You are on page 1of 20

คอมพิ ว เตอร์เ ป็ นเครื่ อ งจัก รอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ถู ก

สร้างขึ้ นเพื่ อใช้ท างานแทนมนุ ษย์ใ นด้านการคิ ด ค านวณ


และสามารถจ าข้อ มู ล ทั้งตัว เลขและตัว อัก ษรได้เ พื่ อการ
เรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับ
สัญลักษณ์ได้ดว้ ยความเร็วสูง โดยปฏิ บตั ิตามขั้นตอนของ
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ยงั มี ความสามารถในด้านต่าง ๆ
อีกมาก เช่ น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์การรับส่ ง
ข้ อ มู ล การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในตั ว เครื่ อ งและสามารถ
ประมวลผลจากข้อมูลต่าง ๆ ได้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีความเร็วและสมรรถนะในการทางานสูง สามารถคานวณ
ทางคณิตศาสตร์ที่มีความซับซ้อนมากได้อย่างรวดเร็ว โดยทั ่วไปซูเปอร์คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นเป็ น
การเฉพาะ เพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ตอ้ งการประมวลผลที่ซับซ้อนและต้องการความเร็วสู ง
เช่น งานวิจยั ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจากเครื่อง
ซู เ ปอร์ค อมพิ ว เตอร์ โดยลดประสิ ท ธิ ภ าพบางส่ ว นจากเครื่ อ ง
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต เมนเฟรมคอมพิ วเตอร์
มี ส มรรถนะต า่ กว่า ซู เปอร์ค อมพิว เตอร์ แต่ย ังมี ค วามเร็ วและมี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ที่ สู ง ก ว่ า เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ป ร ะ เ ภ ท อื่ น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้พร้อมกันหลายงานและใช้
งานได้พร้อมกัน หลายคน งานที่น าคอมพิวเตอร์เมนเฟรมไปใช้
เช่น งานทางด้านธนาคาร และด้านสายการบิน เป็ นต้น
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
มินิคอมพิวเตอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็ น
เมนเฟรมคอมพิ ว เตอร์ข นาดเล็ ก ซึ่ ง สามารถบริ ก ารผู ใ้ ช้ง านได้
หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะมีราคาถูกกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ 2
ประเภทที่ก ล่าวไป มิ นิค อมพิวเตอร์ไม่ มีส มรรถนะเพียงพอที่จ ะ
ให้บริการผูใ้ ช้จานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมี
การลดประสิทธิภาพบางอย่างเพื่อให้ได้ราคาที่องค์กรขนาดกลาง
สามารถที่ จ ะจัด ซื้ อได้ จึ ง ท าให้มิ นิ ค อมพิ ว เตอร์เ หมาะส าหรับ
องค์กรขนาดกลางและขนาดเล็ก
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
1) คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) หรือ พีซี (Personal Computer: PC)
ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถตั้งบนโต๊ะได้ ใช้ไมโครโพเซสเซอร์ใน
การประมวลผล ในบางครั้งเรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในเครื่องพีซีโดยทั ่วไปจะ
ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่สาคัญ 4 อุปกรณ์คือ จอภาพ ตัวเครื่อง แป้ นรับข้อมูล และเมาส์
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
2) โน้ตบุก๊ คอมพิวเตอร์ (Notebook or Laptop)
คื อ คอมพิวเตอร์ที่มี ข นาดเล็ก กว่ าคอมพิวเตอร์ ส่วน
บุคคล ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ
มี ข นาดเล็ ก มี แ บตเตอรี่ ใ นตั ว และน้ าหนั ก เบา
สามารถทางานได้เหมื อนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุ ก
ประการ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
3) คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต (Table Computer) คือคอมพิวเตอร์ที่มีลกั ษณะคล้ายกับ
โน้ตบุก๊ คอมพิวเตอร์ แต่จะมีขนาดเล็กกว่า พกพาได้สะดวก และส่วนมากแท็บเล็ตสามารถป้ อน
ข้อมูลทางจอภาพได้ตามเทคโนโลยีผผู ้ ลิต (หน้าจอสัมผัส) เหมาะสาหรับใช้ในการเดิ นทางและ
ทางานที่ไม่ซบั ซ้อนมากนัก
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
4 ) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ บ บ มื อ ถื อ ( Handheld
Computer) คือคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กทาให้สามารถที่
จะถือเพียงมือเดียวได้ พกพาสะดวก คอมพิวเตอร์ช นิ ด
นี้ ถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานเฉพาะอย่างเช่น ใช้เป็ น
ตารางเวลา ปฏิ ทิ น นั ด หมาย หรื อ สมุ ด บัน ทึ ก ต่า ง ๆ
คอมพิ วเตอร์ช นิ ด สามารถน ามาเป็ นเครื่ อ งสื่ อสารได้
เช่นเดียวกับโทรศัพท์มือถือ
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ หมายถึง ส่วนประกอบในแต่ละส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ การ
เชื่ อ มโยงกั น ระหว่ า งส่ ว นประกอบของคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง จะเป็ นการน าเอาสถาปั ตยกรรม
คอมพิ ว เตอร์ที่ ไ ด้อ อกแบบไว้ม าสร้า งคอมพิ ว เตอร์ โดยจะมองด้า นโครงสร้า งหน้า ที่ แ ละ
กระบวนการเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์
สถาปั ตยกรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คุณสมบัติต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่ ผูใ้ ช้
สามารถมองเห็น ได้ ซึ่ ง จะเป็ นส่ว นที่มี ผ ลกระทบโดยตรงต่ อการประมวลผลของโปรแกรม
คอมพิ ว เตอร์ เป็ นต้น โดยจะเป็ นศาสตร์ใ นการออกแบบคอมพิ ว เตอร์ซึ่ ง จะท าให้ร ะบบ
คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบไว้มีประสิทธิภาพสูงสุดและมี ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมโดยการออกแบบ
จะต้องคานึงถึงส่วนต่าง ๆ ที่นามาใช้ เพื่อให้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
โครงสร้าง หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ที่นามาเชื่อมต่อเข้าด้ว ยกัน โดย
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ มีส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา
และหน่ ว ยรั บ ข้อ มู ล เข้า และส่ ง ออก โดยทั้ ง 3 ส่ ว นนี้ จะติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น ผ่ า น Systems
Interconnection ซึ่งหมายถึงระบบบัสนั ่นเอง
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
เ ป็ น ส่ ว น ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
เปรียบเสมือนเป็ นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทา
หน้ า ที่ ใ นการค านวณค่ า ต่ า ง ๆ ตามค าสั ่งที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย (ประมวลผล) และควบคุมการทางานของ
ส่วนประกอบอื่น ๆ ทั้งหมดในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางจะถูกสร้างให้อยู่ในรู ปวงจรรวม
เพี ย งตั ว เดี ย วท าให้ง่ า ยในการน าไปใช้ง าน หน่ ว ย
ประมวลผลกลางเป็ นหน่วยที่มีความซับซ้อนมากที่สุด ซึ่ง
ประกอบด้วยส่วนประกอบหลักต่าง ๆ ดังนี้
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
1) หน่ วยคานวณทางคณิตศาสตร์และตระ
กะ (Arithmeic and Logic Unit: ALU) เป็ นหน่วยที่ทา
หน้าที่ประมวลผลโดยใช้วิธีทางคณิ ตศาสตร์ เช่ น
บวก ลบ คู ณ หาร หรือ ทาหน้าที่ ประมวลผลทาง
ตรรกะ เช่น และ (AND), หรือ (OR), นิเสธ (NOT)
เป็ นต้น รวมทั้งยังทาหน้าที่ในการเปรียบเทียบค่า
ต่าง ๆ (เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
2) หน่วยเก็บข้อมูลชั ่วคราว (Register) เป็ นหน่วยความจาขนาดเล็ก ทาหน้าที่ เป็ นที่พกั
ข้อมูลชั ่วคราวก่อนที่จะถูกนาไปประมวลผล โดยปกติแล้วใน CPU จะมี Register สาหรับเก็บ
ข้อมูลไม่เกิน 64 ตัว การอ้างอิงข้อมูลของ Register จะมีความเร็วเท่ากับความเร็วของหน่วย
ประมวลผลกลาง เพราะเป็ นหน่วยความจาที่อยู่ภายในตัวหน่วยประมวลผลกลางจึงไม่ต ้ องไป
อ้างอิงถึงภายนอกหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
3) หน่ วยควบคุม (Control Unit)
เป็ นเสมื อ นหน่ ว ยบั ญ ชาการของระบบ
คอมพิ ว เตอร์ ท้ั ง หมด ท าหน้ า ที่ ก าหนด
จังหวะการทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์
ไม่เว้นแม้แต่ส่วนประกอบอื่น ๆ ของ CPU
นอกจากนี้ ยังทาหน้าที่ควบคุมการส่งข้อมูล
ระหว่างหน่วยต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์
หน่วยความจา (Memory Unit)
เป็ นหน่วยที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็ นตัวเลขหรือข้อความแม้กระทั ่งคาสั ่ง
ต่าง ๆ ในโปรแกรมที่จะใช้สั ่งงานระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั ่วไปแล้วหน่วยความจาจะถูกสร้างมาบน IC เพื่อให้มี
ความจุสูงแต่มีขนาดเล็ก ข้อมูลที่เก็บในหน่ วยความจาจะมี สถานะเพียงแค่เปิ ดวงจร (0) หรือปิ ดวงจร (1)
เท่านั้น หน่วยความจาสามารถแบ่งออกได้เป็ นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ROM (Read Only Memory) และ RAM
(Random Access Memory)
หน่วยนาข้อมูลเข้าและหน่วยแสดงผล (I/O Unit)
เป็ นหน่ วยที่ท าหน้าที่รับการติ ดต่อจากภายนอกเข้าสู่ร ะบบ และแสดงผลที่ไ ด้จ ากการ
ทางานของระบบออกสูภ่ ายนอก เช่น คียบ์ อร์ด จอภาพ ลาโพง เป็ นต้น
หน้าที่ หมายถึง การปฏิบตั ิงานของอุปกรณ์แต่ละส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ซึ่ งเป็ นส่วน
หนึ่งของโครงสร้าง หน้าที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอธิบายได้ดงั นี้
1) การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์มีหน้าที่หลักคือ การ
ประมวลผลข้อมูลที่เข้ามาแล้วทางานตามคาสั ่ง
2) การเก็บข้อมูล (Data Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูล ต่าง ๆ
ได้
3) การเคลื่อนย้ายข้อมู ล (Data Movement)
เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ส ามารถที่ จ ะท าการเคลื่ อ นย้า ย
ข้อ มู ล ต่ า ง ๆ ได้ ซึ่ ง อาจจะเคลื่ อ นย้า ยกั น ระหว่ าง
อุปกรณ์ตอ่ พ่วง หรือเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างเครือข่าย
4) การควบคุม (Control) เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถที่ จ ะควบคุ ม การท างานต่ า ง ๆ ของระบบ
คอมพิ ว เตอร์ใ ห้ส ามารถท างานต่ า ง ๆ หรื อ ท างาน
ร่ ว มกั น ได้โ ดยไม่ มี ก ารแย่ ง ใช้ท รั พ ยากรของระบบ
คอมพิวเตอร์

You might also like