You are on page 1of 32

สัมมนากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (น.

110)
: เหตุยกเว้นโทษ

อ.ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ
E-mail: lkhitdisorn@gmail.com
Facebook: Disorn Likhitwitayawuid

1
เค้าโครงการสัมมนา

1. การกระทาความผิดโดยจาเป็น (มาตรา 67)


2. การกระทาความผิดของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และ ไม่เกิน 15 ปี (มาตรา 73 และ 74)
3. การกระทาความผิดของคนวิกลจริต (มาตรา 65)
4. การกระทาความผิดของผู้มึนเมา (มาตรา 66)
5. การกระทาความผิดตามคาสั่งของเจ้าพนักงานที่มิชอบด้วยกฎหมาย (ม.70)
6. การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบางความผิดระหว่างสามีและภริยา (ม.71)

2
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา

มีการกระทา 1

มีการกระทาครบองค์ประกอบ
มีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทาและผล 2
ตามที่กฎหมายบัญญัติ

การกระทาครบองค์ประกอบภายนอก 3
โครงสร้างความ
ไม่มีเหตุยกเว้นความผิด 5
รับผิดทางอาญา
ผู้กระทามีองค์ประกอบภายใน 4

ไม่มเี หตุยกเว้นโทษ 6
3
การกระทาความผิดโดยจาเป็น (มาตรา 67)

เพราะอยู่ในที่บังคับ
Duress
มาตรา 67(1)
การกระทาความผิด
โดยจาเป็น
เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นภยันตราย
Necessity
มาตรา 67(2)

4
จาเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ (มาตรา 67(1))

(1) อยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อานาจ

(2) ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้
จาเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ
มาตรา 67(1) (3) ผู้กระทาจะต้องมิได้ก่อเหตุการณ์นั้นขึ้น
โดยความผิดของตน

(4) กระทาไปโดยไม่เกินขอบเขต

5
(1) อยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อานาจ

- มีการบังคับให้กระทา หรือไม่กระทาการ อย่างหนึ่งอย่างใดจากภายนอก ซึ่งการกระทา


หรือไม่กระทานั้น เป็นความผิด

ผู้ถูกบังคับยังต้องมี “การกระทา” อยู่

- ต้องเป็นการบังคับให้กระทาความผิดโดยเจตนา (ประสงค์/เล็ง/พลาด)
ตัวอย่าง ดาเอาปืนจ่อหัวแดงให้ขับรถยนต์ด้วยความเร็วสูงในเวลากลางคืนโดยไม่ให้เปิด
ไฟหน้ารถ เพื่อหลบหนีการจับกุมของตารวจ แดงกลัวตายจึงทาตาม ปรากฏว่ารถของนายแดงชน
ขาวซึ่งยืนอยู่ข้างถนนถึงแก่ความตาย จงวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของนายแดง
6
(2) ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้

- ผู้กระทาความผิด ไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากกระทาความผิดตามที่ถูกบังคับนั้น หาก


สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้แต่ไม่หลีกเลี่ยง กลับเลือกไปกระทาความผิดต่อบุคคลที่สาม เช่นนี้
จะอ้างจาเป็นไม่ได้
- ผู้กระทามีเจตนาพิเศษ “เพราะอยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อานาจที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยง
หรือขัดขืนได้”

7
(3) ผู้กระทาจะต้องมิได้ก่อเหตุการณ์นั้นขึ้น โดยความผิดของตน

- หากผู้กระทาก่อให้เกิดเหตุการณ์ขึ้นโดยความผิดของตนแล้ว ก็จะอ้างว่าเป็นการกระทา
โดยจาเป็นเพราะถูกบังคับไม่ได้ เพราะตนอาจหลีกเลี่ยงได้โดยไม่ก่อให้เกิดเหตุการณ์นั้นเสียตั้งแต่
แรกได้แล้ว
- ทานองเดียวกับการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
1. ผู้ที่ก่อภัยขึ้นในตอนแรก
2. ผู้ที่สมัครใจเข้าวิวาทต่อสู้กัน
3. ผู้ที่ยินยอมให้ผู้อื่นกระทาต่อตนเองโดยสมัครใจ
4. ผู้ที่ยั่วให้ผู้อื่นโกรธ
8
(4) กระทาไปไม่เกินขอบเขต
ผู้กระทาจาต้องใช้ มาตรการขั้นต่าที่สุด
การกระทาโดย หลักวิถีทางน้อยที่สุด
ในการกระทาเพื่อให้พ้นภัย
จาเป็นพอสมควร
แก่เหตุ +
หลักความได้สัดส่วน ภัยที่ประสบ > ภัยที่กระทาโดยจาเป็น
ขอบเขต +

ภยันตรายใกล้จะถึง
ไม่เกินไปกว่ากรณีแห่งการจาต้อง
กระทาโดยจาเป็น
ภยันตรายยังไม่ผ่านพ้นไป
9
จาเป็นเพื่อให้พ้นภยันตราย (มาตรา 67(2))

(1) มีภยันตราย
(2) ภยันตรายนั้นใกล้จะถึง
(3) เป็นภยันตรายที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นได้ด้วยวิธีอื่น
จาเป็นเพื่อให้พ้นภยันตราย
มาตรา 67(2) (4) ภยันตรายนั้นผู้กระทาโดยจาเป็น
มิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน

(5) ผู้กระทาได้กระทาไปเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นภยันตราย

(6) กระทาไปโดยไม่เกินขอบเขต
10
(1) มีภยันตราย

- อาจเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายหรือไม่ก็ได้ (≠ ป้องกันโดยชอบฯ)

กระทาต่อผู้ก่อภัย ป้องกัน ม.68


กรณีที่ละเมิดต่อกฎหมาย
กระทาต่อผู้บริสุทธิ์ จาเป็น ม.67(2)

กระทาต่อผู้ก่อภัย
กรณีทไี่ ม่ละเมิดต่อกฎหมาย จาเป็น ม.67(2)
กระทาต่อผู้บริสุทธิ์
11
(1) มีภยันตราย

ตัวอย่าง: จงวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของนายดา
1) นายแดงเลี้ยงสุนัขดุไว้ไม่ดี สุนัขหลุดออกมาจะกัดนายดา นายดาตีสุนัขบาดเจ็บสาหัส

2) นายแดงเลี้ยงสุนัขดุไว้ไม่ดี สุนัขหลุดออกมาจะกัดนายดา นายดาพังบ้านนายขาวหนีสุนัข

3) นายแดงละเมอหยิบปืนทาท่าจะยิงนายดา นายดาจึงยิงนายแดงตาย

4) นายแดงละเมอหยิบปืนทาท่าจะยิงนายดา นายดาจึงยิงนายแดงตาย โดยไม่รู้ว่านายแดงละเมออยู่

5) สุนัขคลั่งจากโรคพิษสุนัขบ้าไม่มีเจ้าของ จะเข้ามาตะกัดนายดา นายดาพังบ้านนายขาวหนีสุนัข


12
(2) ภยันตรายนั้นใกล้จะถึง (หลักการเดียวกับการป้องกันโดยชอบฯ)

1) หากภยันตรายยังอยู่ห่างไกล ผู้ที่จะรับภัยย่อมมีหนทางที่จะขจัดปัดเป่าภยันตรายที่
เกิดขึ้นได้
2) แม้การกระทาของผู้ก่อภัยจะยังไม่ถึงขั้นตอนการ “ลงมือ” แต่ถ้าหากภยันตรายนั้น
ใกล้จะถึง ผู้รับภัยก็อ้างจาเป็นได้
3) ช่วงระยะเวลาในการกระทาโดยจาเป็น นับตั้งแต่เมื่อภยันตรายนั้นใกล้จะถึง รวม
ตลอดระยะเวลาที่ภยันตรายได้มาถึงตัวผู้รับภัยแล้ว ก่อนที่ภยันตรายจะสิ้นสุดลง
13
(3) เป็นภยันตรายที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นด้วยวิธีอื่นใดได้

- ไม่มีวิธีอื่นใดแล้วที่ผู้กระทาจะสามารถหลีกเลี่ยงภยันตรายนั้นได้ นอกจากการ
กระทาความผิด หากยังมีวิธีอื่นแต่ผู้กระทาไม่ใช้วิธีอื่นนั้น แต่กลับมากระทาความผิด
เช่นนี้จะอ้างจาเป็นไม่ได้
- การกระทาโดยจาเป็นเป็นการกระทาต่อผู้บริสุทธิ์ เพราะฉะนั้นจึงต้องพยายาม
หาทางอื่น หากสามารถกระทาได้

14
(4) ภยันตรายนั้นผู้กระทาโดยจาเป็นมิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน

- หากผู้กระทาก่อให้เกิด เหตุ การณ์ขึ้นโดยความผิด ของตนแล้ว ก็จะอ้ างว่าเป็นการ


กระทาโดยจาเป็นเพื่อให้พ้นภยันตรายไม่ได้ เพราะตนอาจหลีกเลี่ยงได้โดยไม่ก่อให้เกิดเหตุการณ์
นั้นเสียตั้งแต่แรกได้แล้ว
- ทานองเดียวกับการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายและจาเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ
1. ผู้ที่ก่อภัยขึ้นในตอนแรก
2. ผู้ที่สมัครใจเข้าวิวาทต่อสู้กัน
3. ผู้ที่ยินยอมให้ผู้อื่นกระทาต่อตนเองโดยสมัครใจ
4. ผู้ที่ยั่วให้ผู้อื่นโกรธ
15
(5) ผู้กระทาต้องได้กระทาไปเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นภยันตราย

ประสงค์ต่อผล

เจตนาธรรมดา ย่อมเล็งเห็นผล

โดยพลาด
ผู้กระทามีเจตนา +

เจตนาพิเศษ เพื่อให้ตนเอง/ผู้อื่นพ้นภยันตราย
16
(6) กระทาไปไม่เกินขอบเขต
ผู้กระทาจาต้องใช้ มาตรการขั้นต่าที่สุด
การกระทาโดย หลักวิถีทางน้อยที่สุด
ในการกระทาเพื่อให้พ้นภัย
จาเป็นพอสมควร
แก่เหตุ +
หลักความได้สัดส่วน ภัยที่ประสบ > ภัยที่กระทาโดยจาเป็น
ขอบเขต +

ภยันตรายใกล้จะถึง
ไม่เกินไปกว่ากรณีแห่งการจาต้อง
กระทาโดยจาเป็น
ภยันตรายยังไม่ผ่านพ้นไป
17
ผลของการกระทาโดยจาเป็นที่เกินขอบเขต

เกินสมควรแก่เหตุ
ป้องกัน
เกินกว่ากรณีแห่งการ
เกินขอบเขต จาต้องกระทาเพื่อป้องกัน
ม.69 ศาลลดโทษให้
เกินสมควรแก่เหตุ เท่าไหร่ก็ได้
จาเป็น
เกินกว่ากรณีแห่ง
ความจาเป็น
18
ผลของการกระทาโดยจาเป็นที่เกินขอบเขต
: กรณีตื่นเต้น ตกใจ หรือกลัว
เกินสมควรแก่เหตุ
ป้องกัน
เกินกว่ากรณีแห่งการ
จาต้องกระทาเพื่อป้องกัน ตื่นเต้น
เกินขอบเขต ศาลสามารถใช้
ตกใจ
ม.69 ดุลพินิจไม่ลงโทษ
กลัว
เกินสมควรแก่เหตุ
จาเป็น
เกินกว่ากรณีแห่ง
ความจาเป็น
19
ข้อสังเกต: การกระทาความผิดด้วยความจาเป็น

- การกระทาความผิดด้วยความจาเป็นโดยพลาด (67+60)
- การกระทาความผิดด้วยความจาเป็นโดยสาคัญผิด (67+62)
- การกระท าความผิ ด ด้ ว ยความจ าเป็ น ถื อ ว่ า เป็ น “ภยั น ตรายอั น ละเมิ ด ต่ อ
กฎหมาย” = ผู้บริสุทธิ์ที่ได้รับผลกระทบจากการกระทาโดยจาเป็นสามารถตอบโต้โดย
อ้างป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายได้

20
ข้อสังเกตการกระทาความผิดด้วยความจาเป็น
: จงวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของนายเขียว

ยิงปืน
ข่มขู่ให้ฆ่าเขียว

ยิงสวน

จะพังบ้านเข้าไปหลบ
ไล่กระทืบ

คว้าตัวใส่กุญแจมือไม่ให้พังบ้าน

21
การกระทาความผิดของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และ ไม่เกิน 15 ปี
(มาตรา 73 และ 74)

ม.73 อายุ≤10 ปี
เด็ก ยกเว้นโทษ
ม.74 10ปี<อายุ≤15 ปี

- ต้องมีการกระทาครบองค์ประกอบตามที่กฎหมายบัญญัติในโครงสร้างความรับ
ผิดทางอาญาส่วนที่ 1 ครบถ้วนแล้ว
- เด็กนั้นจะต้องมี “การกระทา” ตามความหมายของ ป.อาญา มาตรา 59 แล้ว
- อายุต้องพิจารณาในขณะกระทาความผิด
22
การกระทาความผิดของบุคคลวิกลจริต (มาตรา 65 วรรคแรก)

มีการกระทา
กระทาการอันกฎหมายบัญญัติไว้เป็นความผิด

ไม่สามารถรู้ผิดชอบ
หลักเกณฑ์ ในขณะ
ไม่สามารถบังคับตนเองได้

มีจิตบกพร่อง
เพราะ โรคจิต
จิตฟั่นเฟือน
23
การกระทาความผิดของบุคคลวิกลจริต (มาตรา 65 วรรคแรก)

- ต้องมีการกระทาครบองค์ประกอบตามที่กฎหมายบัญญัติในโครงสร้างความรับ
ผิดทางอาญาส่วนที่ 1 ครบถ้วนแล้ว
- บุคคลวิกลจริตนั้นต้องยังมี “การกระทา” อยู่ คือ ยังคงมีการเคลื่อนไหว/ ไม่
เคลื่อนไหวร่างกายภายใต้อานาจจิตใจบังคับ
- หากวิกลจริตก่อน/หลังกระทาความผิด แต่ในขณะกระทาไม่ได้วิกลจริต ก็ไม่ได้
รับการยกเว้นโทษ

24
การกระทาความผิดของผู้มึนเมา (มาตรา 66)

มีการกระทา
กระทาการอันกฎหมายบัญญัติไว้เป็นความผิด

ไม่สามารถรู้ผิดชอบ
หลักเกณฑ์ ในขณะ
ไม่สามารถบังคับตนเองได้

เพราะความมึนเมา ผู้เสพย์ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะทาให้มึนเมา
ที่เกิดขึ้นโดย ผู้เสพย์ถูกขืนใจให้เสพย์
25
การกระทาความผิดตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
ที่มิชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 70)

1) กระทาความผิดตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน

2) คาสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย
หลักเกณฑ์
3) ผู้กระทาไม่รู้ว่าคาสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย

4) ผู้กระทามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม/ ไม่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
แต่เชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม

26
1) กระทาความผิดตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน

- กฎหมายยกเว้ น โทษเฉพาะกรณี ที่ เ ป็ น ค าสั่ง ของเจ้ า พนั ก งาน ไม่ ไ ด้ ย กเว้ น


ตลอดไปถึงคาสั่งของผู้อื่น เช่น สามี บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือนายจ้าง
- คาสั่ง คือ คาบงการให้กระทาหรือไม่กระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ใช่เพียงแต่
คาแนะนาหรือแสดงความเห็นที่จะกระทาหรือไม่กระทาก็ได้
- ค าสั่ ง นั้ น ไม่ จ าเป็ น ว่ า จะต้ อ งเป็ น กรณี ที่ เ จ้ า พนั ก งานสั่ ง ออกมาเอง เช่ น
หมายจับก็ถือว่าเป็น “คาสั่ง” ให้จับ/ หมายค้นก็ถือว่าเป็น “คาสั่ง” ให้ค้น

27
2) คาสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย

- หากคาสั่งนั้นมีอานาจตามกฎหมายรองรับแล้ว ย่อมไม่ใช่กรณีตามมาตรา 70
ตัวอย่าง: จงวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของร้อยตารวจตรีแดง
หมายจับนายดาผู้บริสุทธิ์ที่ออกโดยชอบด้วยกฎหมาย ร้อยตรีแดงได้เข้าจับกุม
นายดาตามหมายจับ

28
3) ผู้กระทาไม่รู้ว่าคาสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย

- ต้องเป็นกรณีที่ผู้กระทาเข้าใจว่าเป็นคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
- หากผู้กระทารู้อยู่แล้วว่าคาสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย แล้วขืนปฏิบัติตาม กรณีนี้
ไม่เข้า ม.70 ไม่สามารถอ้างเพื่อยกเว้นโทษได้

29
4) ผู้กระทามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม/ ไม่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
แต่เชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม

ตัวอย่าง: โจทก์ครอบครองเพิงไม้ที่ปลูกอยู่ติดกับข้างอาคารพาณิชย์ที่จาเลยที่ 1
เช่าจากเทศบาลตาบลปากช่อง ซึ่งเทศบาลตาบลปากช่องแจ้งให้ภริยาโจทก์รื้อถอนเพิงไม้ดังกล่าว
แต่ภริยาโจทก์อ้างว่าไม่ได้เป็นเจ้าของเพิงไม้นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลปากช่องจึงสั่งให้จาเลยที่
1 รื้อถอนเพิงไม้ จำเลยที่ 1 เชื่อว่ำคำสั่งนั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมำยและมีหน้ำที่ต้องปฏิบัติ
ตำม ดังนั้นแม้การที่จาเลยที่ 1 กับพวกรื้อถอนเพิงไม้จะเป็นความผิดฐานบุกรุกตาม ป.อ.มาตรา
365 (2) ประกอบมาตรา 362 ก็ตาม จาเลยที่ 1 ก็ย่อมได้รับยกเว้นโทษตาม ป.อ. มาตรา 70 (ฎ.
7370/2538) 30
การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบางความผิด
ระหว่างสามีและภริยา (ม.71)
- สามีภริยา ต้องชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น
- เป็นเหตุยกเว้นโทษส่วนตัว ตาม ม.89

ลักทรัพย์

- หากเป็ น ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ร ะหว่ า งสามี ภ ริ ย าที่ มี ค วามรุ น แรงเข้ า มา
เกี่ยวข้อง ไม่เข้า ม.71 ไม่ใช่กรณีที่จะสามารถยกเว้นโทษได้
31
จบการบรรยาย

Q&A
32

You might also like