You are on page 1of 4

แบบทดสอบกลางภาค

รายวิชา ว 22101 วิทยาศาสตร์พ้น


ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
คำชีแ
้ จง: แบบทดสอบฉบับนีม
้ ี 2 ตอน คะแนนเต็ม 35 คะแนน เวลาใน
การทำแบบทดสอบ 90 นาที
ตอนที่ 1 ปรนัย 4 ตัวเลือกจำนวน 20 ข้อ 20 คะแนน
ตอนที่ 2 อัตนัย 3 ข้อ 15 คะแนน

ตอนที่ 1 : ให้นักเรียนกากบาท X คำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวลง


ในกระดาษคำตอบ (20 คะแนน)
1. ความหมายของ 7. ข้อใดใช้ตัวทำละลายต่างจาก
“วิทยาศาสตร์” ข้อใดถูกต้องและ พวก
ครอบคลุมมากที่สุด ก. น้ำตาล
ก. เป็ นวิชาที่มีการสังเกต ทดลอง ข. เกลือแกง
และสรุปผล ค. น้ำยาทาเล็บ
ข. เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยการค้นพบความ ง. สีผสมอาหาร
จริงในธรรมชาติ 8. แอลกอฮอล์ความเข้มข้น 40%
ค. เป็ นวิชาที่อธิบายปรากฎการณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ต่าง ๆ ของธรรมชาติ ก. สารละลาย 100 cm มี
3

ง. เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยการใช้ เอทิลแอลกอฮอล์อยู่ 40 cm


3

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ข. สารละลาย 100 กรัม มี


ค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เอทิลแอลกอฮอล์อยู่ 40 กรัม
2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ค. สารละลาย 100 cm มี
3

เปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เอทิลแอลกอฮอล์อยู่ 40 กรัม


ก. ได้ เมื่อมีนักวิทยาศาสตร์ที่เก่ง ง. สารละลาย 100 กรัม มี
กว่ามาบอก เอทิลแอลกอฮอล์อยู่ 40
ข. ไม่ได้ เพราะความรู้ทาง cm
3

วิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์แล้ว
9. ข้อใดเป็ นสารละลายทัง้ หมด
ค. ได้ เมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลใหม่
ก. โซดา นาก น้ำตาล
ที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุน
ข. น้ำเชื่อม โซดา ทองคำ
ง. ไม่ได้ เพราะความรู้ทาง
ค. น้ำเชื่อม ทองคำ น้ำสมสายชู
วิทยาศาสตร์เป็ นความจริงที่ยอมรับ
ง. น้ำส้มสายชู น้ำมันเบนซิน แก๊ส
กันแล้ว หุงต้ม

3. เพราะเหตุใดนักวิทยาศาสตร์จงึ 10. แก๊สละลายได้ดีในสภาวะใด


ต้องทำการทดลองเรื่องเดียวซ้ำ ก. ความดันต่ำ อุณหภูมิต่ำ
หลาย ๆ ครัง้ ข. ความดันต่ำ อุณหภูมิสูง
ก. มีระเบียบให้ทำเช่นนัน
้ ค. ความดันสูง อุณหภูมิต่ำ
ข. เพื่อยืนยันให้ผู้อ่ น
ื เชื่อถือ ง. ความดันสูง อุณหภูมิสูง
ค. เพื่อให้ผลการทดลองเป็ นทฤษฎี 11. ข้อใดหมายถึงสารละลายไม่
ง. เพื่อหาข้อบกพร่องของกรทดลอง อิ่มตัว
และให้ผลที่ถูกต้อง ก. อิ่มตัว ข. เพิ่มขึน

4. ข้อใดกล่าวถึงสารละลายได้ถูก ค. เท่าเดิม ง. ลดลงจากเดิม
ต้อง 12. ถ้านำน้ำตาลไปละลายในน้ำ
ก. สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันตลอด คนให้ละลายจนหมดแล้วเติม
ทุกส่วน น้ำตาลเพิ่มจนไม่สามารถละลายได้
ข. สารที่มีเนื้อสารมองดูใสไม่มีสี อีกเรียกสภาวะนีว
้ ่าอะไร
กลิ่นและรส ก. การอิ่มตัว
ค. สารที่สถานะของแข็ง ของเหลว ข. การตกผลึก
และก๊าซ ค. การควบแน่น
ง. สารที่ไม่บริสุทธิเ์ กิดจากสาร ง. การละลายยิ่งยวด
์ ัง้ แต่ 2 ชนิดผสมกันเป็ น
บริสุทธิต
เนื้อเดียว

5. ตัวถูกละลายคืออะไร 18. มวลของตัวละลายที่ละลายอยู่


ก. สารที่มีปริมาณน้อยกว่า ในสารละลายที่มีมวล 100 หน่วย
ข. สารที่มีสถานะเดียวกับ เดียวกัน นิยมใช้กับสารละลายที่
สารละลาย ทัง้ ตัวถูกละลายและตัวทำละลาย
ค. สารที่สถานะเป็ นของเหลว เป็ นของแข็ง มีหน่วยความเข้มข้น
เท่านัน
้ แบบใด
ง. สารที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า ก. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร
สารละลาย ข. ร้อยละโดยมวลต่อมวล

6. ข้อใดผิดเกี่ยวกับตัวทำละลาย ค. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร

ก. สารที่มีปริมาณากกว่า ง. ร้อยละโดยกรัมต่อลูกบาศก์
ข. สารที่มีสถานะเดียวกับ เซนติเมตร
สารละลาย 19. ปริมาตรของตัวละลายที่
ค. สารที่สถานะเป็ นของเหลว ละลายอยู่ในสารละลาย 100
เท่านัน
้ หน่วยปริมาตรเดียวกัน นิยมใช้กับ
ง. สารที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว สารละลายที่ทงั ้ ตัวถูกละลายและ
และก๊าซ ตัวทำละลายเป็ นของเหลว มี
หน่วยความเข้มข้นแบบใด
13. สารละลายอิ่มตัว ณ อุณหภูมิ ก. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร
หนึ่งๆ หากต้องการทำให้ไม่อิ่มตัว ข. ร้อยละโดยมวลต่อมวล
ต้องทำอย่างไร ค. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
ก. เพิ่มหรือลดอุณหภูมิ ง. ร้อยละโดยกรัมต่อลูกบาศก์
ข. เพิ่มความดันของระบบ เซนติเมตร
ค. เพิ่มปริมาณตัวทำละลาย
20. มวลของตัวละลายที่ละลายอยู่
ง. ถูกทุกข้อ
ในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร
14. การละลายของสาร จะ โดยทั่วไปถ้ามวลของตัวละลายมี
สามารถละลายได้มากขึน
้ อยู่กับ หน่วยเป็ นกรัม ปริมาตรของ
ปั จจัยใดบ้าง สารละลายจะมีหน่วยเป็ นลูกบาศก์
1. อุณหภูมิ 2. ขนิด เซนติเมตร นิยมใช้กับสารละลายที่
สาร เป็ นของเหลวโดยมีของแข็งเป็ นตัว
3. ความดันบรรยากาศ 4. สิ่ง ถูกละลาย มีหน่วยความเข้มข้น
แวดล้อม แบบใด
ก. 1 และ 2 ก. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร
ข. 2 และ 3 ข. ร้อยละโดยมวลต่อมวล
ค. 1 และ 3 ค. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
ง. 3 และ 4 ง. ร้อยละโดยกรัมต่อลูกบาศก์
15. "โฟมเป็ นพลาสติกชนิดหนึ่งที่ เซนติเมตร
ไม่ละลายน้ำ แต่เมื่อสัมผัสกับทิน
เนอร์ น้ำมันหอมระเหย
หรือน้ำมันที่ร้อนจากของทอดที่พ่งึ
ทอดเสร็จใหม่ๆ โฟมจะเกิดการ
ละลาย ซึ่งสามารถสังเกต
ได้จากการยุบตัวของโฟมหรือเกิดรู
ที่โฟมขึน
้ "
จากข้อความข้างต้น ปั จจัยใดส่ง
ผลต่อการละลายของโฟม
ก. ชนิดตัวละลาย และอุณหภูมิ
ข. ขนิดตัวละลาย และความดัน
ค. ขนิดตัวทำละลาย และอุณหภูมิ
ง. ชนิดตัวละลาย และตัวทำละลาย

16. ข้อใดไม่ส่งผลต่อความ
สามารถในการละลาย
ก. ความดัน
ข. อุณหภูมิ
ค. ความหนาแน่น
ง. ชนิดของตัวถูกละลายและตัวทำ
ละลาย

17. สารละลายเกลือแกงความเข้ม
ข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร
หากเติมเกลือเพิ่มอีก 15 กรัม
สารละลายเกลือแกงจะมีความเข้ม
ข้นเป็ นอย่างไร
ก. อิ่มตัว
ข. เพิ่มขึน

ค. เท่าเดิม
ง. ลดลงจากเดิม

ขอให้โชคดีในการทำแบบทดสอบนะคะ 😊

You might also like