังคับบัญชายุวกาชาด

หลักสูตร ครูผู้สอนกิจกรรมยุวกาชาด รุ่นที่ ๕๔๖


วันที่ ๑๓ – ๑๕ มกราคม ๒๕๖๖
ณ ห้องประชุมศุภรัตน์ โรงเรียนอุทัยวิทยาคม
อาเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี
การเล่ นเกม
พยัพ สาธุพันธ์
เงื่อนไข
พับผ่า
สันดาน
ขยาย
โลเคชั่น
เลขา
หน้ามืดตามัว
ตานาน
วันทองสองใจ
ขับไล่
จุดประสงค์
๑. บอกความหมายและประเภทของเกมได้
๒. เลือกเกมเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมได้เหมาะสม
๓. อธิบายวิธีการเล่นเกมได้
๔. เป็นผู้นาเกมได้
๑.ความหมายของเกม
เป็นลักษณะของกิจกรรมของมนุษย์เพื่อประโยชน์
อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เพื่อความสนุกสนานบันเทิง
เพื่อฝึกทักษะ และเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น และ
ในบางครั้งอาจใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาได้
๒.ประเภทของเกม
๒.๑ เกมเบ็ดเตล็ด (General Games)
๒.๒ เกมแบบผลัด (Relay Games)
๒.๓ เกมทดสอบ (Test Games)
๒.๔ เกมฝึกประสาท (Sense Games)
๒.๕ เกมเป็นทีม (Team Games)
๒.๖ เกมเงียบ (Quiet Games)
๒.๗ เกมประกอบเพลง (Motion
Songs and Singing Games)
๓. การเลือกเกม
๓.๑ เหมาะสมกับเพศ วัย เวลาและผู้เล่น
๓.๒ เหมาะสมกับสถานที่และอุปกรณ์
๓.๓ มีความหลากหลายของเกม
๔. การจัดอุปกรณ์และเครื่องอานวยความสะดวก
ในการนาเกม
๔.๑ จัดหาอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับเพศและวัยของผู้เล่น
๔.๒ อุปกรณ์ต้องเพียงพอกับจานวนผู้เล่น
๔.๓ อุปกรณ์ต้องมีความปลอดภัย ใช้การได้และไม่เป็นอันตราย
๔.๔ มีอุปกรณ์หลายชนิดเหมาะสมกับเกมและผู้เล่นเกม
๕. วิธีการเล่นเกม
๕.๑ จัดผู้เล่นให้เหมาะสมกับเกม
๕.๒ อธิบายและชี้แจงกติกาวิธีการเล่นให้ชัดเจน
๕.๓ สาธิตและให้ผู้เล่นทดลองเล่น
๕.๔ ปฏิบัติการเล่นเกม
๕.๕ สรุปผลและข้อคิดที่ได้จากการเล่นเกม
๖. ข้อควรคานึงในการเล่นเกม
๖.๑ ผู้นาเกมต้องเตรียมเกมและอุปกรณ์ให้เพียงพอ
และเหมาะสมกับเวลา
๖.๒ มีความรู้จิตวิทยาเกี่ยวกับเด็ก
๖.๓ ใช้ภาษาง่าย ๆ สั้น ๆ เข้าใจง่าย
๖.๔ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่มเกม
๖.๕ การนาเกมควรมีลักษณะที่ฝึกการเป็นผู้นาที่ดี
โดยให้เด็กรู้จักรับผิดชอบในหน้าที่
๖.๖ การนาเกมควรมีคาชมเชยเมื่อทาดีและแนะนา
หากมีข้อบกพร่อง
๗. ความปลอดภัยในการเล่นเกม
๗.๑ ความพร้อมด้านร่างกายของผู้เล่น
๗.๒ ปฏิบัติตามกติกาอย่างเคร่งครัด
๗.๓ แบ่งทีมผู้เล่นให้เหมาะสม
๗.๔ ตรวจสอบอุปกรณ์ในการเล่นเกม
๗.๕ ตรวจสอบสถานที่ ให้มีความปลอดภัย
๗.๖ ผู้นาเกมต้องควบคุมอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา
๘. ลักษณะของผู้นาเกมที่ดี
๘.๑ มีความรู้จิตวิทยาเกี่ยวกับเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ
ในความต้องการและความสนใจของผู้เล่น
๘.๒ มีความรู้ในเรื่องเกมประเภทต่าง ๆ และหาเกม
ที่สนุกให้ผู้เล่นได้
๘.๓ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้เล่นได้ดี
๘.๔ มีความยุติธรรม และให้ความอิสระแก่ผู้เล่น
๘.๕ เลือกหาเกมที่สนุกให้ผู้เล่นได้
๘.๖ ไม่ใช้กฎหรือระเบียบมาข่มขู่ และไม่ควรใช้
ถ้อยคา กริยาท่าทางในเชิงตาหนิ
๘.๗ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
ชุดที่ ๑. เกมที่ไม่ใช้อุปกรณ์
เกมที่ ๑. เกมเป่ายิงฉุบ : อ.พยัพ
เกมที่ ๒. กระรอกกระแต : อ.กาพล
เกมที่ ๓. เกมชักเย่อมือ : อ.สุพล
เกมที่ ๔. เกมเสือสิงห์กระทิงแรด : อ.ปัญญธัช
เกมที่ ๕. เกมปฏิมากรรมมนุษย์ : อ.กาพล
ชุดที่ ๒. เกมที่ใช้อุปกรณ์
เกมที่ ๑. เกมห่วงสามัคคี : อ.สุพล
เกมที่ ๒. สแกนร่างกาย : อ.ปัญญธัช
เกมที่ ๓. ขวดล้มลุก : อ.กาพล
เกมที่ ๔. เกมลาเลียงกอล์ฟ : อ.พยัพ
เกมที่ ๕. เกมดาวินชี่ : อ.พยัพ
ชุดพิเศษสำหรับครู
1

กรดไหลย้อน
2
2
3
3
4
4
5
5
6
6
7
7
8

แฟนบอล
9

ข้าง ๆ คู ๆ
10

เนตรนารี

You might also like