You are on page 1of 26

533421 Safety Engineering (วิศวกรรมความปลอดภัย)

เรื่อง การวิเคราะห์อันตราย และ Risk Assessment


กรณีศึกษา เหตุระเบิดและเพลิงไหม้โรงงานผลิตเม็ดโฟม EPS

อาจารย์ผู้สอน
รองศาสตราจารย์ ดร.พรศิริ จงกล

ผู้จัดทํา
นายกรวุฒิ โชติพนัส รหัสนักศึกษา B6300937
นายอินทรชิต วงศ์แก้ว รหัสนักศึกษา B6307899
นายธีรพัฒน์ สมนันท์ รหัสนักศึกษา B6311209
นายวรินทร สิงห์ทองห้าว รหัสนักศึกษา B6328139

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ สำนักวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเทคโนโลยีสุรนารี
ส่วนที่ 1
การประเมินความเสี่ยง
1. สถานประกอบการที่เป็นกรณีศึกษา
ชื่อสถานประกอบการ บริษัท A
ประกอบกิจการ ผลิตเม็ดโฟม EPS (expandable polystyrene)
แผนผังโรงงาน

รูปภาพที่ 1.1 แผนผังโรงงาน

2. อันตรายและสาเหตุ
อันตรายที่เกิดขึ้น เวลาประมาณ 02.50 น. ได้เกิดเหตุระเบิดและไฟไหม้อย่างรุนแรงภายในโรงงาน
สาเหตุมาจาก
- อาจเกิดจากการคายความร้อนจากปฏิกริ ิยาทางเคมีในถัง ปฏิกริ ิยาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็น
ปฏิกิริยาที่ควบคุมไม่ได้ (uncontrolled polymerization) ทําให้เกิดก๊าซสไตรีน ปริมาณมากภายใน
ถังปฏิกิริยา และความดันในถังปฏิกิริยาสูงจน rupture disk แตกออกและระบายความดันออกมาสู่
บรรยากาศ
- อาจมีการรัว่ ไหลจากท่อ หรือวาล์ว ที่จะลําเลียงสไตรีนโมโนเมอร์ ไปยังถังปฏิกิริยาและเกิดการ
สะสมเป็นปริมาณมากบริเวณ กระบวนการผลิตที่มีถังปฏิกิริยาจนเกิดเป็นไอหมอก ก๊าซสไตรีนโมโนเม
อร์
- อาจมีการรัว่ ไหลของก๊าซเพนเทนที่ท่อหรือวาล์วลําเลียงไป บริเวณจัดเก็บหรือบริเวณการผลิต
3. กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสถานประกอบการ
1. กฎหมาย พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ.2562 ตามมาตราที่ 37 
2. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมีในโรงงาน
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2565
3. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึก
ซ้อมอพยพหนีไฟ
4. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดให้สถานประกอบการวัตถุอันตรายมีบุคลากรเฉพาะ
รับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.
๒๕๕๑
5. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ
พ.ศ. ๒๕๕๑
6. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๐
7. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒
8. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
9. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนิน การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายพ.ศ. ๒๕๕๖
ส่วนที่ 2
การแสดงผลการวิเคราะห์

1. กระบวนการผลิตเม็ดโฟม EPS (expandable polystyrene)

การผลิตโพลีสไตลีนโดยนำสไตรีนโมโนเมอร์ผสมกับสารเติมแต่ง ในถังผสม (Pre-mix


Tank) แล้วส่งเข้าสู่ถังปฏิกรณ์ (Polymerizing Reactor) เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาโพลีเมอไรเซชั่น แล้ว
จึงทำให้เกิดการระเหย หลังจากนั้นนำไปขึ้นรูปเป็นโพลีสไตลีนแบบรีด

ผู้รับผิดชอบ...นายกรวุฒิ โชติพนัส รหัสนักศึกษา B6300937


2. อุปกรณ์ เครื่องจักรที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน
ลำดับ ขั้นตอน อุปกรณ์ / เครื่องจักร
1 ผสมสารสไตรีนโมโนเมอร์กับสารแต่ง - ถังผสม
เข้าด้วยกัน -ท่อส่งสารเคมี
2 ทำการละลายสารเคมีเพื่อรอฉีด - ถังปฏิกรณ์
- ท่อส่งสารเคมี
3 ฉีดขึ้นรูป - เครื่องฉีดขึ้นรูป (injection moulding machine)
4 ถอดโฟมออกจากแม่พิมพ์ - เครื่องฉีดขึ้นรูป (injection moulding machine)
- น้ำยาถอดแม่พิมพ์
5 Quality Checking - สายพานลำเลียง
6 เก็บเข้าคลังสินค้า - สายพานลำเลียง
- รถโฟล์คลิฟท์

ผู้รับผิดชอบ...นายอินทรชิต วงศ์แก้ว รหัสนักศึกษา B6307899


3. วิธีการทำงานของคนในแต่ละขั้นตอน
ลำดับ ขั้นตอน วิธีการทำงานของคน
1 ผสมสารสไตรีนโมโนเมอร์กับสารแต่ง พนักงานทำการผสมสาร Styrene + น้ำ + Benzoyl
เข้าด้วยกัน Peroxide ที่อุณหภูมิห้อง 30 องศา ในถังปฏิกิริยา

2 ทำการละลายสารเคมีเพื่อรอฉีด เมื่อทำการผสมสาร Styrene + น้ำ + Benzoyl


Peroxide ที่อุณหภูมิห้อง 30 องศาเซลเซียส ในถัง
ปฏิกิริยาแล้ว จะเกิดปฏิกิริยาการคายความร้อน และ
ควบคุมอุณหภูมิให้ไม่เกิน 90 องศาเซลเซียส หลังจาก
นั้นเติมสาร Pentane และควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 90
องศาเซลเซียส แล้วเพิ่มอุณหภูมิจนถึง 120 องศา
เซลเซียส เพื่อให้ Patane ซึมเข้าไปในเม็ดโฟม แล้ว
ค่อยๆลดอุณหภูมิจนถึง 40 องศาเซลเซียส

3 ฉีดขึ้นรูป ขึ้นรูปโฟม โดยการฉีดเข้าไปในแม่พิมพ์ เม็ดโฟมจะ


ขยายตัวหลอมติดกันได้รูปทรงตามต้องการภายใต้
ความดันไอน้ำในอุณหภูมิชว่ งที่ 100-110 องศา
เซลเซียส ระยะเวลาที่ใช้ในการขึ้นรูปโฟมจะขึ้นอยู่กับ
ลำดับ ขั้นตอน วิธีการทำงานของคน
ระยะพักตัว ความหนาแน่นของเม็ดโฟม และการตั้งค่า
เครื่องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูป

4 ถอดโฟมออกจากแม่พิมพ์ ถอดโฟมออกจากแม่พิมพ์ โดยใช้น้ำยาถอดแบบแม่


พิมพ์ คือเป็นชั้นกั้น (Barrier) ระหว่าง พื้นผิวของชิ้น
งานทีต่ ้องการ (Substance surface) กับ ผิวของแม่
พิมพ์
5 Quality Checking ทำการตรวจสอบ น้ำหนัก (มวล) ของปริมาณโฟมที่
กำหนด การบีบอัด วัดแรงดึงทำลายและการยืดตัวของ
ตัวอย่างโฟม
6 เก็บเข้าคลังสินค้า พนักงานนำโฟมที่ทำการตรวจสอบเสร็จแล้ว เข้าคลัง
จัดเก็บสินค้า
ผู้รับผิดชอบ...นายวรินทร สิงห์ทองห้าว รหัสนักศึกษา B6328139…
4. วัตถุดิบที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน
ลำดับ ขั้นตอน วัตถุดิบ
1 ผสมสารสไตรีนโมโนเมอร์กับสารเติม - สารสไตรีนโมโนเมอร์ (styrene monomer)
แต่งเข้าด้วยกัน - สารเพนเทน (pentane)
- เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ (Benzoyl Peroxide)
2 ทำการละลายสารเคมีเพื่อรอฉีด - สารสไตรีนโมโนเมอร์ (styrene monomer)
- สารเพนเทน (pentane)
- เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ (Benzoyl Peroxide)
- น้ำบริสทุ ธิ์ (pure water)
3 ฉีดขึ้นรูป - สารเคมีที่ถูกละลายสารเคมี ในขั้นตอนที่ (2) ทำการ
ละลายสารเคมีเพื่อรอฉีด
4 ถอดโฟมออกจากแม่พิมพ์ - เม็ดโฟม EPS
5 Quality Checking - วัตถุดิบที่เสร็จสิ้นจากกระบวนการ (เม็ดโฟม EPS)
6 เก็บเข้าคลังสินค้า - วัตถุดิบที่เสร็จสิ้นจากกระบวนการ (เม็ดโฟม EPS)
- กล่องบรรจุ
ผู้รับผิดชอบ...นายธีรพัฒน์ สมนันท์ รหัสนักศึกษา B6311209
5. ขั้นตอนการทำ Checklist
การประเมินความเสี่ยง
1. Method (กระบวนการ) (เลือกกระบวนการที่จะดำเนินการพร้อมวัตถุดิบ เครื่องจักร และวิธีปฏิบัติงาน)
กระบวนการ วัตถุดิบ เครื่องจักร/ วิธีปฏิบัติงาน
อุปกรณ์
ผสมสารสไตรีน - สารสไตรีนโมโนเมอร์ - ท่อส่งสารเคมี พนักงานทำการผสมสาร Styrene +
โมโนเมอร์กับสาร(styrene monomer) น้ำ + Benzoyl Peroxide ที่อุณหภูมิ
เติมแต่งเข้าด้วย
- สารเพนเทน (pentane) ห้อง 30 องศา ในถังปฏิกิริยา
กัน - เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์
(Benzoyl Peroxide)
ทำการละลายสาร - สารสไตรีนโมโนเมอร์ - ท่อส่งสารเคมี เมื่อทำการผสมสาร Styrene + น้ำ
เคมีเพื่อรอฉีด (styrene monomer) - ถังปฏิกรณ์ + Benzoyl Peroxide ที่อุณหภูมิ
- สารเพนเทน (pentane) ห้อง 30 องศาเซลเซียส ในถัง
- เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์
ปฏิกิริยาแล้ว จะเกิดปฏิกิริยาการ
(Benzoyl Peroxide)
คายความร้อน และควบคุมอุณหภูมิ
- น้ำบริสุทธิ์ (pure water)
ให้ไม่เกิน 90 องศาเซลเซียส หลัง
จากนั้นเติมสาร Pentane และ
ควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 90 องศา
เซลเซียส แล้วเพิ่มอุณหภูมิจนถึง
120 องศาเซลเซียส เพื่อให้ Patane
ซึมเข้าไปในเม็ดโฟม แล้วค่อยๆลด
อุณหภูมิจนถึง 40 องศาเซลเซียส
องศาเซลเซียส เพื่อให้ Patane ซึม
เข้าไปในเม็ดโฟม แล้วค่อยๆลด
อุณหภูมิจนถึง 40 องศาเซลเซียส

ฉีดขึ้นรูป - วัตถุดิบที่เสร็จสิ้นจาก - สายพานขนส่ง ขึ้นรูปโฟม โดยการฉีดเข้าไปในแม่


กระบวนการ (เม็ดโฟม EPS) - เครื่องฉีดโฟม พิมพ์ เม็ดโฟมจะขยายตัวหลอมติด
กันได้รูปทรงตามต้องการภายใต้ความ
กระบวนการ วัตถุดิบ เครื่องจักร/ วิธีปฏิบัติงาน
อุปกรณ์
ดันไอน้ำในอุณหภูมิช่วงที่ 100-110
องศาเซลเซียส ระยะเวลาที่ใช้ในการ
ขึ้นรูปโฟมจะขึ้นอยู่กับระยะพักตัว
ความหนาแน่นของเม็ดโฟม และการ
ตัง้ ค่าเครื่องจักรทีใ่ ช้ในการขึ้นรูป
ผู้รับผิดชอบ...นายกรวุฒิ โชติพนัส รหัสนักศึกษา B6300937

2. ข้อมูลวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์ (สรุปข้อมูลสำคัญของวัตถุดิบแต่ละตัวที่ใช้ในกระบวนการนั้นๆ)

วัตถุดิบ/
คุณสมบัติที่สำคัญ ผลกระทบ มาตรการควบคุม
ผลิตภัณฑ์
สไตรีนโมโนเม - ลักษณะเป็น - เมื่อสัมผัสกับสารผ่าน - กำหนดมาตรฐานขั้นตอนการ
อร์ (styrene ของเหลวใสไม่มีสีหรือสี ผิวหนังอาจมีการระคายเคือง ปฏิบัติงานกับสไตรีนโมโนเมอร์
monomer) เหลืองใส และข้น ผิวหนังแดงแตกและแห้ง อย่างปลอดภัย และมีการตรวจ
เหนียวคล้ายน้ำมัน - หากสูดดมเข้าไปจะเกิดการ สอบอย่างสม่ำเสมอ
- ใช้ในการผลิต ระคายเคืองของระบบทาง - ผู้ปฏิบัติงานผ่านการอบรม
พลาสติก ยาง เดินหายใจ ไอ หายใจลำบาก ความรู้เกี่ยวกับความเป็นพิษของ
สังเคราะห์ หรือฉนวน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ง่วง สไตรีนโมโนเมอร์ ทั้งด้านการสูด
โฟม เป็นต้น ซึม อ่อนเพลีย คลื่นไส้ และ ดม การกลืนกินและการสัมผัส
มึนเมา ถ้าได้รับสารปริมาณ รวมถึงไอพิษ จากการเผาไหม้
สูงจะชักและเสียชีวิตได้ และการใช้อุปกรณ์คุ้มครอง
- เป็นสารก่อมะเร็งของ IARC ความปลอดภัยส่วนบุคคลขณะ
กลุ่ม 2B ปฏิบัติงานและกรณีฉุกเฉิน
- มีผลต่อการขยายพันธ์ของ - ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดไอสาร
สัตว์น้ำ ในอากาศ (Dector) เพื่อส่ง
สัญญาณเตือนเมื่อมีความเข้มข้น
ของสไตรีนโมโนเมอร์รวั่ ไหลออก
สู่บรรยากาศเกินจากเกณฑ์ที่
กำหนดและต้องมีการสอบเทียบ
ตามระยะเวลาที่กำหนด
วัตถุดิบ/
คุณสมบัติที่สำคัญ ผลกระทบ มาตรการควบคุม
ผลิตภัณฑ์
- ตรวจสอบถังดับเพลิงและ
อุปกรณ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อให้ สามารถใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพตลอดเวลา
เพนเทน - ไวไฟสูง สารเคมีใน ความเป็นพิษทางปากเฉียบพลัน - สารดับเพลิงที่เหมาะสมคือ
(pentane) สภาพที่เป็นไอระเหย อาการ: ง่วงซึม, ชัก, หยุดการ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง
หายใจทันที, ระคายเคืองต่อเยื่อ
หรือแก๊สเมื่อผสมกับ หรือโฟมดับเพลิงลดความร้อนที่
เมือก
อากาศก่อให้เกิดการ เกิดจากเพลิงไหม้ โดยใช้ละออง
ความเป็นพิษเฉียบพลันเมื่อสูด
ระเบิดได้ ดม น้ำ
- เมื่อติดไฟทำให้เกิด อาการ: ระคายเคืองต่อเยื่อเมือก, - สวมหน้ากาก กรองไอสารเคมี
ก๊าซคาร์บอนมอน ง่วงซึม การสูดดมอาจทำให้เกิด ในกรณีทตี่ ้องทำงานในพื้นที่อับ
ออกไซด์ และก๊าซ อาการบวมน้ำในระบบทางเดิน อากาศมีไอระเหยหรือละออง
คาร์บอนไดออกไซด์ หายใจ สารเคมีให้ใช้ ตัวกรองชนิด AX
การกัดกร่อน/การระคายเคือง
(EN371) สำหรับไอระเหยของ
ต่อผิวหนัง
สารประกอบอินทรีย์
อาการ: ระคายเคือง ทำให้มีรอย
แผลบนผิวหนัง ทำให้ผิวหนังสูญ - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
เสียไขมันและอาจเกิดการอักเสบ หลีกเลี่ยงการกระทำที่กอ่ ให้เกิด
ตามมา ประกายไฟ ห้ามใช้แรงดัน
อากาศช่วยในการสูบถ่าย จัด
เก็บสารเคมีในพื้นที่ที่มีอากาศ
ถ่ายเทสะดวก อย่าให้สารเคมีถูก
ผิวหนัง เข้าตา และอย่าสูบ ดม
ไอระเหยของสารเคมี ปิดภาชนะ
ให้แน่นเรียบร้อยทุกครั้งหลังจาก
ใช้งาน
เบนโซอิลเปอร์ - ลักษณะเป็นของแข็ง - เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
ออกไซด์ เม็ดสีขาว มีกลิ่นเบนซา (Benzoyl Peroxide) แตก หลีกเลี่ยงการกระทำที่กอ่ ให้เกิด
(Benzoyl ลดีไฮด์ ตัวเมื่อสัมผัสกับผิวหนัง ประกายไฟ ห้ามใช้แรงดัน
Peroxide) (Benzyldehyde) ทำให้เกิดกรดเบนโซอิกและ อากาศช่วยในการสูบถ่าย จัด
จางๆ ออกซิเจน ซึ่งทั้งสองอย่างนี้ เก็บสารเคมีในพื้นที่ที่มีอากาศ
วัตถุดิบ/
คุณสมบัติที่สำคัญ ผลกระทบ มาตรการควบคุม
ผลิตภัณฑ์
- ละลายน้ำได้น้อย ไม่มีพิษร้ายแรง ถ่ายเทสะดวก อย่าให้สารเคมีถูก
แต่ละลายได้ในอะซี ผิวหนัง เข้าตา และอย่าสูบ ดม
โตนเอทานอล ไอระเหยของสารเคมี ปิดภาชนะ
(Acetone ให้แน่นเรียบร้อยทุกครั้งหลังจาก
Ethanol)และตัวทำ ใช้งาน
ละลายอินทรีย์อื่นๆ อีก
มากมาย
- เบนโซอิลเปอร์
ออกไซด์ (Benzoyl
Peroxide) เป็นตัวออก
ซิไดซ์ (Oxidizing) แต่
ส่วนใหญ่ใช้ในการผลิต
โพลิเมอร์
น้ำบริสุทธิ์ - น้ำบริสทุ ธิ์จะไม่มีสี - -
(pure water) ไม่มีกลิ่น และไม่มี
รสชาติ
- น้ำบริสทุ ธิ์มีคา่ pH
เท่ากับ 7 และถือว่า
“เป็นกลาง” เนื่องจาก
ไม่มีคุณสมบัติเป็นกรด
หรือเป็นด่าง

ผู้รับผิดชอบ...นายธีรพัฒน์ สมนันท์ รหัสนักศึกษา B6311209

3. อุปกรณ์และเครื่องจักรที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน (สรุปข้อมูลเครื่องจักร เกี่ยวกับมาตรฐาน(หากมี) และผลกระทบ)


เครื่องจักร/
วัตถุประสงค์การใช้งาน มาตรฐาน ผลกระทบ
อุปกรณ์
- สายพาน เพื่อใช้ขนส่งผลิตภัณฑ์ - มีการกำหนดเกี่ยวกับ ความไว - สายพานหลุด
ลำเลียง ต่อสารเคมี และความแข็งแรงของ - สายพานลำเลียงเปื่อย
(Conveyor สายพาน เพื่อให้สามารถทนทาน หรือแตกหัก
Belt) ต่อการใช้งานในอุณหภูมิและ
สภาพแวดล้อมที่เป็นไปได้
-ปฏิบัตติ ามเกณฑ์ความปลอดภัย
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ รวมถึงการ
กำหนดความเร็วสูงสุดที่สามารถ
ใช้งานได้ในระบบสายพาน
ลำเลียง
- ถังปฏิกรณ์ เพื่อใช้ทำละลายสารเคมี - พระราชบัญญัติควบคุมวัตถุ - สารเคมีรวั่ ไหล
อันตราย พ.ศ. 2535: กฎหมายที่ - เกิดการระเบิด
กำหนดเกี่ยวกับการควบคุมวัตถุ
อันตรายทั้งในรูปแบบของสาร
เคมีและวัตถุอื่น ๆ ที่มีความเสี่ยง
ต่อความปลอดภัยและสุขภาพ
ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
- มีมาตรฐานทางวิศวกรรมที่
กำหนดข้อกำหนดในการ
ออกแบบและสร้างถังปฏิกรณ์
- ท่อส่งสาร เพื่อใช้ในการส่งสารเคมีไป - ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม - ท่อมีการแตกร้าว หรือ
เคมี ยังระบบต่างๆ เรื่องมาตรการความปลอดภัย รั่วซึม
เกี่ยวกับการจัดการสารเคมีใน
โรงงานอุตสาหกรรม
- เครื่องฉีด เพื่อใช้ในการขึ้นรูปเม็ด - ปฏิบัติตามหลักและมาตรฐาน - ไฟฟ้าขาดหรือกระแส
โฟม (Foam โฟมตามที่ต้องการ ความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ไฟฟ้าผิดปกติ
Injection เช่น การใช้งานอุปกรณ์ป้องกัน - การรั่วซึมของน้ำมัน
Machine) ส่วนบุคคล (PPE) และปฏิบัตติ าม หรือลม
หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติ
งาน
เครื่องจักร/
วัตถุประสงค์การใช้งาน มาตรฐาน ผลกระทบ
อุปกรณ์
- กฎหมายพระราชบัญญัติ
แรงงาน ระเบียบวิธีการประเมิน
ความเสี่ยงในการทำงาน ระเบียบ
ความปลอดภัยในการใช้
เครื่องจักร และระเบียบการใช้
งานเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ
-รถโฟล์คลิฟท์ เพื่อใช้ในการขนส่ง - ปฏิบัติตามเกณฑ์ความ - เกิดอุบัติเหตุจากการ
ผลิตภัณฑ์ ปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ขนส่ง
รวมถึงการกำหนดความเร็วสูงสุด
ที่สามารถใช้งานได้ในระบบ
สายพานลำเลียง
- ถังผสม เพื่อใช้ในการผสมสารเคมี ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม - สารเคมีรวั่ ไหล
เรื่อง มาตรการความปลอดภัย - เกิดการระเบิด
เกี่ยวกับการจัดการสารเคมีใน
โรงงานอุตสาหกรรม

ผู้รับผิดชอบ...นายอินทรชิต วงศ์แก้ว รหัสนักศึกษา B6307899

4. สรุปข้อมูลวิธกี ารปฏิบัติงานและผลกระทบ

กิจกรรม วัตถุประสงค์ ผลกระทบ


ตรวจสอบวัตถุดิบ ตรวจสอบปริมาณวัตถุดิบในการ - เกิดการรั่วไหลของสารสไตรีน
ผสมเพื่อเข้าสู่กระบวนการขึ้นรูป โมโนเมอร์
- เกิดการรั่วไหลของเพนเทน
ตรวจสอบถังปฏิกรณ์ เพื่อยืนยันความพร้อมในการ - เกิดการรั่วไหลของสารเคมี
ทำงานของถังปฏิกรณ์ - เครื่องจักรขัดข้อง

ตรวจสอบเครื่องฉีดโฟม ตรวจสอบความพร้อมก่อนทำการ - เครื่องจักรขัดข้อง


ฉีดโฟม
5. การตรวจสอบวิธีปฏิบัติงาน วัตถุดิบและเครื่องจักร/อุปกรณ์
รายการที่ตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ
มี ไม่มี
รายการตรวจสอบวิธีปฏิบัติงาน
มีวธิ ีการขนถ่ายเป็นลายลักณ์อักษรหรือไม่ √
มีขั้นตอนการตรวจสอบท่อส่งและวาล์วต่างๆหรือไม่ √
รายการตรวจสอบวัตถุดิบ
มีการตรวจสอบการใส่ถุงมือป้องกันขณะทำงานหรือไม่ √
มีการฝึกอบรมวิธีการปฏิบัติของพนักงานหากเกิดเหตุ √
กาณ์สารสไตรีนโมโนเมอร์รั่วหรือไม่
มีการป้องกันและอบรมวิธีการเติมสารเพนเทน √
มีการป้องกันและอบรมวิธีการเติมสารสไตรีนโมโนเมอร์ √
รายการตรวจสอบเครื่องจักร - อุปกรณ์
มีการตรวจสอบสภาพถังผสม √
ตรวจสอบถังปฏิกรณ์ √
ตรวจเช็ควาล์วแรงดันว่าสามารถทำงานได้ปกติหรือไม่ √
ตรวจสอบถังเก็บและท่อลำเลียงสารสไตรีนโมโนเมอร์ว่า √
มีการรัว่ ไหลหรือไม่
ตรวจสอบท่อหรือวาล์วลําเลียงเพนเทนมีการรั่วไหลหรือ √
ไม่

ผู้รับผิดชอบ...นายกรวุฒิ โชติพนัส รหัสนักศึกษา B6300937


6. การวิเคราะห์โอกาสและแหล่งข้อมูลอ้างอิง

รูป 2.1 การจำแนกโอกาส (สุรชัย วิวัจนสิริรนทร์ และวศิน มหันตหิรันดิรก์ ุล)

จากแหล่งข้อมูลลำดับที่ 1-2 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องการเกิดสารสไตรีนรั่วไหล จำนวน 1 ครัง้ ในช่วง


ปี พ.ศ.2564 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2564 ย่านบางนา ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดสารสไตรีนรั่วไหลจึงมีโอกาส
ในการเกิดน้อย
จากแหล่งข้อมูลลำดับที่ 3 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องการเกิดอัคคีภัย จำนวน 2 ครั้ง ในช่วงปี พ.ศ. 2561
- 2564 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2564 ซอยกิง่ แก้ว 21 อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
2561 ซอยท่าข้าม 20 เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์ทำให้เกิดผลกระทบจากอัคคีภัยจึงมี
โอกาสในการเกิดปานกลาง
จากแหล่งข้อมูลลำดับที่ 4 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรภายในโรงงาน จำนวน 2 ครั้ง
ในช่วงปี พ.ศ. 2560-2562 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2562 ต.หนองเพรางาย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี
2560 เทศบาลตำบลกุดจิก อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดเกิดไฟฟ้าลัดวงจรภายใน
โรงงานจึงมีโอกาสในการเกิดระดับปานกลาง

จากแหล่งข้อมูลลำดับที่ 5 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องความดังของเสียงภายในโรงงาน จำนวน 3 ครัง้ ใน


ช่วงปี พ.ศ. 2559-2564 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2559 ตำบลสาริกา อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
2559 ต.เชิงเนิน อ.เมือง จังหวัดระยอง 
2564 ย่านลาซาล ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดความดังของเสียงภายใน
โรงงาน จึงมีโอกาสในการเกิดสูง
จากแหล่งข้อมูลลำดับที่ 6-7 พบว่ามีการเกิดเหตุการณ์เครื่องจักรระเบิดเป็นผลให้เกิดอัคคีภัยภายใน
โรงงาน จำนวน 3 ครัง้ ในช่วงปี พ.ศ. 2559 - 2561 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2561 อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง
2559
จ.ปทุมธานี
2560 อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดการระเบิดของเครื่องจักร
เนื่องจากขาดการบำรุงรักษา จึงมีโอกาสในการเกิดสูง
จากแหล่งข้อมูลที่ 8 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องสารปนเปื้อน สารเคมี จำนวน 2 ครั้ง ในช่วงปี พ.ศ.
2563-2564 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2563 อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
2564 บางพลีใหญ่่ จ.สมุทรปราการ
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การสารเคมีรวั่ ไหลและเกิดสาร
ปนเปื้อนจึงมีโอกาสในการเกิดสูง
จากแหล่งข้อมูลที่ 9 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องผลกระทบต่อชุมชนเพราะเหตุอัคคีภัยในช่วงปี พ.ศ.2564
ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2564 กิ่งแก้ว-บางพลี สมุทรปราการ
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดความดังของเสียงภายใน
โรงงาน จึงมีโอกาสในการเกิดต่ำ
จากแหล่งข้อมูลที่ 10 พบว่ามีการเรียกร้องเรื่องอัคคีภัยในโรงงานผลิตเม็ดโฟม จำนวน 2 ครั้ง ในช่วงปี
พ.ศ.2562-2565 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2562 โรงสีข้าวในในจังหวัดสุพรรณบุรี
2565 บางนา-ตราด ย่านบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดโอกาสที่ไฟจะไหม้
เครื่องจักรเพราะไม่มีการบำรุงรักษาจึงมีโอกาสในการเกิดระดับปานกลาง
จากแหล่งข้อมูลที่ 11 พบว่าพบว่ามีการเรียกร้องเรื่องการเกิดอัคคีภัย จำนวน 1 ครัง้ ในช่วงปี
พ.ศ.2562 ดังตาราง
ปี สถานที่ ข้อมูลเพิ่มเติม
2562 อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
เมื่อใช้เกณฑ์การจำแนกโอกาสตามรูป 2.1 สามารถสรุปว่าเหตุการณ์การเกิดอัคคีภัยจากการสูบบุหรี่
ภายในโรงงาน จึงมีโอกาสในการเกิดต่ำ
ผู้รับผิดชอบ...นายอินทรชิต วงศ์แก้ว รหัสนักศึกษา B6307899

7. การวิเคราะห์ความรุนแรงและแหล่งข้อมูลอ้างอิง

รูป 2.2 การจำแนกระดับความรุนแรง สุรชัย วิวจั นสิรินทร์ และ วศิน มหัตนิรันดร์กุล)


จากแหล่งข้อมูลที่ 1-2 พบว่าจากกรณีเพลิงไหม้โรงงานผลิตเม็ดโฟมและพลาสติกส่งผลให้เกิดควันพิษ
จากสไตรีนโมโนเมอร์ เป็นสารเคมีที่มีอันตรายต่อระบบอวัยวะสำคัญของร่างกาย ทั้งระบบ ทางเดินหายใจ
ระบบประสาท ระบบสร้างเลือด ตับ และระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อได้รับไอระเหยของสารนี้ทางการสูดดม
ส่งผลให้เวียนศีรษะ ง่วงซึม ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย หมดสติ จะต้องย้ายผู้ป่วยไปบริเวณที่มี
อากาศบริสุทธิ์ทันที หากได้รับทางผิวหนังจะมีอาการผิวหนังแดง ปวด ให้ใช้วิธีลา้ งผิวหนังทันทีดว้ ยสบู่และน้ำ
ปริมาณมาก ๆ หากสัมผัสสารทางดวงตาจะทำให้ระคายเคืองตา ตาแดง ปวดตา จึงควรล้างตาด้วยน้ำ ใน
ปริมาณมาก ๆ เช่นกัน เพื่อเป็นการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อจำแนกตามระดับความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึง
สรุปได้ว่า “ความรุนแรงอยู่ในระดับสูง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 3 ทำให้สรุปได้ว่าสารเพนเทนมีความอันตรายด้านสุขภาพระดับที่ 1 (อันตรายน้อย)
มีความไวไฟระดับ 4 (ไวไฟสูงมาก) ความไวต่อปฏิกิริยาระดับ 0 (มีความเสถียรภาพทางปฏิกิริยาเคมี)ซึ่งสารเพ
นเทนมีความไวไฟที่สูงมากจึงเสี่ยงต่อการ ทำให้เกิดอัคคีภัยมากมีผลกระทบทางชีวภาพ เป็นพิษอย่างมากต่อ
สิ่งมีชีวติ ที่อาศัยในน้ำ อาจมีผลเสียระยะยาวต่อสภาวะแวดล้อมในน้ำ ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
เมื่อนำมาจำแนกระดับความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้ว่า ”ความรุนแรงอยู่ในระดับสูงมาก ”
จากแหล่งข้อมูลที่ 4 พบว่าการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรภายในโรงงาน เกิดจากการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน
ไม่เป็นไปตามมาตรฐานหรือสภาพไม่พร้อมให้งานและมีการตรวจสอบเพื่อบำรุงรักษาน้อย ทิ้งช่วงในการบำรุง
รักษานานเกินไป ทำให้เกิดอันตรายถึงชีวติ ละทรัพย์สินและก่อให้เกิดอัคคีภัยได้อกี ด้วย เมื่อนำมาจำแนกความ
รุนแรงโดยใช้รูป 3.1 จึงสรุปได้ว่า “ความรุนแรงอยู่ในระดับสูง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 5 พบว่าผลกระทบจากความดังของเสียงภายในโรงงาน มีผลโดยตรงต่อประสาท
ของหู ก่อให้เกิดการสูญเสียการได้ยินทั้งแบบชั่วคราวและถาวรหากมนุษย์ได้ยินเสียงดังเป็นเวลานานและส่งผล
เสียทางจิตใจทำให้เกิดความเครียด โรคประสาท มีผลทำให้เกิดโรคกระเพาะ ความดันโลหิตสูง เมื่อนำมา
จำแนกความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้วา่ “ความรุนแรงอยูใ่ นระดับปานกลาง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 6-7 พบว่าการเกิดอันตรายที่เกิดอัคคีภัยในโรงงานผลิตเม็ดโฟมเกิดจากทางโรงงาน
ขาดการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรมีคุณภาพต่ำ คนออกแบบขาดความรู้และทักษะด้าน
วิศวกรรม ทำให้สารเคมีมีการรั่วไหลออกมาทางท่อหรือวาล์ว โดยสารทีร่ ั่วไหลออกมาทำให้เกิดอันตรายและ
เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย มีผลทำให้เกิดโรคกระเพาะ ความดันโลหิตสูง เมื่อนำมาจำแนกความรุนแรงโดยใช้รูป
2.2 จึงสรุปได้วา่ “ความรุนแรงอยูใ่ นระดับปานสูง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 8 พบว่า โรงงานมีสารเคมีอันตรายอย่างน้อย 2 ชนิด คือ เพนเทน และสไตรีนโมโน
เมอร์ ซึ่งเจ้าหน้าทีฉีดน้ำและโฟมหล่อเลี้ยงไว้ตลอดเวลาเพื่อไม่ให้ถังบรรจุสารเคมีมีอุณหภูมิสูงเกินไป สารเคมี
เหล่านี้ โดยเฉพาะ สารสไตรีน มีสารประกอบอื่น ๆ เช่น เบนซิน เป็นสารไวไฟที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้ เมื่อสาร
เหล่านี้เจอกับไฟก็เกิดการระเบิดปะทุขึ้นมาผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นในอากาศที่มาจากการเผาไหม้ คือ ฝุ่น PM 2.5
พร้อมกับสารปนเปื้อนสารเคมี เป็นกลุ่มหมอกควัน กระทบต่อประชาชนที่อาศัยโดยรอบ และยังเป็นผลต่อ
สุขภาพในระยะยาว ในส่วนของกลุ่มผู้ที่มรี ่างกายอ่อนแออยู่แล้วเมื่อต้องสูดดมสารพิษก็อาจทำให้ร่างกายแย่ลง
จึงควรป้องกันโดยการใส่หน้ากากแบบเต็มใบหน้า หรือหน้ากากที่ป้องกัน PM 2.5 ได้ เมื่อนำมาจำแนกความ
รุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้ว่า “ความรุนแรงอยู่ในระดับสูง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 9 พบว่าสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายคือมลภาวะทางอากาศ กลิ่น ฝุ่นละออง อันตราย
เป็นเหตุทำให้เกิดความวิกฤติกังวลของคนในชุมชนมีผลกระทบด้านทางเดินหายใจ การที่โรงงานไฟไหม้จะ
ทำให้มีควันเยอะในอากาศ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงเป็นผลทำให้หายใจลำบาก ผลกระทบที่เกิดขึ้นเช่น โรค
ระบบทางเดินหายใจ โรคภูมิแพ้ มะเร็ง ทำให้มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นคือ ค่ารักษาพยาบาล แต่ทางโรงงานสามารถ
แก้ไขได้ภายใน 6 เดือน โดยให้หน่วยงานสาธารณะสุขร่วมกับโรงงานผลิตเม็ดโฟมปรับปรุงแก้ไขโดยฉีดพ่น
ละอองน้ำเพื่อดักจับฝุ่นละอองหรือสารปนเปื้อนที่มากับอากาศซึ่งมวลสารต่างๆนี้ จะถูกดักจับด้วยน้ำทำให้ไม่
สามารถหลุดออกสู่ภายนอกได้ เมื่อนำมาจำแนกความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้วา่ “ความรุนแรงอยูใ่ น
ระดับสูง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 10 พบว่าโรงงานผลิตเม็ดโฟมทิ้งช่วงการบำรุงรักษาเครื่องจักรเป็นเวลานาน ทำให้
เครื่องจักรภายในบริษัทเสื่อมประสิทธิภาพอาจทำให้เสี่ยงต่อเครื่องจักรชำรุดเสียหาย ทำให้บริษัทต้องเสียค่า
ซ่อมเครือ่ งจักร และมีความเสี่ยงทำให้เกิดอัคคีภัยเพราะเครื่องจักรระเบิด ดังนั้นควรทำการบำรุงรักษา
เครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอตามคำแนะนำของวิศวกร เมื่อนำมาจำแนกความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้ว่า “
ความรุนแรงอยู่ในระดับปานกลาง”
จากแหล่งข้อมูลที่ 11 พบว่าการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยส่วนใหญ่เกิดจากการไม่แบ่งเขตแยกสถานที่
ให้ชัดเจน เช่น ควรมีสถานที่เฉพาะในการสูบบุหรี่โดยเป็นสถานที่ที่ปราศจากวัตถุไวไฟ มีพาชนะสำหรับใส่ก้น
บุหรีใ่ ห้ครบถ้วนชัดเจน หากไม่ระบุชัดเจนอาจเกิดผลกระทบร้ายแรงต่อชุมชนและบุคคล รวมถึงสิ่งแวดล้อม
ของโรงงาน เมื่อนำมาจำแนกความรุนแรงโดยใช้รูป 2.2 จึงสรุปได้วา่ “ความรุนแรงอยูใ่ นระดับสูง”
ผู้รับผิดชอบ...นายวรินทร สิงห์ทองห้าว รหัสนักศึกษา B6328139
ผลการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Check List
การประเมินความเสี่ยง
อันตรายหรือ มาตรการ
ผลการทำ โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับ
ผลที่เกิดขึ้น ป้องกันควบคุม ข้อเสนอแนะ
Check List รุนแรง ความ
ตามมา อันตราย
เสี่ยง
1.ไม่มีวธิ ีการอาจทำให้เกิด จัดทำวิธีการ จัดทำเป็นรูป 1 2 2 1
ขนถ่ายเป็น การทำงานผิด เป็นป้ายหรือ แบบให้
ลายลักษณ์ ขั้นตอนและอาจ ลายลักษณ์ พนักงาน
อักษร ก่อให้เกิดการรั่ว อักษรให้ชัดเจน สามารถเรียนรู้
ไหลของสารเคมี ให้ ได้ง่าย
2.ไม่มีขั้นตอน อาจมีการรัว่ ซึม จัดตรวจสอบ ทำทุกครั้ง 2 3 6 2
การตรวจสอบ หรือรอยร้าว วาล์วหรือท่อส่ง ก่อนจะเริ่ม
ท่อส่งและ ของท่อส่งหรือ ในทุกครั้งก่อน กระบวนการ
วาล์วต่างๆ วาล์วต่างๆ ดำเนินงาน ผลิต
3.ไม่มีการฝึก พนักงานทำงาน มีการจัดฝึก ให้มุ่งเน้นใน 3 2 6 2
อบรมวิธีการ ผิดขั้นตอนและ อบรมเรื่อง เรื่องความ
ปฏิบัติของ อาจจะไม่ ระเบียบการ ปลอดภัยและ
พนักงาน ระมัดระวังตัว ปฏิบัติงานเพื่อ กระบวนการ
ขณะทำงาน ช่วยให้พนักงาน จัดการเมื่อเกิด
ปฏิบัตติ ามกฎ อันตราขึ้น
ระเบียบมากขึ้น
4.ไม่มีการ เมื่อสัมผัสจะส่ง สวมถุงมือ ฝึกอบรม 3 2 6 3
ป้องกันและ ผลอันตรายอาจ ป้องกัน/ พนักงานใน
อบรมวิธีการ ทำให้ง่วงซึม ชุดป้องกัน/ การป้องกัน
เติมสารเพน หรือมึนงง หาก อุปกรณ์ป้องกัน และวิธีการ
เทน สัมผัสเป็น ดวงตา/อุปกรณ์ เติมสารเพน
ประจำ อาจ ป้องกันหน้า เทน
ทำให้ผิวหนัง
แห้งและแตกได้
5.ไม่มีการ เมื่อสัมผัสจะส่ง ผู้ที่เข้าปฏิบัติ ฝึกอบรม 3 2 6 3
ป้องกันและ ผลอันตรายต่อ การฝึกซ้อมและ พนักงานใน
การประเมินความเสี่ยง
อันตรายหรือ มาตรการ
ผลการทำ โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับ
ผลที่เกิดขึ้น ป้องกันควบคุม ข้อเสนอแนะ
Check List รุนแรง ความ
ตามมา อันตราย
เสี่ยง
อบรมวิธีการ ผิวหนัง ดวงตา ต้องสวมใส่ การป้องกัน
เติมสารไตรีน และทางเดิน อุปกรณ์ และวิธีการ
โมโนเมอร์ หายใจ และส่ง คุ้มครองความ เติมสารไตรนี
ผลกระทบต่อสิ่ง ปลอดภัยที่ โมโนเมอร์
แวดล้อม เหมาะสมก่อน
เข้าปฏิบัตการ
6.ไม่มีการ เมื่อถูกความ ควรมีการตรวจ จัดทำแผนการ 4 4 16 4
ตรวจสอบถัง ร้อนสูง และ สอบอุณหภูมิ ตรวจสอบ
เก็บและท่อ สัมผัสกับอากาศ และระดับความ ประจำวันและ
ลำเลียงสารส อาจก่อให้เกิด ดันในของสไตรี มีการกำหนด
ไตรีน โมโนเม การระเบิดได้ นโมโนเมอร์ ปริมาณการ
อร์ว่ามีการรั่ว ไอระเหยจะแพร่ ภายในถัง และ จัดเก็บของส
ไหล ไปตามพื้นได้เร็ว เพิ่มความถี่ใน ไต-รีน โมโนเม
มีพิษต่อสิ่งมี การตรวจสอบ อร์ภายในถัง
ชีวติ ในน้ำมีผลก มากขึ้น ต้องเป็นตาม
ระทบระยะยาว ข้อกำหนดการ
ขนส่งสินค้า
อันตราย
7.ไม่มีการ เมื่อติดไฟทำให้ มีการหกหรือรั่ว จัดทำแผนการ 4 4 16 4
ตรวจสอบท่อ เกิด ก๊าซ ให้เคลื่อนย้าย ตรวจสอบ
หรือวาล์วลํา คาร์บอนมอน สิ่งที่สามารถ ประจำวัน
เลียงสารสาร ออกไซด์และ ติดไฟได้ทั้งหมด และมีการเก็บ
เพนเทนว่ามี คาร์บอนได ออกจากบริเวณ สารในภาชนะ
การรัว่ ไหล ออก-ไซด์ อาจ สวมชุดป้องกัน บรรจุที่ปิด
ติดไฟและทำให้ สารเคมี และ สนิท หลีก
เพลิงไหม้ได้ หน้ากากช่วย เลี่ยงการกระ
หายใจ ถ้าไม่มี ทำที่ก่อให้เกิด
ความเสี่ยงอื่นใด ประกายไฟ
การประเมินความเสี่ยง
อันตรายหรือ มาตรการ
ผลการทำ โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับ
ผลที่เกิดขึ้น ป้องกันควบคุม ข้อเสนอแนะ
Check List รุนแรง ความ
ตามมา อันตราย
เสี่ยง
ให้ปิดบริเวณที่มี
การรัว่ นั้น

8. แผนการจัดการความเสี่ยง
ผลการวิเคราะห์แผนการจัดการความเสีย่ ง ระดับความเสีย่ งและการประเมินความเสีย่ ง
ผลจากการตรวจ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการป้องกัน ข้อเสนอแนะ ระดับความเสีย่ ง
สอบรายการ และควบคุม
อันตราย
ไม่มีขั้นตอนการ อาจมีการรัว่ ซึมหรือรอยร้าว จัดตรวจสอบวาล์ว ทำการตรวจสอบ 2
ตรวจสอบท่อส่ง ของท่อส่งหรือวาล์วต่างๆ หรือท่อส่งในทุก ทุกครั้งก่อนจะเริ่ม ความเสี่ยง
และวาล์วต่างๆ ครั้งก่อนดำเนินงาน กระบวนการผลิต ปานกลาง
ไม่มีการฝึกอบรม พนักงานทำงานผิดขั้นตอน มีการจัดฝึกอบรม - ให้มุ่งเน้นในเรื่อง 2
วิธีการปฏิบัติของ และอาจจะไม่ระมัดระวังตัว เรือ่ งระเบียบการ ความปลอดภัยและ ความเสี่ยง
พนักงาน ขณะทำงาน ปฏิบัติงานเพื่อช่วย กระบวนการจัดการ ปานกลาง
ให้พนักงานปฏิบัติ เมื่อเกิดอันตรายขึ้น
ตามกฎระเบียบ - ควรอบรม
มากขึ้น พนักงานให้ปฏิบัติ
งานด้วยความ
ระมัดระวัง
- ควรมีการอบรม
ภายในเพื่อสร้าง
ความตระหนักรู้
เรื่องความปลอดภัย
ให้เพิ่มขึ้น
ไม่มีการป้องกัน เมื่อสัมผัสจะส่งผลอันตราย สวมถุงมือ ฝึกอบรมพนักงาน 3
และอบรมวิธีการ อาจทำให้ง่วงซึมหรือมึนงง ป้องกัน/ชุด ในการป้องกันและ ความเสี่ยงสูง
เติมสารเพนเทน หากสัมผัสเป็นประจำ อาจ ป้องกัน/อุปกรณ์ วิธีการเติมสารเพน
ผลจากการตรวจ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการป้องกัน ข้อเสนอแนะ ระดับความเสีย่ ง
สอบรายการ และควบคุม
อันตราย
ทำให้ผิวหนังแห้งและแตก ป้องกันดวงตา/ เทน
ได้ อุปกรณ์ป้องกัน
หน้า
ไม่มีการป้องกัน เมื่อสัมผัสจะส่งผลอันตราย ผู้ที่เข้าปฏิบัติการ ฝึกอบรมพนักงาน 3
และอบรมวิธีการ ต่อผิวหนัง ดวงตา และทาง ฝึกซ้อมและต้อง ในการป้องกันและ ความเสี่ยงสูง
เติมสารไตรีนโมโน เดินหายใจ และส่งผลกระ สวมใส่อุปกรณ์ วิธีการเติมสารไตรี
เมอร์ ทบต่อสิ่งแวดล้อม คุ้มครองความ นโมโนเมอร์
ปลอดภัยที่เหมาะ
สมก่อนเข้าปฏิบัติ
การ
ไม่มีการตรวจสอบ - เมื่อถูกความร้อนสูง และ ควรมีการตรวจ จัดทำแผนการ 4
ถังเก็บและท่อ สัมผัสกับอากาศ อาจก่อให้ สอบอุณหภูมิ และ ตรวจสอบประจำ ความเสี่ยง
ลำเลียงสารสไตรีน เกิดการระเบิดได้ ไอระเหย ระดับความดันใน วันและมีการ ที่ยอมรับไม่ได้
โมโนเมอร์วา่ มีการ จะแพร่ไปตามพื้นได้เร็ว มี ของสไตรีนโมโนเม กำหนดปริมาณการ
รัว่ ไหล พิษต่อสิ่งมีชีวติ ในน้ำ มีผลก อร์ภายในถัง และ จัดเก็บของสไต-รีน
ระทบระยะยาว เพิ่มความถี่ในการ โมโนเมอร์ภายในถัง
- หากสารเคมีรั่วไหลจะส่ง ตรวจสอบมากขึ้น ต้องเป็นตามข้อ
ผลกระทบต่อชุมชนข้าง กำหนดการขนส่ง
เคียงและสิ่งแวดล้อม สินค้าอันตราย
ไม่มีการตรวจสอบ เมื่อติดไฟทำให้เกิด ก๊าซ มีการหกหรือรั่ว ให้ จัดทำแผนการ 4
ท่อหรือวาล์วลํา คาร์บอนมอนออกไซด์และ เคลื่อนย้ายสิ่งที่ ตรวจสอบประจำ ความเสี่ยง
เลียงสารสารเพน คาร์บอนไดออกไซด์ อาจ สามารถติดไฟได้ วัน และมีการเก็บ ที่ยอมรับไม่ได้
เทนว่ามีการรั่วไหล ติดไฟและทำให้เพลิงไหม้ได้ ทั้งหมดออกจาก สารในภาชนะบรรจุ
- หากสารเคมีรั่วไหลจะส่ง บริเวณ สวมชุด ที่ปิดสนิท หลีก
ผลกระทบต่อชุมชนข้าง ป้องกันสารเคมี เลี่ยงการกระทำที่
เคียงและสิ่งแวดล้อม และหน้ากากช่วย ก่อให้เกิดประกาย
หายใจ ถ้าไม่มี ไฟ
ความเสี่ยงอื่นใดให้
ปิดบริเวณที่มีการ
ผลจากการตรวจ ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการป้องกัน ข้อเสนอแนะ ระดับความเสีย่ ง
สอบรายการ และควบคุม
อันตราย
รัว่ นั้น

ผู้รับผิดชอบ.....นายธีรพัฒน์ สมนันท์ รหัสนักศึกษา B6311209


ส่วนที่ 3
1. การวิเคราะห์ประเด็น
ผลกระทบทางสิ่ง
การดำเนินงานใน สิ่งที่เป็นความ วิธีป้องกัน
สาเหตุ แวดล้อมและ
โรงงาน เสี่ยงและอันตราย อันตราย
สังคมที่อาจเกิดขึ้น
ตรวจสอบวัตถุดิบ - เกิดการรั่วไหล อาจเกิดจากความ - ถ้าสารสไตรีน ฝึกอบรมและจัดทำ
ของถังเก็บและท่อ ผิดพลาดของ โมโนเมอร์รวั่ ไหล ขั้นตอนการเคลื่อน
ลำเลียงสารสไตรีน พนักงาน ลงไปสู่แหล่งน้ำจะ ย้ายรับส่งให้มี
โมโนเมอร์ ทำให้การขยาย ความปลอดภัยและ
- เกิดอุบัติเหตุการ พันธุ์ของสัตว์น้ำช้า มีการใส่ชดุ ป้องกัน
สัมผัสโดยตรงกับ ลง สารเคมีเมื่อเคลื่อน
สารเคมี - ถ้าสารเพนเทน ย้ายสารเคมีต่างๆ
- เกิดการรั่วไหล รัว่ ไหลลงสู่แหละ
ของถังเก็บและท่อ น้ำอาจจะก่อให้เกิด
ลำเลียงสารเพน ผลเสียระยะยาวต่อ
เทน สภาวะแวดล้อมใน
น้ำ
กระบวนการขึ้นรูป - เกิดการระเบิด - การรั่วของท่อส่ง - ถ้าสารสไตรีน มีการจัดระบบ
ของโฟม EPS - เกิดอัคคีภัย หรือวาล์วที่มีการ โมโนเมอร์รวั่ ไหล ตรวจสอบระบบ
เสื่อมสภาพ ลงไปสู่แหล่งน้ำจะ การทำงานต่างๆ
- เกิดจากการคาย ทำให้การขยาย เพื่อตรวจสอบ
ความร้อนจาก พันธุ์ของสัตว์น้ำช้า ความพร้อมในการ
ปฏิกิริยาทางเคมีใน ลง ทำงานของอุปกรณ์
ถัง - ถ้าสารเพนเทน เครื่องจักร
รัว่ ไหลลงสู่แหละ
น้ำอาจจะก่อให้เกิด
ผลเสียระยะยาวต่อ
สภาวะแวดล้อมใน
น้ำ
-ถ้าเกิดการระเบิด
สารทั้งสองนั้นจะ
ผลกระทบทางสิ่ง
การดำเนินงานใน สิ่งที่เป็นความ วิธีป้องกัน
สาเหตุ แวดล้อมและ
โรงงาน เสี่ยงและอันตราย อันตราย
สังคมที่อาจเกิดขึ้น
ระเหยกระจายตัว
ในอากาศทำให้ส่ง
ผลกระทบกับครัว
เรือนใกล้เคียง
กระบวนการนำ - เกิดอัคคีภัย - เกิดประกายไฟ - สารสไตรีนที่อยู่ จัดการตั้งมาตรการ
สินค้าเข้าเก็บใน จากการสูบบุหรีใ่ น ในตัวผลิตภัณฑ์จะ ป้องกันไม่ให้เกิด
คลังสินค้า คลังสินค้า ระเหยและเข้าสู่ ประกายไฟใน
บรรยากาศถ้ามี บริเวณคลังสินค้า
จำนวนมากอาจจะ
ทำให้สารเคมีนี้
ปกคลุมทั่วบริเวณ
ใกล้เคียงและทำให้
บุคคลที่อยู่ใกล้
เคียงได้รับการสูด
ดมเป็นปริมาณมาก
ทำให้เกิดอันตราย
ได้

ตารางที่ 3.1 การวิเคราะห์กระบวนการทำงาน

1. การรวบรวมแหล่งความรู้ออนไลน์

ลำดับ ชื่อแหล่งความรู้ออนไลน์และอื่นๆ การใช้ประโยชน์


1 https://thainakarin.co.th/styrene- ใช้ข้อมูลบ่งชี้อันตรายและวิธกี ารป้องกันอันตราย
monomer-tnh/ จากสารสไตรีนโมโนเมอร์
2 https://www.thaipost.net/main/ ใช้ข้อมูลในการหาความรุนแรงและโอกาสของ
detail/108992 อันตรายจากมลพิษจากโรงงานที่ใช้สารเคมี
3 https://www.rcilabscan.com/wp- ใช้ข้อมูลบ่งชี้อันตรายและวิธกี ารป้องกันอันตราย
content/uploads/2019/11/n-pentane- จากเพนเทน
99-t-cuetomer
ลำดับ ชื่อแหล่งความรู้ออนไลน์และอื่นๆ การใช้ประโยชน์
4 https://www.thaich8.com/ ใช้ข้อมูลในการหาความรู้ถึงมาตรฐานความ
news_detail/66584 ปลอดภัยของระบบไฟฟ้าภายในโรงงาน
5 datacenter.deqp.go.th ใช้บง่ ชี้ข้อมูลอันตรายและความรุนแรงของอันตราย
จากเสียง
6 https://www.sanook.com/campus/ ใช้ข้อมูลบ่งชี้อันตรายและวิธกี ารของกันอันตราย
1405439/ จากการเกิดไฟไหม้
7 https://www.thonburi-u.ac.th/ ใช้ข้อมูลในการหาความรุนแรงและโอกาสของ
Journal_SIT/Vol2_No3_3.pdf อันตรายจากการรั่วไหลของท่อหรือวาล์ว
8 https://www.bbc.com/thai/thailand- ใช้ในการหาความรุนแรงและโอกาสของอันตราย
57723752 จากสารเคมีตกค้าง
9 https://healthenvi.com/industrial-air- ใช้ในการบ่งชี้ปัญหาผลกระทบจากการทำงานของ
pollution/ เครื่องจักรที่มีต่อชุมชน
10 https://www.supersafetythailand.com/ ใช้บง่ ชี้ถึงเทคนิคและวิธีการในการบำรุงรักษา
เครื่องจักร
11 https://www.thaihealth.or.th/ ใช้ข้อมูลในการหาความรุนแรงและโอกาสของ
อันตรายจากการสูบบุหรี่

ตารางที่ 3.2 แหล่งความรูท้ ี่ใช้

You might also like