You are on page 1of 13

ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

ปฏิบัติการที่ 2
การวิเคราะ ว์ งจรไฟฟ้า 1

1. วัตถุประ งค์
1) เพื่อใ ้เกิดทัก ะและค ามคุ้นเคยกับ งจรไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
2) เพื่อใ ไ้ ด้ทด อบทฤ ฎีที่เกี่ย ข้อง เ ริมค ามเข้าใจ
3) เพื่อใ น้ ำค ามรู้จากเครื่องมือ ัดพื้นฐานมาประยุกต์ใช้

2. การค้นคว้าเพิ่มเติมทฤ ฎีที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง
ในการ ิเคราะ ์ งจรทางไฟฟ้านั้น ามารถใช้ ลักการพื้นฐานมาช่ ยเพื่อใ ้การ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้า ดังนั้นจึง
จำเป็นที่จะต้องอธิบาย ลักการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าพื้นฐานต่าง ๆ ได้ดังนี้
1) ลักการพื้นฐานของการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้า: กฏของเคอร์ชอฟท์ (KVL และ KCL) และ ลักการแบ่ง
แรงดันและแบ่งกระแ
2) ลักการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย ิธีแรงดันโนด (Nodal analysis) และ ิธีกระแ ลูป (Loop/Mesh
analysis)
กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s current Law)
กล่าวว่า “ กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าจุดใดจุดหนึ่งในวงจรไฟฟ้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดนั้น”

Itotal =
I , + I2 Ii Izt I} =
Itotal

T
"
* I
,

52 Itotnl
I. • •

Iz %

กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL)
EI กระแสไหล เ า =
EI กระแส ไหล ออก

กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s voltage Law)


กล่าวว่า “ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจร มีค่าเท่ากับผลรวมของแรงดันไฟฟ้าค่าเท่ากับผลรวมของแรงดัน
ไฟฟ้าที่ตกคล่อมความต้านทานในวงจรไฟฟ้านั้น”

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 13


ฉึ๊
ฏึ
ข้
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

ลูป (Loop) ของวงจรไฟฟ้า หมายถึงเส้นทางใด ๆ ก็ตามในวงจรไฟฟ้า ถ้าหากเริ่มจากจุดหนึ่งไปตามเส้นทางนั้นแล้วสามารถกลับมายัง


จุดนั้นได้อีกเรียกว่า ลูป (Loop) เช่น

+ V± 1 -
+ V.↑ 2 -

v. -

④ 4

จากนิยามกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์จะได้ว่า
-V1 + Vr1 + V2 = 0 สมการที่ 1
-V2 + Vr2 = 0 สมการที่ 2
จากสมการสรุปกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ได้อีกอย่างหนึ่งว่า “ผลรวมของแรงดัน -ไฟฟ้าทั้งหมดในวงจรไฟฟ้าปิดใด ๆ จะเท่ากับศูนย์”
เราสามารถเขียนสมการแรงดันได้ในรูปสมการ KVL
EE =
0 เ อ กระแส เ น ครบ ง Loop

เครื่องหมายของ แรงดันในสมการ KVL จะมีค่าไปตามเครื่องหมายที่ กระแสเดินทางไปเจอ

การเขียนสมการแรงดันไฟฟ้าโดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์
1. ให้สมมติกระแสไฟฟ้าที่ไม่ทราบค่าพร้อมทิศทาง
2. กำหนดขั้วแรงดันไฟฟ้าให้แก่อุปกรณ์ในวงจรทุกตัว ตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร โดยกำหนดให้ด้านที่กระแสไฟฟ้าไหล
เข้ามีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกและด้านที่กระแสไฟฟ้าไหลออกจากอุปกรณ์มีศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ
3. เขียนสมการแรงดันไฟฟ้าตามกฎของเคอร์ชอฟฟ์ในวงจรต่างๆที่เป็นไปได้และใส่เครื่องหมายหน้าแรงดันไฟฟ้าให้ถูกต้อง

4. โดยทั่ว ๆ ไปสมการเหล่านี้ ตัวที่ไม่รู้ค่าจะเป็นกระแสไฟฟ้าส่วนตัวต้านทานจะกำหนดค่ามาให้ ดังนั้นจะต้องพยายามหาค่ากระแสไฟฟ้าที่


ไหลผ่านส่วนต่าง ๆ ของวงจรให้ได้ถ้า-หากกระแสไฟฟ้าที่คำนวณออกมาได้ค่าเป็นลบ (-) แสดงว่ากระแสไฟฟ้าที่แท้จริงมีทิศทางตรงข้ามกับ
ที่สมมติไว้
5. ใส่เครื่องหมายบวก (+) ต้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลเข้าและใส่เครื่องหมายลบ(-)ปลายทางที่กระแสไฟฟ้าไหลออก
6. ในการเขียนสมการแรงดันไฟฟ้าให้เริ่มที่จุดใดจุดหนึ่งไถ่ไปเรื่อย ๆ พบบวก(+)ให้ใส่เครื่องหมายบวก(+) ถ้าพบลบ(-)ให้ใส่เครื่องหมาย
ลบ(-)จนครบวงจร

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 14


นํ๋?⃝
ทั้
ดิ
มื่
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

หลักการแบ่ง แรงดันและแบ่งกระแส
วงจรแบ่งแรงดัน (Voltage Divider หรือ Potential Divider) เป็นวงจรเชิงเส้นที่ใช้แบ่งแรงดันขาออก (Output) ให้มีขนาดต่างไปจาก

แรงดันที่รับเข้ามา (Input)

แรงดันไฟฟ้าขาออก (Output มีค่าแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน

กระแสไฟฟ้า มีค่าเท่ากันทั้งวงจร (เช่นเดียวกับวงจรอนุกรม)

โดยทั่ว ๆ ไป วงจรแบ่งแรงดันจะใช้ตัวต้านทาน 2 ตัวต่ออนุกรมกัน

2 A

• U บ

1 13

จากรูปสมมติให้ตัวต้านทานด้านบนคือ R1 และด้านล่างคือ R2 จ่ายแรงดันให้วงจร V กระแสไหลผ่านวงจร I จะมีสูตรในการคำนวณ คือ


R ว เอง
Vout =
R? Vin Vn Rn
×
g =
Vin
RHR 2 ง 12 รวม Rt

วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า

วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้าเป็นการประยุกต์กฎของโอห์มมาใช้ โดยการลดขั้นตอนในการคำนวณหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความ

ต้านทานแต่ละตัวในวงจรขนาน ตามลำดับลงให้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยการแทนค่าต่างๆตามลำดับ จนได้เป็นสูตรลัดในการคำนวณขึ้นมา

ในการที่จะคำนวณค่าได้นั้น เราจะต้องรู้ค่ากระแสทั้งหมด และค่าความต้านทานทุกตัว เพราะถ้าเรารู้ค่ากระแสทั้งหมด และค่าความ

ต้านทานทุกตัว เราจะสามารถคิดค่าสัดส่วนของกระแสทีไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว ตามคุณสมบัติของกระแสที่ว่า ความต้านทาน

มากกระแสจะไหลได้น้อย ความต้านทานน้อยกระแสจะไหลได้มากนั่นเอง

กรณีเป็นความต้านทาน 2 ตัวต่อขนานกันเราจะสามารถหาค่ากระแสที่ไหลผ่านความต้านทวนตัวที่ 1และตัวที่ 2 ได้ตามสูตร ดังนี้


R ว ตรง า
Rำ

I, =

_
× Itotal
R + 12 20 R รวบ
,

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 15


ข้
ตั
ตั
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

การวิเคราะห์แบบโนด (Nodal Analysis)

ถ้ากำหนดให้โนดใดโนดหนึ่งในวงจรเป็นโนดอ้างอิง (Reference Node) โดยโนดอ้างอิงนี้จะกำหนดให้มีแรงดันโนดเท่ากับ 0 โวลต์ ซึ่ง

ปกติแล้วจะให้โนดใดเป็นโนดอ้างอิงก็ได้ แต่ถ้าวงจรนั้นมีกราวน์ (ground) จะให้โนดกราวน์เป็นโนดอ้างอิง

ญ กษ ของ กราว

ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบโนด (Nodal Analysis)

1. กำหนดโนดอ้างอิง

2. กำหนดแรงดัน โนดที่ โนดต่างๆที่เหลือในวงจรที่ไม่ใช่โนดอ้างอิง (เช่น กำหนดให้แรงดันที่ โนดหนึ่งเท่ากับ V1 แรงดันที่อีกโนด

หนึ่งเป็น V2 เป็นต้น) โดยถ้าวงจรมีทั้งหมด Nโนด จะมีตัวแปรแรงดันเป็น N - 1ตัวแปร

3. ใช้สมการ KCL หาผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าหรือออกที่โนดต่างๆ(จำนวน N - 1 โนด) โดยใช้กฎของโอห์มแสดงกระแสที่ไหลผ่าน

อุปกรณ์ในรูปของตัวแปรแรงดันโนด (โดยปกติจะกำหนดให้กระแสที่ไหลออกจากโนดมีค่าเป็นบวกส่วนกระแสที่ไหลเข้าโนดมีค่า

เป็นลบ) แก้สมการเพื่อหาตัวแปรแรงดันโนด (V1,V2 เป็นต้น)


การวิเคราะห์แบบเมช (Mesh Analysis)
เมช (mesh) นั้นหมายถึงวงรอบปิดใดๆในวงจรที่ไม่มีวงรอบปิดอื่นใดในนั้น
A A

#
Ris 52 Ri-31 "

Iz


I.
.

V 10 V
=
V2 = 6 V

.. .

. .. .
.

ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบเมช (Mesh Analysis)


1 กำหนดกระแสเมชในแต่ละเมช ( เช่น i1 ,i2 เป็นต้น)
2 เขียนสมการ KVL ของแต่ละเมช โดยใช้กฎของโอห์มแสดงแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานต่างๆในรูปของกระแสเมช
3 แก้สมการเพื่อหาตัวแปรกระแสเมช

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 16


สั
ณึ้
น์
ลั
ณ์
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

3. อุปกรณ์ใช้ในการทดลอง
1) แ ล่งจ่ายไฟฟ้ากระแ ตรง จำน น 1 ชุด
2) มัลติมิเตอร์ จำน น 1 ตั
3) ตั ต้านทาน ขนาด 3 k จำน น 1 ตั
4) ตั ต้านทาน ขนาด 5 k จำน น 1 ตั
5) ตั ต้านทาน ขนาด 10 k จำน น 1 ตั
6) แผงทดลอง
7) ายต่อ งจร

4. การทดลอง
4.1 กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์
ขั้นตอนการทดลอง:
1) ต่อ งจรตามรูปที่ 2.1 ลงในบอร์ดทดลอง
+ VR1 − + VR2 −
A
I R1 = 3 k R2 = 5 k
+
+ VR3
Vi = 12V − R3 = 10 k

รูปที่ 2.1 งจรการทดลองกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์

2) ตั้งค่าการ ัดของเครื่องมัลติมิเตอร์เป็นโ ลต์มิเตอร์ ำ รับ ัดไฟฟ้ากระแ ตรง (VDC)


3) ปรับแรงดันที่แ ล่งจ่ายเท่ากับ 12 V จากนั้นใ ้นำโ ลต์มิเตอร์ ัดค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทานแต่ละตั
พร้อมทั้งบันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 ผลการ ัดตามการทดลองกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์


แรงดันที่แ ล่งจ่าย แรงดันตกคร่อม R1 แรงดันตกคร่อม R2 แรงดันตกคร่อม R3 กระแ ในวงจร
(Vi) (VR1) (VR2) (VR3) (I)
12 V 2. 00 V 3.343 V 6.67 V 0.68 mA

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 17


ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

4) จากผลการทดลองในตารางที่ 2.1 จงพิ ูจน์ค ามถูกต้องโดยแ ดง ิธีการคำน ณด้ ย ลักการแบ่งแรงดัน


(voltage division) เพื่อ าค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทานแต่ละตั (VR1, VR2, VR3)

(แ ดง ิธีการคำน ณ) จาก
ตร Vn = Vi
Rt
Vi =
12 V

ไ Vm
Vn Rm
%
→ = 31 จะ =
12 = 2 V
×

V122 → R 122 =
5th

Vk 3 → RR 3 = 102 V12 2s × 12 =
3.333 V

Rt =
3+5+10 =
182


V12 3 = | ✗ 12 =
6.667 V

% ความ คลาดเค อน ของ การ ทดลอง Vµ ; 12 -21


✗ 100 = 0 %
2

| 3.333-3.3431
VR 2 ง ✗ 1°° =
0.3 %
3,333

VR 3 ;
1 6. แ 7- " "
lxioo =
0.04 %
6. 667

5) ผลจากการคำน ณแรงดันตกคร่อมค ามต้านทานแต่ละตั ในข้อที่ 4) จงแ ดง ิธีการคำน ณเพื่อพิ ูจน์ใ ้


เ ็นจริงของกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ (KVL) ตาม มการต่อไปนี้

Vi = VR1 + VR2 + VR3

(แ ดง ิธีการคำน ณ) นวณ ; Vi VRKVR 2 + V123


ผล จาก การ จาก
ตร
=

Vµ = 2 V จะ ไ Vis 2 +
3.333+6.667

V12 2 =
3.333 V Vi =
12 V

V12 3 =
6.667 V

ผล จาก การ ทดลอง j จาก


ตร Vi =
VRHVRHVR 3

จะ ไ Vi =
2+3.343+6.67

Vi =
12.013 V
/ 12 -12.013 |
า จาก การ ทดลอง คลาดเค อน จาก า การ นอน ; 12
✗ 100=0.1 %

i. ง เ นไป ตาม กฎ แรง น ของ เดอ ชอป 1kV LI

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 18


สู
สิ๋
สู
คำ
สู
ค่
จึ
ดำ
ค่
ฟ์
ดั
ป็
ด้
ด้
ด้
ลื่
ลื่
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

4.2 กฎกระแ ของเคอร์ชอฟฟ์


ขั้นตอนการทดลอง:
1) ต่อ งจรตามรูปที่ 2.2 ลงในบอร์ดทดลอง
R1 = 1 k
A
I1 A A
+ I2 I3
Vi −

R2= 5 k R3= 10 k
รูปที่ 2.2 งจรการทดลองกฎกระแ ของเคอร์ชอฟฟ์

2) ตั้งค่าการ ัดของเครื่องมัลติมิเตอร์เป็นโ ลต์มิเตอร์ ำ รับ ัดไฟฟ้ากระแ ตรง (VDC)


3) ปรับแรงดันที่แ ล่งจ่ายเท่ากับ 12 V โดยใช้โ ลต์มิเตอร์ ัดค่าเพื่อใ ้ได้ค่าที่ถูกต้องที่ ุด
4) ตั้งค่าการ ัดของเครื่องมัลติมิเตอร์เป็น แอมป์มิเตอร์ จากนั้นใ ้นำแอมป์มิเตอร์ ัดค่ากระแ ที่ไ ลผ่าน
งจรตามที่กำ นดไ ้ พร้อมทั้งบันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 ผลการ ัดตามการทดลองกฎกระแ ของเคอร์ชอฟฟ์


แรงดันที่แ ล่งจ่าย กระแ R1 กระแ R2 กระแ R3
(Vi) (I1) (I2) (I3)
12 V 2.78 mA 1.86 mA 0.13 mA

5) จากผลการ ัดในตารางที่ 2.2 จงพิ ูจน์ค ามถูกต้องโดยแ ดง ิธีการคำน ณด้ ย ลักการแบ่งกระแ


(current division) เพื่อ าค่ากระแ ที่ไ ลผ่านตั ต้านทานทาน R2 และ R3 (I2 และ I3)
(แ ดง ิธีการคำน ณ) จาก Ins Rvi Ii Cn ว ตรง าม )
'

ตร
=

Rn + Rni
Rt =
% +1
⇐ =

3
r
R
1% 12.7
I2 3 7) 1.85 mA
Ii
=
=

#
=
_

I, Ii 2.77 V
=
=
Rz +123

I3 = R 2 Ii s E- 12.7 7) = 0.92 mA

R 2+123 5 +10

12.77-2.781
% ความ คลาดเค อนของ การ ทดลอง
✗ 1°0 =
0.36 %
I, ; 2.77

11.85 -
1.861
✗ 100 = 0.54 %
I2 =
1.8g

/ 0.92-0.931
[3 = ✗ 1° 0 = 1.09 %
0.92

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 19


ตั
สู
ญุ๋
ข้
ลื่
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

6) ผลจากการคำน ณค่ากระแ I2 และ I3 ที่ไ ลผ่านตั ต้านทานทาน R2 และ R3 ในข้อที่ 5) จงแ ดง ิธีการ
คำน ณเพื่อพิ ูจน์ใ ้เ ็นจริงของกฎกระแ ของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL) ตาม มการต่อไปนี้

ผลรวมของกระแ ไ ลเข้า = ผลรวมของกระแ ไ ลออก

(ใ ้แ ดง ิธีการคำน ณ) จาก
ตร CI in =
{ Iout

( ผล จาก การ นวณ ) ; I, =


I. + I 3

Iio 2.77 =
1.85+0.92

c

Iz % 2.77 = 2.77

( ผลจาก การทดลอง ) ; Ii I + I3
2

2.78 s I. 86+0.93

2.79 =
2.79

i. ง เ นไปตาม กระแสของ เดอ ช0 ป Ckch

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 20


จึ
คำ
สู
รั
ป็
ป์
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

4.3 การวิเคราะ ์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการโนด


ขั้นตอนการทดลอง:
1) ต่อ งจรตามรูปที่ 2.3 ลงในบอร์ดทดลอง และปรับแรงดันที่แ ล่งจ่ายไฟฟ้ากระแ ตรงตามที่กำ นด
2) นำ โวลต์มิเตอร์ ัดค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทานแต่ละตั (VR1, VR2, VR3)
3) บันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 2.3
+ VR1 − + VR2 −
R1 = 5 k R2 = 3 k
+
V1 = 10 V −+ R3 = 10 k VR3 +
− V2 = 6 V

รูปที่ 2.3 งจรการทดลองการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย ิธีการโ นด

ตารางที่ 2.3 ผลการ ัดค่าแรงดันตามการทดลองการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย ิธีการโ นด


แรงดันตกคร่อม R1 (VR1) 3. 673 V
แรงดันตกคร่อม R2 (VR2) 0.312 V
แรงดันตกคร่อม R3 (VR3) 6.2 ๑ V

4) จากผลการ ัดในตารางที่ 2.3 จงพิ ูจน์ค ามถูกต้องโดยแ ดง ิธีการคำน ณด้ ยการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย
ิธีการโ นด (Nodal analysis) เพื่อ าค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทานแต่ละตั (VR1, VR2, VR3)
(แ ดง ิธีการคำน ณ)
VN II. VB I V122
VA 3.
• •

14 = 51
g
Iz Ri 32

V1 = 10 V R =
101 V123 V2 = 6 V
}

Node VA ; VA s
10 V

Node Vc ; Vcs 6 V

Node VB ; < Iin =


EI out

I, = I 2 4 53

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 21


หฺ
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

Node VB j Ii 52 + I3

VA -
V13 = VB Vc
-

VB V0-

,
5h 3h 10h
6 VA -
6 VB =
NVB -10 Vc + 3 VA -
3101

19 VB = 6 VA +10 Vc

V13 = 6 1101 +10 (6)


1๑

V13 = 6.32 V

Vµ =
VA V13 -

= 10-6.32 =
3.68 V

V1{ 2 =
VB Vc - = 6.32-6 =
0.32 V

V
V123 = V13- V6 s
6.32-0 = 6.32

| 3.68-3.6731
% ค วาด คลาดเค อน ของ การ ทดลอง VR , ; 3.68
" °° = ๚%

/ 0.312 -
0.321
2.56 y
✗ 100 =

V12 2 i 0.312

16.32 -
6.29 |
✗ 1° °
=
0.47 %
V123 ง 6.32

คำตอบ (จากการคำน ณ):


VR1 เท่ากับ 3. 68
V
VR2 เท่ากับ 0.32 V
VR3 เท่ากับ 6.32
V

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 22


ลื่
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

4.4 การวิเคราะ ์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการ ลูป/เมช


ขั้นตอนการทดลอง:
1) จาก งจรตามรูปที่ 2.4 ได้ทำการต่อลงในบอร์ดทดลองไ ้แล้
2) นำ แอมป์มิเตอร์ ัดค่ากระแ ไ ลผ่านตั ต้านตั ต้านทานแต่ละตั (I1, I2, I3)
3) บันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 2.4

A A
R1 = 5 k R2 = 3 k
I1 A I2
V1 = 10 V −+ I3 + V2 = 6 V

R3 = 10 k

รูปที่ 2.4 งจรการทดลองการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย ิธีการ ลูป/เมช

ตารางที่ 2.4 ผลการ ัดค่ากระแ ตามการทดลองการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย ิธีการ ลูป/เมช


กระแ ที่ไ ลผ่าน R1 (I1) 0.75 mA
กระแ ทีไ่ ลผ่าน R2 (I2) 0.10 mA
กระแ ทีไ่ ลผ่าน R3 (I3) 0.63 mA

4) จากผลการ ัดในตารางที่ 2.4 จงพิ ูจน์ค ามถูกต้องโดยแ ดง ิธีการคำน ณด้ ยการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้าด้ ย
ิธีการเมช (Mesh analysis) เพื่อ าค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทานแต่ละตั (I1, I2, I3)
(แ ดง ิธีการคำน ณ)
A A

!
ะ ะ
"" "
Iz


I.
"

V 10 V
=
V2 = 6 V

K 3=102

Mesh [ ; -10+51ำ + 101 Ii I 2) =


0
,
_

15 I , -10 I. = 10 -

Mesh I2 i 3 I2 + 6+101 Iz -1,1 =


0

13 Iz -10 [ s -6 -


,

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 23


ณึ้
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

① ②
'

I
"

|
, ; 15 -10 10

_
-10 13
_
% - -

15 -10
ˢ
% 10 ✗ 1- 10 ) ] + 15 ✗ 1 } = 95
-
10 13

10 -10

% " " " ] ""


%
-

13 "
[, = = = 0.74 mA
๑5

15 10

-10 - 6 % ° " °] +15 %)


[ =
= =
0,11 mA
2 95
95

Node Vz ; EI in =
EI out

I, =
I 2+ I 3

I} =
0.74 -0.11

[3 = 0.63 mA

10.74-0.751
% ค วาด คลาดเค อน ของ การ ทดลอง I, ; อ า4
.
× 1 °° =
1.35 %

10.11 -

0.101×100 = 9.09 %
I2 ง
0.11

I.si 0 %

คำตอบ (จากการคำน ณ):


I1 เท่ากับ 0.74 mA
I2 เท่ากับ 0.11 mA
I3 เท่ากับ 0.63 mA

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 24


ลื่
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

5. วิเคราะ ์และ รุปผลการทดลอง


จากการทดลอง4.1กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ ได้ V V V จากการทดลองเท่ากับ 2 V 3.343 V และ 6.67 V ตามลำดับ เมื่อคำนวณด้วย
12 1 12 2 12 3

หลักการแบ่งแรงดันได้ค่าV V V เท่ากับ 2V 3.333V 6.667V ตามลำดับซึ่งค่าจากการทดลองV V V คลาดเคลื่อนอยู่ 0 %0.3 %0.04 %ตาม


12 1 12 2 12 3 Rl R2 123

ลำดับ และเมื่อคำนวณจากสูตร Vi =V +V + V ได้ค่าViจากการคำนวณ เท่ากับ 12V และค่าViจากการทดลอง 12.013V คลาดเคลื่อนจาก


12 1 12 2 123

ค่าการคำนวณอยู่0.1 %ซึ่งสรุปได้ว่า เป็นไปตามกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ จากการทดลอง4.2กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ ได้ค่ากระแสไฟฟ้า


จากการทดลอง I I I เท่ากับ 2.78 mA. 1.86mA 0.93mA ตามลำดับเมื่อคำนวณด้วยหลักการแบ่งกระแส ได้ค่า I I I เท่ากับ 2.77mA
1 2 3 1 2 3

1.85mA 0.92mA ตามลำดับ ซึ่งค่าการทดลอง I I I คลาดเคลื่อนจากค่าการคำนวณอยู่ 0.36 %0.54 %1.09 % ตามลำดับ และเมื่อคำนวณจาก
1 2 3

สูตร ผลรวมกระแสไฟฟ้าเข้า=ผลรวมของกระแสไฟฟ้าออก ค่าการทดลองและการคำนวณ เมื่อแทนลงในสูตร ได้ค่ากระแสเท่ากันทั้งสอง


ข้างของสมการ ซึ่งเป็นจริงตามกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จากการทดลอง4.3การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการโนด ได้ค่าจากการทดลอง
V V V เท่ากับ 3.673 V 0.312 V 6.29V ตามลำดับ เมื่อคำนวณด้วยการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการโนดได้ค่าV V V เท่ากับ3.68V 0.32V
Rl RL 123 121 122 123

6.32V ตามลำดับ ซึ่งค่าจากการทดลอง V V V คลาดเคลื่อนอยู่ 0.19 % 2.56 % 0.47 %ตามลำดับ จากการทดลอง4.4การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า


121 122 123

ด้วยวิธีการลูป/เมช ได้ค่า I I I จากการทดลองเท่ากับ 0.75mA 0.10mA 0.63mA ตามลำดับ เมื่อคำนวณด้วยการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วย


1 2 3

วิธีเมช ได้ค่า I I I เท่ากับ 0.74mA 0.11mA 0.63 mA ตามลำดับ ซึ่งค่าจากการทดลอง I I I คลาดเคลื่อนอยู่ 1.35 t9.09 %0 % ตามลำดับ
1 2 3 1 2 3

จากการทดลองทั้ง4ตอน ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากการประมาณค่า การวัด ของผู้ทำการทดลองเอง หรือ อุปกรณ์ที่ใช้


ในการทดลองเริ่มเสื่อมสภาพ เช่น ตัวต้านทานที่เป็นหัวใจหลักของการทดลองทั้ง4ตอน ทั้ง4การทดลอง ผู้ทำการทดลองได้นำทักษะและ
ความรู้มาใช้ในการทดลอง ซึ่งการทดลองมีการคำนวณแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าแตกต่างกันออกไป ทำให้ผู้ทำการลองรู้และเข้าใจ
กฎของเคอร์ชอฟฟ์ (KVL / KCL )และหลักการแบ่งแรงดันและกระแสมากขึ้น

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 25

You might also like