You are on page 1of 175

เอกสารประกอบการเรียน วิชา

คณิตศาสตร์
COMPLEX NUMBER
เอกสารประกอบการเรียน วิชา คณิตศาสตร์
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : จำ�นวนเชิงซ้อน
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4590111603901*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ วิชา คณิตศาสตร์
จำ�นวนเชิงซ้อน
เรื่อง หน้า
เริ่มเรื่อง 1
Assignment 1 12
เข้าสู่จำ�นวนเชิงซ้อน 22
Assignment 2 31
พื้นฐานของจำ�นวนเชิงซ้อน 39
Assignment 3 45
สังยุค(Conjugate) ของจำ�นวนเชิงซ้อน 48
Assignment 4 61
ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเชิงซ้อน 69
Assignment 5 92
กราฟของค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเชิงซ้อน 104
Assignment 6 116
รากที่สองของจำ�นวนเชิงซ้อน 124
รากที่สามของจำ�นวนเชิงซ้อน 129
Assignment 7 136
จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 146
การเท่ากัน สังยุค ตัวผกผันการบวก ตัวผกผันการคูณ
ของจำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 151
การคูณ การหาร จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
และทฤษฎีบทของเดอมัวร์ 152
Assignment 8 169
การหารากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน 179
ข้อควรรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมการ
ที่อยู่ในรูป Zn = a + bi 194
Assignment 9 202
สมการพหุนาม 207
สูตรของวีต 212
ทฤษฎีบทคู่คอนจุเกต 225
Assignment 10 230
จำ�นวนเชิงซ้อน
Complex Number
1. เริ่มเรื่อง

กำ�หนดให้สัญลักษณ์ i = –1
i2 = –1
i3 = i2 . i = (–1) i = – i
i4 = (i2)2 = (–1)2 = 1

EX. พิสูจน์
i21 = i20 . i1 = (i4)5 i = i
i22 = i20 . i2 = (i4)5 i2 = i2 = –1
i23 = i20 . i3 = (i4)5 i3 = i3 = –i
i24 = (i4)6 = 1

* SRUP *

1
PROBLEMS
1. จงหาค่าของ
1. i33 2. i122

3. i999 4. i1150

5. i7123456 6. i2485555

2. จงหาค่าของ
1. (–i)9 = 2. (–i)38

3. (–i)2539 4. (–i)2016

5. (–i)100 6. (–i)333

2
รวมขŒอสอบ PAT1 และ คณิต 1 สามัญ
เร�่อง จำนวนเช�งซŒอน
รวมข้อสอบ PAT 1 และ คณิต 1 สามัญ
เรื่อง จ�ำนวนเชิงซ้อน
1. ก�ำหนดให้ i2 = –1 ค่าของ i101 + i101! เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิต 1 สามัญ 61)
1. –2 2. 2 3. 1 + i 4. 1 – i 5. 2i

2. ก�ำหนดให้ i2 = –1 และ A = {1, 2, 3, 4}


ถ้า S = {(a, b, c) | ia + ib + ic = 1 และ a, b, c ∊ A}
แล้ว S มีจ�ำนวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิต 1 สามัญ 62)
1. 3 2. 4 3. 5 4. 7 5. 9

1
3.

4.

3
5.

6.

4
7. 22559 มีหลักหน่วยเป็นเลขใด
1. 2 2. 4 3. 8 4. 6

8. 32016 มีหลักหน่วยเป็นเลขใด
1. 3 2. 9 3. 7 4. 1

5
9.

10.

6
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
คณิตศาสตร์
PERMUTATION & COMBINATION
PROBABILITY
BINOMIAL THEOREM
เอกสารประกอบการเรียน วิชา คณิตศาสตร์
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่, ความน่าจะเป็น, ทฤษฎีบททวินาม
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4590111603703*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ วิชา คณิตศาสตร์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่,
ความน่าจะเป็น, ทฤษฎีบททวินาม
วีธีเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่
หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ 1
- หลักการคูณ 1
- หลักการบวก 1
- Assignment 1 15
แฟกทอเรียล (Factorial) 21
- Assignment 2 29
วิธีเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) 33
- วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด 50
- Assignment 3 64
- สัญลักษณ์เกี่ยวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู
่ 70
- การเรียงสับเปลี่ยนในแนวเส้นตรงโดยเลือกมาบางส่วน 78
วิธีจัดหมู่ (Combination) 79
- โจทย์เกี่ยวกับ Set 115
- เรื่องของ Function 127
- Assignment 4 137
วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 152
- Assignment 5 166
การแบ่งสิ่งของที่แตกต่างกันออกเป็นกลุ่มย่อย 173
การแบ่งสิ่งของที่เหมือนกันทั้งหมดออกเป็นกลุ่มย่อยๆ 183
- Assignment 6 187
ความน่าจะเป็น
- ความน่าจะเป็น (Probability) 192
- Assignment 7 246
ทฤษฎีบททวินาม
- ทฤษฎีบททวินาม 264
- Assignment 8 279
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่
(Permutation and Combination)

หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

1. หลักการคูณ

2. หลักการบวก

1
Problems

2
3
4
5
6
7
8
9
10
26. ต้องการสร้างจ�ำนวนสามหลักโดยที่มีตัวเลข 5 อย่างน้อย 1 หลัก แต่ไม่มีตัวเลข 7
ในหลักใดเลย มีจ�ำนวนวิธีสร้างจ�ำนวนสามหลักเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 57)
1. 128 2. 136 3. 153 4. 200

11
27.

28.

12
29.

30. ตู้นิรภัยมีรหัสเปิดตู้เป็นจ�ำนวน 10 หลัก คือ ABCDEFGHIJ โดยที่


(ก) A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, {0, 1, 2, ... , 9}
และ A, B, C, D, E, F, G, H, I, J เป็นจ�ำนวนที่แตกต่างกันทั้งหมด
(ข) A, B, C, D เป็นจ�ำนวนคี่ที่เรียงติดกัน และ A > B > C > D
(ค) E, F, G เป็นจ�ำนวนคู่ที่เรียงติดกัน และ E > F > G
(ง) H > I > J และ H + I + J = 15
ค่าของ C + F + I เท่ากับข้ดใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
1. 10 2. 13 3. 15 4. 17

13
31.

32.

14
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
PHYSICS
ELECTROSTATICS
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ฟิสิกส์
ระดับชั้น : ม.ปลาย กลุ่มไฟฟ้า
เรื่อง : ไฟฟ้าสถิต
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*2630122008945*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ วิชา ฟิสิกส์
เรื่อง หน้า
PART A : ธรรมชาติสายฟ้าสถิต
A1 อนุภาคมูลฐานและสภาพทางไฟฟ้า 1
A2 การกระจายตัวของประจุ 2
A3 การทำ�ให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีประจุไฟฟ้า 3
A4 การตรวจสอบประจุไฟฟ้า 6
PART B : กฎของคูลอมบ์
B กฎของคูลอมบ์ 18
PART C : สนามไฟฟ้า
C1 สนามไฟฟ้าของจุดประจุ 31
C2 สนามไฟฟ้าของระบบประจุ 33
C3 เส้นสนามไฟฟ้า 42
C4 แรงกระทำ�ต่ออนุภาคที่มีประจุในสนามไฟฟ้า 50
PART D : ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์
D1 สนามโน้มถ่วง VS สนามไฟฟ้า 60
D2 ศักย์ไฟฟ้า 61
D3 งานและความต่างศักย์ 62
D4 ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ 63
PART E : แผ่นโลหะคู่ขนานและตัวนำ�ทรงกลม
E1 สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะคู่ขนาน 82
E2 งานในการเคลื่อนประจุในสนามไฟฟ้าสม่ำ�เสมอ 91
E3 สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าของตัวนำ�ทรงกลม 95
E4 กฎการอนุรักษ์พลังงานของประจุไฟฟ้า 111
E5 การหาประจุหลังแตะบนตัวนำ�ทรงกลม 116
สารบัญ วิชา ฟิสิกส์
เรื่อง หน้า
PART F : ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
F1 ความจุไฟฟ้า (Capacity) 122
F2 การต่อตัวเก็บประจุ 125
F3 พลังงานที่สะสมในตัวเก็บประจุ 137
โจทย์ทบทวนชิวๆ
A ธรรมชาติสายฟ้าสถิต 140
Solution A 142
B กฎของคูลอมบ์ 143
Solution B 145
C สนามไฟฟ้า 147
Solution C 156
D ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ 161
Solution D 168
E แผ่นโลหะคู่ขนานและตัวนำ�ทรงกลม 172
Solution E 184
F ตัวเก็บประจุ (Capacitor) 190
Solution F 195
ไฟฟ้าสถิต
(ELECTROSTATICS)
PART A : ธรรมชาติสายฟ้าสถิต

เบนจามิน แฟรงคลิน
พิสูจน์ว่า “มีประจุไฟฟ้าในเมฆ”
ฟ้าผ่า คือ การถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆกับพื้นโลก
น�ำไปสู่การสร้างสายล่อฟ้า

A 1 อนุภาคมูลฐานและสภาพทางไฟฟ้า
อนุภาค ประจุ (คูลอมบ์, C) มวล (kg)
NUCLEUS PROTON โปรตอน (p)
NEUTRON
ELECTRON อิเล็กตรอน (e)
นิวตรอน (n)
โปรตอน ถูกยึดอยู่ภายในนิวเคลียส ด้วย แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม
เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาค “เมซอน” ไป - มา ระหว่างโปรตอนและนิวตรอน
อิเล็กตรอน ถูกยึดอยู่ในอะตอม ด้วย แรงแม่เหล็กไฟฟ้า
อิเล็กตรอนแสดงสมบัติเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีวงโคจรรอบๆ นิวเคลียสของ
อะตอม ท�ำให้สามารถสร้างเป็นโมเลกุลชนิดต่างๆ ได้
เป็นกลางทางไฟฟ้า อ�ำนาจบวก อ�ำนาจลบ

ถ้าเอาประจุมาวางไว้ใกล้กันจะเกิด ................................

1
A 3 การท�ำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีประจุไฟฟ้า
มี 3 วิธีหลักๆ 1 การขัดสี 2 การแตะ 3 การเหนี่ยวน�ำ

1 การขัดสี

ฉนวน ประจุเคลื่อนที่ได้ยาก
เมื่อน�ำ วัตถุ 2 ชนิดมาขัดสีกัน จะเกิดความร้อนซึ่งถ่ายเทให้กับอิเล็กตรอน ท�ำให้อิเล็กตรอน
มีพลังงานเพียงพอในการหลุดจากที่นึงไปอีกที่นึง
A เสีย e A มีประจุเป็น บวก
e ประจุรวมมีค่าเท่าเดิม
B รับ e B มีประจุเป็น ลบ
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
A B
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
“ผลรวมของประจุก่อนการเปลี่ยนแปลงต้องเท่ากับผลรวมของประจุหลังการเปลี่ยนแปลง”

หลังจากขัดสี วัตถุทั้งสองจะมีประจุต่างชนิดกัน

ตารางล�ำดับของการขัดสี (Frictional order)


บอกค่าความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอน (สูญเสียอิเล็กตรอน) จากมากไปน้อย
+
4. ไนลอน 8. แท่งอ�ำพัน
1. แก้ว 5. ผ้าสักหลาด 9. พีวซี ี
2. เส้นผม 6. ผ้าไหม 10. เทฟลอน
3. เปอร์สเปกซ์ 7. ผ้าฝ้าย –
เลขน้อย เสียอิเล็กตรอน มีประจุบวก
เมื่อน�ำวัตถุมาถูขัดสีกัน
เลขมาก รับอิเล็กตรอน มีประจุลบ

3
2 การแตะ

น�ำวัตถุที่มีประจุมาแตะกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เกิดการถ่ายเทประจุจากวัตถุที่มี
ศักย์ไฟฟ้าสูง ไปยังวัตถุที่มศี ักย์ไฟฟ้าต�่ำ และจะหยุดถ่ายเทเมื่อวัตถุทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน

น�ำวัตถุที่มีประจุบวก (A) มาแตะกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า (B)


A B A B A B

น�ำวัตถุที่มีประจุลบ (A) มาแตะกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า (B)

A B A B A B

หลังการแตะ 1. วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีประจุชนิดเดียวกับวัตถุที่น�ำมาแตะ


2. ประจุรวมมีค่าเท่าเดิม

การหาประจุหลังแตะของตัวน�ำทรงกลม

Q1 = r1
Q1 Q2 Q1 +Q2 r1 +r2
r1 r2 Q = r
Q r Q2 = r2
1 2 Q1 +Q2 r1 +r2

4
3 การเหนี่ยวน�ำ
คือ การน�ำวัตถุที่มีประจุมาล่อไว้ใกล้ๆ กับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
STEP : เหนี่ยวน�ำ, ต่อกราวน์, ดึงกราวน์, ดึงเหนี่ยวน�ำ

ใช้ประจุบวกเหนี่ยวน�ำ ใช้ประจุลบเหนี่ยวน�ำ

กลาง กลาง

1 เหนี่ยวน�ำ 1 เหนี่ยวน�ำ

2 ต่อ Gnd 2 ต่อ Gnd

3 ดึง Gnd 3 ดึง Gnd

4 ดึงเหนี่ยวน�ำ 4 ดึงเหนี่ยวน�ำ

หลังการเหนี่ยวน�ำ วัตถุที่เป็นกลางจะมีประจุชนิดตรงข้าม กับตัวเหนี่ยวน�ำ

5
สรุปหลักการท�ำให้วัตถุที่เป็นกลางมีประจุ

1 การขัดสี 2 การแตะ 3 การเหนี่ยวน�ำ


หลังการขัดสี หลังการแตะ หลังการเหนี่ยวน�ำ
วัตถุทั้งสองจะมีประจุชนิด วัตถุทั้งสองจะมีประจุชนิด วัตถุทั้งสองจะมีประจุชนิด
.......................................... ......................................... .........................................

ประจุมีค่าเท่าเดิม กฏการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า

A4 การตรวจสอบประจุไฟฟ้า

ตรวจสอบโดยใช้
1 อิเล็กโทรสโคปลูกพิท
Electroscope ใช้หลักการเหนี่ยวน�ำ
2 อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ

อิเล็กโทรสโคปลูกพิท อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ
เส้นฉนวน ฉนวน แกนโลหะ
เม็ดโฟม
เคลือบผิวด้วย แผ่นโลหะบาง
โลหะบางๆ
กล่องฉนวน

การตรวจสอบประจุไฟฟ้า สามารถแบ่งแยกได้ 3 รูปแบบ ดังนี้


รูปแบบที่ 1 : ตรวจสอบ “มีประจุ / ไม่มีประจุ”
รูปแบบที่ 2 : ตรวจสอบชนิดประจุ “ประจุบวก / ประจุลบ”
รูปแบบที่ 3 : ตรวจสอบสภาพการน�ำไฟฟ้า “ตัวน�ำ / ฉนวน”

6
PART B : กฎของคูลอมบ์
ประจุที่วางไว้ใกล้ๆ กันจะมีแรงกระท�ำระหว่างกันซึ่งเป็นไปตามกฎของคูลอมบ์
F F
เหมือนกัน ..................... แรงที่เกิดขึ้นเป็นไปตาม
F F ต่างกัน .......................... กฎข้อที่ ........ ของนิวตัน

F F k q1q2
q1 q2 F=
r2
r
สภาพยอมของสุญญากาศ
k = 4p1e
o eo = 8.85 × 10–12 C2/N m2 •

k = 9 × 109 Nm2/C2
แรงระหว่างประจุเป็นปริมาณเวกเตอร์
ค�ำนวณต้องคิดทิศทาง “ไม่ต้องแทนเครื่องหมายประจุ”
ทบทวนการหาเวกเตอร์ลัพธ์
เวกเตอร์ย่อย ขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์
F1 F2
F2 F1

F1

F2
F1

F2
F2
F1

18
จงหาแรงทีก่ ระท�ำกับประจุทตี่ ำ� แหน่ง x

+Q1 +Q +Q2
x

–Q1 –Q –Q2
x

–Q1

+Q
–Q2 x

–Q1

–Q
–Q2 x

19
PROBLEMS

1. มีวัตถุ 4 ชิ้น คือ A B C และ D เมื่อน�ำวัตถุสองชิ้นเข้ามาใกล้กันเพื่อทดสอบความเป็น


ประจุไฟฟ้า พบว่า A กับ B ผลักกัน A กับ C ดูดกัน ส่วน D ดูดกับ B และ D ก็ดูดกับ C
ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ไม่ถูกต้อง (KKU.53)
1. A และ B มีประจุไฟฟ้า
2. A และ B มีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน
3. D หรือ C มีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกับ A
4. D หรือ C ตัวใดตัวหนึ่งมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกับ A

2. ประจุขนาด 2µC จ�ำนวน 3 จุดประจุวางเรียงกันบนเส้นตรงห่างกันช่วงละ 30 cm


จงหาขนาดและทิศของแรงที่กระท�ำต่อจุดประจุตรงจุดกึ่งกลาง เมื่อ
(ก) จุดประจุทั้งสามเป็นชนิดบวก
+2µC +2µC +2µC

(ข) จุดประจุที่ปลายทั้งสองข้างเป็นชนิดบวก และตรงจุดกึ่งกลาง เป็นชนิดลบ


+2µC –2µC +2µC

(ค) จุดประจุที่ปลายข้างหนึ่งเป็นชนิดลบ และตรงจุดกึ่งกลางกับปลายอีกข้างหนึ่ง


เป็นชนิดบวก
+2µC +2µC –2µC

20
3.
จากรูป อนุภาคมีประจุ +Q ออกแรงผลักกันมีขนาด F ถ้าเพิ่มประจุในอนุภาคแรกเป็น +4Q
ดังรูปถัดไป โดยมีระยะห่างระหว่างประจุเท่าเดิม อนุภาคแรกจะผลักอนุภาคที่สองด้วยแรง
ขนาดเท่าไร และอนุภาคที่สองจะผลักอนุภาคแรกด้วยแรงขนาดเท่าไร ตามล�ำดับ (KKU.56)
+Q +Q F 1. 4F และ F
F 2. 4F และ 4F
3. F และ F
+4Q +Q 4. F และ 4F

4. ประจุไฟฟ้า +2C, –1C, –2C และ +1C อยู่ที่จุด A, B, C และ D ตามล�ำดับ โดยมีขนาด
ของแรงที่กระท�ำระหว่างประจุ ดังรูป จงเรียงล�ำดับขนาดของแรงไฟฟ้าจากน้อยไปมาก
–F4

F3 –F3 1. F1, F2, F3 และ F4
A
B 2. F4, F1, F3 และ F2
F1 –F 2
3. F2, F3, F1 และ F4
1m
4. F2, F3, F4 และ F1
F2 –F1
D C
2m
F4

21
ประจุไฟฟ้า –3 × 10–4 C, +2 × 10–3 C และ +4 × 10–4 C วางอยู่ที่จุด A, B และ C ดังรูป
5.
จงหาว่า แรงกระท�ำที่มีต่อประจุ +2 × 10–3 C มีขนาดกี่นิวตัน
1. 6 × 102 N 2. 8 × 102 N
C
+4 x 10–4 C 3. 1 × 103 N 4. 1.4 × 103 N

3m
–3 x 10–4 C +2 x 10–3 C
A B
3m

6.
ที่แต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีจุดประจุไฟฟ้าขนาด +3q, +q และ –q
อยู่ที่จุด A, B และ C ตามล�ำดับ โดยระยะ AB = a และ ระยะ BC = 2a
ขนาดของแรงกระท�ำต่อประจุไฟฟ้าที่จุด B (CMU.55)
2 2
A 1. Kq2 2. 4Kq2
a a
2 2
3. 5Kq2 4. 7Kq2
a a
a

B a C
2

22
สรุป กรด - เบส

ทฤษฎีกรด-เบส

1. อาร์เรเนียส Arrhenius กรด-สารทีใ่ ห้ H+ เบส-สารทีใ่ ห้ OH−


2. Bronsted – Lowry กรด-สารทีใ่ ห้ H+ เบส-สารทีร่ บั H+
3. Lewis กรด-สารทีร่ บั คู่ e เบส-สารทีใ่ ห้คู่ e

(H+ = proton, H3O+ = hydronium ion)

นิ ยามกรด-เบส

สารละลายอิ เล็กโตรไลท์แก่
สารละลายทีแ่ ตกตัว 100% นาไฟฟ้ าได้ดไี ม่มคี ่า K กรดแก่
HCl, HBr, HI, HNO3, H2SO4, HClO3, HClO4 เบสแก่ หมู่ 1, 2

สารละลายอิ เล็กโตรไลท์อ่อน
สารละลายทีแ่ ตกตัวไม่ 100%, นาไฟฟ้ าได้บา้ ง มีค่าคงที่ K กรดอ่อน
HF, HCN, H2CO3, HNO2, H2SO3, H3PO3, H3PO4 etc. เบสอ่อน
หมู่ 3, โลหะทรานซิชนั , NH3 (NH4OH) etc.

ค่า K มาก, ความเป็ นกรดและเบส ของสารตัง้ ต้นมากกว่า ของผลิตภัณฑ์

เคมี ม.5 เทอม 2


เจือจาง มีน้ าอยู่มาก
เข้มข้น มีน้ าอยู่น้อย
คู่กรด-เบส สารทีม่ ี H มากกว่า ทาหน้าทีเ่ ป็ นกรด
สารทีม่ ี H น้อยกว่า ทาหน้าทีเ่ ป็ นเบส

CH3COOH + H2O  CH3COO− + H3O+


กรด เบส คู่เบส คู่กรด
NH3 + H2O  NH4+ + OH−
เบส กรด คู่กรด คูเ่ บส

การคานวณกรด-เบส
1. กรด-เบส

กรดแก่ [H+] = [HA] เบสแก่ [OH−] = [BOH]


กรดอ่อน [H+] = K a [HA] เบสอ่อน [OH−] = K b [BOH]

pH = - log [H+] pOH = - log [OH−] pH + pOH = 14

เคมี ม.5 เทอม 2


2. เกลือ

เกลือของกรดหรือเบสแก่ ไม่เกิดการไฮโดรไลซิส Kw = 1x10−14


Kw
เกลือของกรดอ่อน [OH-] = [salt ] = K h [salt ]
Ka
Kw
เกลือของเบสอ่อน [H+] = [salt ] = K h [salt ]
Kb

3. บัฟเฟอร์

สารละลายทีป่ ระกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน หรือ


เบสอ่อนและเกลือของเบสอ่อน บัฟเฟอร์มสี มบัตทิ ส่ี ามารถรักษาค่า pH
ให้คงที่ เมื่อเติมกรด หรือ เบสลงไปเพียงเล็กน้อย

K a [ HA ] [ A− ]
บัฟเฟอร์กรด [H+] = pH = pKa + log
[ A− ] [ HA ]
K b [ BOH ] [B + ]
บัฟเฟอร์เบส [OH−] = pOH = pKb + log
[B + ] [ BOH ]

เคมี ม.5 เทอม 2


การคานวณแบบผสมสารละลาย
1. การไทเทรต aCV = bCV
คานวณเรื่อง ถ้า ใครเหลือ ใครหมด ความเข้มข้นใหม่
เกลือ aCV = bCV กรดหมด aCV = bCV = CเกลือVใหม่
เบสหมด เกลือของกรดอ่อน
Kw
[OH−] = [salt ]
Ka
เกลือของเบสอ่อน
Kw
[H+] = [salt ]
Kb

2. การผสมสารละลาย
คานวณเรื่อง ถ้า ใครเหลือ ใครหมด ความเข้มข้นใหม่
กรด aCV > bCV เหลือกรดแก่ aCV – bCV = CกรดVใหม่
เบสหมด กรดแก่ [H+] = [HA]
เบส bCV > aCV เหลือเบสแก่ bCV – aCV = CเบสVใหม่
กรดหมด เบสแก่ [OH−] = [BOH]
บัฟเฟอร์กรด aCV > bCV เหลือกรดอ่อน aCV – bCV = CกรดVใหม่
เบสหมด bCV = CเกลือVใหม่
[ A− ]
เกิดเกลือกรดอ่อน pH = pKa + log
[ HA ]
บัฟเฟอร์เบส bCV > aCV เหลือเบสอ่อน bCV – aCV = CเบสVใหม่
กรดหมด aCV = CเกลือVใหม่
เกิดเกลือเบสอ่อน [𝐵+ ]
pOH = pKb + log [𝐵𝑂𝐻]

เคมี ม.5 เทอม 2


การทาปฏิกริ ยิ าพอดีกนั ระหว่างกรด
ปฏิ กิริยาสะเทิ น (neutralization) และเบส
การหาความเข้มข้นของกรดหรือเบส
การไทเทรต (Titration) โดยการทาปฏิกริ ยิ าสะเทินกับเบสหรือ
กรด
จุดทีก่ รดและเบสทาปฏิกริ ยิ าพอดีกนั
จุดสมมูล (Equivalent point) (เป็ นจุดทีต่ อ้ งการในการทาการไทเทรต
แต่ไม่สามารถสังเกตได้)
จุดทีห่ ยุดการไทเทรต โดยอาศัยการ
จุดยุติ (End point) เปลีย่ นสีของอินดิเคเตอร์
กรดอ่อนทีม่ สี แี ตกต่างกันในสภาวะกรด
อิ นดิ เคเตอร์ (Indicator) และในสภาวะเบส

การเลือกอิ นดิ เคเตอร์

ฤทธิ์ ของเกลือ

เคมี ม.5 เทอม 2


กรด – เบส 1

1. กรด - เบส

าม
นิ ยาม

1. อาร์เรเนี ยส (Arrhenius)

กรด = ..........................................
1H
= 1p, 1e, 0n
....................................... 1
H+
= 1p, 0e, 0n
เบส = ...................................
H+ + H2O = H3O+ Hydronium ion
.........................................

แต่ NH3 มีฤทธิเป็


์ นเบส โดยไม่มี OH¯ ทฤษฎีน้จี งึ ไม่สามารถอธิบาย
ความเป็ นเบสของ NH3 ได้

2. เบริ นสเตด-ลาวรี (Bronsted-Lowry)

กรด = .......................................................................

เบส = ......................................................................

เคมี ม.5 เทอม 2


เช่น
H+
NaOH Na+ + OH¯ H 2O
+
H+
NH3 NH4
(ammonium Salt)
+

H
+

มีทงั ้ พันธะโคเวเลนต์, โคออร์ดเิ นตโคเวเลนต์, และพันธะไอออนิก แต่ ไม่สามารถ


อธิบายความเป็ นกรดของ BF3 ได้

เคมี ม.5 เทอม 2


3. ลิ วอิ ส (Lewis)
กรด = สารทีร่ บั คู่ e¯
เบส = สารทีใ่ ห้ทค่ี ู่ e¯
ใช้อธิบายความเป็ นเบสของ NH3
ใช้อธิบายความเป็ นกรดของ BF3
เบส กรด +

H H
+

ขาดออกเตท


H+

เคมี ม.5 เทอม 2


สรุป เคมีไฟฟ้ า 1

Reduction = รีดกั ชัน = รับ e = ลด เลขออกซิเดชัน = ถูกรีดวิ ซ์

= ตัวออกซิไดซ์ oxidizer = ทาหน้าทีอ่ อกซิไดซ์

Oxidation = ออกซิเดชัน = ออก e = เพิ่ ม เลขออกซิเดชัน = ถูกออกซิไดซ์

= ตัวรีดวิ ซ์ reducer = ทาหน้าทีร่ ดี วิ ซ์

การดุลสมการ

1. ดุลรีดอกซ์
2. ดุลกรด-เบส
(ให้แยกคิดเป็ น 2 สมการ แล้วนามารวมกันโดยต้องไม่มี e
เหลือในสมการรวม)
ดุลในกรด (เติ มได้เฉพาะ H2O และ H+)
ดุลธาตุทไ่ี ม่ใช่ O กับ H
ดุลธาตุ O กับ H
ถ้าต้องการ H ด้านไหน ให้เติม H+ ด้านนัน้
ถ้าต้องการเติม O ด้านไหน ให้เติม H2O ด้านนัน้ และ 2H+ ด้านตรงข้าม
ดุลประจุ โดยการเติม e

เคมี ม.5 เทอม 2


ดุลในเบส (เติ มได้เฉพาะ H2O และ OH−)
ดุลธาตุทไ่ี ม่ใช่ O กับ H
ดุลธาตุ O กับ H
ถ้าต้องการ H ด้านไหน ให้เติม H2O ด้านนัน้ และ OH− ด้านตรงข้าม
ถ้าต้องการเติม O ด้านไหนให้เติม 2 OH− ด้านนัน้ และ H2O
ด้านตรงข้าม
ดุลประจุ โดยการเติม e

▪ เซลล์กลั วานิ ก Galvanic cell

E0cell = E0มาก - E0น้อย (ถ้า E0 ทัง้ สองเขียนในแบบรีดกั ชัน)


E0cell = E0reduction + E0oxidation

แผนภาพเซลล์
โลหะ(s) / แก๊ส(g) / สารละลาย(aq) // สารละลาย(aq) / แก๊ส(g) / โลหะ(s)
Oxidation Reduction
แท่งโลหะ ทีจ่ ุ่มในสารละลาย แล้วเกิดปฏิกริ ยิ าได้ = E สารละลาย > E0 โลหะ
0

ภาชนะทีใ่ ช้บรรจุสารละลาย ควรต้องมีค่า E0 โลหะ > E0 สารละลาย

เคมี ม.5 เทอม 2


▪ เซลล์อิเล็กโตรลิ ติก Electrolytic cell

เซลล์กลั วานิ ก Galvanic cell เซลล์อิเล็กโตรลิ ติก Electrolytic cell
ความแตกต่าง
E0 + E0 –
สามารเกิดขึน้ ได้เอง เกิดไม่ได้เอง ต้องใส่ค่าความต่าง
เปลีย่ นปฏิกริ ยิ าเคมี เป็ นไฟฟ้ า ศักย์ไฟฟ้ า
Anode = ขัว้ ลบ Cathode = ขัว้ บวก เปลีย่ นไฟฟ้ า เป็ นปฏิกริ ยิ าเคมี
2 ภาชนะ พร้อมสะพานเกลือ Anode = ขัว้ บวก Cathode = ขัว้ ลบ
1 ภาชนะ
ความเหมือน
Anode = Oxidation
Cathode = Reduction Anode = Oxidation
e วิง่ จาก Anode ไป Cathode Cathode = Reduction
เข็มเบนทิศทางเดียวกันกับ e
เข็มเบนทิศทางตรงกันข้ามกับ
กระแสไฟฟ้ า

ค่า E0 ทีค่ วรท่องจา


Ag+ > Cu2+ > H+ > Pb2+ > Sn2+ > Ni2+ > Fe2+ > Cr3+ > Zn2+ > Mg2+
เงิน ทอง(แดง) (ตะ)กัว ดีบุก นี้ เ(ห)ล็ก โค(ต)ร สังกะสี มากๆ

2 H2O(l) + 2e ⇌ H2(g) + 2 OH−(aq) E0 = -0.83


½ O2(g) + 2 H+(aq) + 2e ⇌ H2O(l) E0 = 1.23

เคมี ม.5 เทอม 2


การคานวณค่า E0

1. สมการบวกกัน ค่า E0 บวกกัน


2. สมการลบกัน ค่า E0 ลบกัน
3. คูณหรือหารเลขใดๆตลอดสมการ ค่า E0 คงเดิม
4. กลับสมการ ค่า E0 กลับเครือ่ งหมาย

เคมี ม.5 เทอม 2


เคมีไฟฟ้ า 1

เคมีไฟฟ้ า (Electrochemistry)

1. Galvanic cell ปฎิ กิริยาเคมี → ไฟฟ้ า


2. Electrolytic cell ไฟฟ้ า → ปฎิ กิริยาเคมี

เลขออกซิ เดชัน (Oxidation number)


ตัวเลขทีแ่ สดงการเปรียบเทียบว่าได้หรือเสีย e− (ไม่ใช่ประจุ)
โดยปกติเขียนเหนือสัญลักษณ์ธาตุ เช่น +4CO-22
เครื่องหมาย ก่อนตัวเลข
ประจุ (Charge)
การเสียหรือได้ e− เกิดเป็ นประจุหรือไอออน
โดยปกติเขียนหัวมุมบนขวาของสัญลักษณ์ธาตุ
เช่น Na+ CI− ตัวเลขก่อน เครื่องหมาย
Mg2+ O2−

หมายเหตุ
1. หมู่ 1 2 3 4 5 6 7 8
เลขออกซิเดชัน +1 +2 +3 -4 -3 -2 -1 0

+4 +5 +6 +7 +8

โลหะ อโลหะ มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า

2. ธาตุจะมี Oxidation number เป็ นศูนย์


0 0 0 0 0
เช่น Na , H2 , He , O2 , O3

เคมี ม.5 เทอม 2


3. F มีค่า EN สูงสุด
จะมีเลขออกซิเดชัน -1
4. O มีค่า EN สูง
มีเลขออกซิเดชัน -2 เรียก oxide
มีเลขออกซิเดชัน -1 เรียก peroxide
มีเลขออกซิเดชัน -0.5 เรียก superoxide
เช่น Na2O Sodium oxide
H2O2 Hydrogen peroxide
NaO2 Sodium superoxide

5. H มีเลขออกซิเดชัน +1 เมื่ออยู่กบั อโลหะ


มีเลขออกซิเดชัน -1 เมื่ออยู่กบั โลหะ
เช่น Li H = แบตมือถือ
HF
NH3

6. โลหะทรานซิชนั มี Oxidation number หลายค่าและสีของสารประกอบ


เปลีย่ นตามเลขออกซิเดชัน
เช่น เขียว ฟ้ า ส้ม ม่วง
Cu+ Cu2+
Fe2+ Fe3+
Cr3+ Cr2+ Cr6+
Mn7+

7. สารประกอบบางชนิด มี Oxidation number เป็ นศูนย์


เช่น NH3 = ammine
H2O = aqua อยู่ใน “สารประกอบเชิงซ้อน”
CO = carbonyl

เคมี ม.5 เทอม 2


เซลล์อิเล็กโตรลิ ติก (Electrolytic cell)

................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

เช่น การแยกน้าด้วยไฟฟ้ า (Hydrolysis)

.................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................

เช่น ในการทา Hydrolysis ของสารละลาย Na2SO4 ต้องใส่ศกั ย์ไฟฟ้ า

เข้าไปเท่าใด และเกิดแก๊สใดทีข่ วั ้ ใด

กาหนด Na+ + e¯ → Na(s) E0 = -2.71 v


1
S2O82¯ + e¯ → SO42¯ E0 = 2.01 v
2
1
O2 + 2H+ + 2e¯ → H2O E0 = 1.23 v
2

2 H2O + 2e¯ → 2 OH¯ + H2 E0 = -0.83 v

เคมี ม.5 เทอม 2


................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

เคมี ม.5 เทอม 2


เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ชีววิทยา ม.ปลาย
DIGESTIVE SYSTEM
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ชีววิทยา
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ระบบย่อยอาหาร
เจ้าของลิขสิทธิ์ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด

*1650142030621*

พิมพ์ที่ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด เท่านั้น
สารบัญ วิชา ชีววิทยา
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 พื้นฐานการย่อยอาหาร 1
1.1 หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร 4
1.2 รูปแบบการกินอาหาร (Feeding Mechanism) 5
1.3 ประเภทของการย่อยอาหาร 6
1.4 รูปแบบการย่อย 7

บทที่ 2 การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตต่างๆ 9
2.1 การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 9
2.2 การย่อยอาหารของโปรโตซัว 11
2.3 การย่อยอาหารของสัตว์ต่างๆ 13
2.4 สัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ 17
2.5 สัตว์ที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ 22
2.6 การปรับตัวทางวิวัฒนาการของทางเดินอาหารสัตว 29
แบบฝึกหัด เรื่อง การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตต่างๆ 38

บทที่ 3 ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 49
3.1 การย่อยอาหารในปาก (Mouth) 52
3.2 อาหารในคอหอย (pharynx) 55
3.3 อาหารในหลอดอาหาร (Esophagus) 56
3.4 การย่อยอาหารในกระเพาะ (Stomach) 57
3.5 การย่อยอาหารในลำ�ไส้เล็ก (Small intestine) 63
3.6 การย่อยอาหารในลำ�ไส้ ใหญ่ (Large intestine) 73

บทที่ 4 การดูดซึมอาหารในทางเดินอาหารของคน 77
4.1 บริเวณต่างๆ ในทางเดินอาหารที่เกิดการดูดซึม 77
4.2 การดูดซึมสารอาหารผ่านผนังลำ�ไส้เล็ก 78
สารบัญ วิชา ชีววิทยา
เรื่อง หน้า
บทที่ 5 การควบคุมการทำ�งานของระบบทางเดินอาหาร 85
5.1 ฮอร์โมนท่ีควบคุมการหล่ังนน้ำ�ย่อย 85
5.2 ฮอร์โมนที่กระตุ้นความอยากกิน 86
5.3 ฮอร์โมนที่ควบคุมปริมาณน้ำ�ตาลในกระแสเลือด 89

บทที่ 6 โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร 91
6.1 โรคดีซ่าน (Jaundice) 91
6.2 โรคนิ่วถุงน้ำ�ดี (Gallstone) 91
6.3 ท้องเสีย 92
6.4 ท้องผูก 92
6.5 กระเพาะอาหารอักเสบ (gastritis) 93
6.6 โรคกรดไหลย้อน (GERD) 94
แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 95
1.3 ประเภทของการย่อยอาหาร
บทที่ 1

การย่อยเชิงกล (mechanical digestion)


เป็นกระบวนการที่ท�ำให้อาหารชิ้นเล็กลง ซึ่งจะท�ำให้พื้นที่ผิวเพิ่มขึ้น
โดยยังไม่เปลี่ยนโครงสร้างของโมเลกุล แต่จะส่งผลให้อัตราการย่อยเชิงเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
การย่อยเชิงกลได้แก่
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

การย่อยเชิงเคมี (chemical digestion)


เป็นการท�ำให้โมเลกุลของสารอาหารเปลี่ยนแปลง เป็นสารที่มีโมเลกุลเล็กลง
ท�ำงานโดยอาศัยเอนไซม์ (enzyme) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
เอนไซม์ เป็นสารอินทรีย์ประเภท ............................................................
ซึ่งสิ่งมีชีวิตสร้างขึ้น ท�ำหน้าที่ในการกระตุ้นปฏิกิริยาเคมี

6
1.4 รูปแบบการย่อย

บทที่ 1
ย่อยภายนอกเซลล์
พบในแบคทีเรีย, เชื้อรา, Cnidaria, Flatworm, สัตว์ชั้นสูงที่มีทางเดินอาหาร
โดยจะหลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ ย่อยโมเลกุลอาหารให้เล็กลง แล้วดูดซึมเข้าสู่เซลล์
ต้องใช้ออร์แกเนลต่างๆ ได้แก่
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................

7
ย่อยภายในเซลล์
พบในโปรโตซัว, ฟองน�้ำ, Cnidaria, Flatworm
บทที่ 1

เซลล์จะเขมือบอาหารเข้ามาในเซลล์ แล้วเก็บไว้ใน .............................................


ย่อยโดยใช้เอนไซม์ที่เก็บอยู่ในถุง ................................................................

(1) .....................................................................................................
(2) .....................................................................................................
(3) .....................................................................................................
(4) .....................................................................................................
(5) .....................................................................................................
(6) .....................................................................................................
(7) .....................................................................................................

8
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ชีววิทยา ม.ปลาย
GAS EXCHANGE SYSTEM OF ANIMALS
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ชีววิทยา
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์
เจ้าของลิขสิทธิ์ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด

*1650142081121*

พิมพ์ที่ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด เท่านั้น
สารบัญ วิชา ชีววิทยา
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 พื้นฐานของระบบแลกเปลี่ยนแก๊ส 1
1.1 หน้าที่ของระบบแลกเปลี่ยนแก๊ส 1
1.2 ความดันย่อยของแก๊ส 3
1.3 ตัวกลางในการแลกเปลี่ยนแก๊ส 6
1.4 พื้นผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส 8
1.5 รงควัตถุในกระแสเลือด (Respiratory pigment) 10
1.6 การวัดอัตราการหายใจในสัตว์ 12

บทที่ 2 ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตในน้ำ� 15
2.1 สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีระบบแลกเปลี่ยนแก๊ส 15
2.2 ทาก, หอย และ หมึก 18
2.3 แม่เพรียง (nereis) 20
2.4 กุ้ง และปู 21
2.5 ดาวทะเล 22
2.6 ปลิงทะเล 22
2.7 ปลา 23
2.8 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในน้ำ� 25

บทที่ 3 ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์บก 29
3.1 ไส้เดือนดิน (Earth worm) 29
3.2 แมงมุม (Spider) 30
3.3 แมลง (Insect) 31
3.4 กิ้งกือ (Diplopoda) และตะขาบ (Chilopoda) 34
3.5 สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก (Amphibians) 35
3.6 สัตว์เลื้อยคลาน (Reptile) 37
3.7 สัตว์ปีก (Aves) 38

แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ต่างๆ 41


สารบัญ วิชา ชีววิทยา
เรื่อง หน้า
บทที่ 4 ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 55
4.1 ทางเดินหายใจของคน 55
4.2 การควบคุมการหายใจเข้า – ออก 61

แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบแลกเปลี่ยนแก๊สของคนๆ 65

บทที่ 5 กลไกการแลกเปลี่ยนแก๊สในทางเดินหายใจ 71
5.1 การแลกเปลี่ยนแก๊สในถุงลม 71
5.2 การลำ�เลียงแก๊สในระบบลำ�เลียง 73
5.3 ศูนย์ควบคุมการสูดลมหายใจ 78
5.4 ปรากฏการณ์เกี่ยวกับทางเดินหายใจ 81

แบบฝึกหัด เรื่อง กลไกการแลกเปลี่ยนแก๊สในทางเดินหายใจ 85


1.4 พื้นผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
บทที่ 1

บริเวณที่เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory surface)


จะมีลักษณะเป็นพื้นผิว …………………………………………….…

การขนส่งโมเลกุลแก๊ส O2 และ CO2 ผ่านพื้นผิว


จะอาศัยกลไก .................................................................

อัตราเร็วในการแพร่ของแก๊ส ขึ้นอยู่กับ
พื้นที่ผิว (surface area) และ ระยะทางในการขนส่ง (distance)
อัตราการแลกเปลี่ยนแก๊สจะเกิดเร็ว เมื่อ
พื้นที่ผิว ..............................
ระยะทางในการขนส่ง ..............................

สิ่งมีชีวิตในน�้ำบางกลุ่ม เซลล์ทุกๆ เซลล์จะอยู่ใกล้กับสิ่งแวดล้อมภายนอก ท�ำให้สามารถ


แลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้โดยตรง โดยไม่ต้องมีอวัยวะ
ช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส เช่น
Sponges ………………………………………………………………
Cnidarian ………………………………………………………………
Flatworm ………………………………………………………………

8
ส่วนสัตว์ทเ่ี ซลล์ ไม่สมั ผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอกโดยตรง จะต้องอาศัยอวัยวะช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส
(respiratory organ) เพื่อส่งโมเลกุลแก๊ส O2 เข้าสู่ระบบเลือด
โดยพื้นผิวของอวัยวะแลกเปลี่ยนจะต้องมี epithelium ที่บาง และชุ่มชื้น

บทที่ 1
อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ต่างๆ เช่น เหงือก, ท่อลม, ปอด จะมีการปรับตัวให้มีพื้นที่ผิว
มากขึ้นในปริมาตรที่จ�ำกัด โดยการ
มีการพับไปพับมา (folded)
มีการแตกแขนง (branched)

9
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ชีววิทยา ม.ปลาย
EXCRETION AND HOMEOSTASIS OF ANIMALS
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ชีววิทยา
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ระบบขับถ่าย และการรักษาดุลยภาพของสัตว์
เจ้าของลิขสิทธิ์ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด

*1650142087246*

พิมพ์ที่ : บริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัท วี บาย เดอะ เบรน จำ�กัด เท่านั้น
สารบัญ วิชา ชีววิทยา
เรื่อง หน้า
ระบบขับถ่าย และการรักษาสมดุล

1. ของเสียในร่างกาย 1
2. อวัยวะที่ใช้ ในการขับของเสียในสัตว์ 6
3. ระบบขับถ่ายของมนุษย์ 13
4. การรักษาดุลยภาพด้านต่าง ๆ 24
5. ความผิดปกติของระบบขับถ่าย 38

แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบขับถ่าย และการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 43


ระบบขับถ่าย และการรักษาสมดุล
1. ของเสียในร่างกาย

a. สมดุลของสารภายในร่างกาย

Osmolarity = ความเข้มข้นของสารละลายที่ท�ำให้เกิดแรงดันออสโมติก
ความเข้มข้นสารมาก -> osmolarity สูง
น�้ำไหลจากที่ที่ osmolarity ต�่ำ -> สูง
สิ่งมีชีวิตเป็นได้ 2 กรณีคือ
Osmoregulator = ความพยายามควบคุมความเข้มข้นในเซลล์ให้คงที่สม�่ำเสมอ
(สัตว์ที่มีระบบขับถ่ายชัดเจน)
Osmoconformer = ปล่อยให้ความเข้มข้นในเซลล์เท่ากับสภาพแวดล้อม
(สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลังในน�้ำ)

1
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาอังกฤษ
Grammar Power-Up
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาอังกฤษ
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : Grammar Power-Up
สร้างสรรค์ และเรียบเรียงโดย : ดร.สมิตา หมวดทอง
เกียรตินิยมอันดับ 1 คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทุน ก.พ. และทุนรัฐบาลอังกฤษ
ที่ปรึกษาวิชาการ : อ.ไพโรจน์ คุณานุปถัมภ์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ)
(เกรดเฉลี่ย 4.00) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*2630162080952*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ วิชา ภาษาอังกฤษ
เรื่อง หน้า
ภาพรวมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 1
Tense 21
Passive Voice 51
Have Something Done 67
If Clause 73
Infinitive and Gerund 83
กริยาช่วยที่ใช้บ่อย 91
Adjective และ Adverb 101
การเปรียบเทียบ 149
Relative Clause 159
Subjunctive 183
คำ�นาม 189
Subject-Verb Agreement 203
Inversion 211
Tense
ข้อสอบออกอะไรบ้างเรื่อง Tense
The boy claimed that the pencil box belonged to him, but soon everybody found out
that he ______. (O-NET 53)
1. is lying
2. tells a lie
3. has told a lie
4. had told a lie
5. has been lying

Over (1) the last few decades, the drug problem in many (2) industrialized countries
(3) have become (4) considerably worse. (GAT 57)

21
Passive Voice
passive voice หมายถึงประโยคถูกกระท�ำทีเ่ อากรรมวางขึ้นหน้าประโยค ตัวอย่างเช่น รหัสผ่านถูกเปลี่ยน
สาเหตุที่เราน�ำกรรมขึ้นมาวางไว้ด้านหน้าเพราะให้ความส�ำคัญกับกรรมมากกว่า ในกรณีนี้เราไม่สนใจ
ว่าใครเป็นคนเปลี่ยนรหัสผ่าน แต่สนใจว่าที่ตัวรหัสผ่านซึ่งได้ถูกเปลี่ยนมากกว่า

เราเรียกประโยคถูกกระท�ำในลักษณะนี้ว่า passive voice ใช้ verb to be บวกกริยาช่องที่ 3

Tense Passive
1. Present is, am , are + v.3
Reports are written every week.

2. Past was, were + v.3


Reports were submitted a few minutes ago.

3. Future will be + v.3


The broken chair will be fixed tomorrow.

4. Present Continuous is, am, are being + v.3


The apple is being eaten by Somchai.

51
Tense Passive
5. Present Perfect has, have been + v.3
She has been quarantined for several months.

6. Past Continuous was, were being + v.3


While the water was being heated, he came in.

7. Past Perfect had been + v. 3


My watch had been stolen before I went home.

8. Future Continuous will be being + v.3


The room will be being cleaned at this time tomorrow.

9. Future Perfect will have been + v.3


By next Friday, the letter will have been received.

52
สูตรเขียน Passive Voice ให้จำ�ได้ตลอดชีวิต

ตัวอย่าง
passive voice ของ 5 tense หลักๆ
present tense แสดงถึงความเป็นปกติวิสยั เช่น รหัสผ่านถูกเปลี่ยนเป็นปกติทกุ ๆ หกเดือนหรือหนึง่ ปี
จะใช้ verb to be คือ is, am, are บวกกริยาช่องทีส่ าม ประโยคนีม้ ปี ระธานคือรหัสผ่าน ซึง่ เป็นเอกพจน์
จึงเลือกใช้ verb to be คือ is ได้เป็น The password is changed.

past tense รหัสผ่านถูกเปลี่ยนไปแล้วในอดีต ได้เป็น The password was changed. เลือกใช้


verb to be คือ was, were รหัสผ่านเป็นประธานเอกพจน์ จึงเลือกใช้ was

future tense รหัสผ่านจะถูกเปลี่ยนในอนาคต เท่ากับ The password will be changed. ง่ายๆ


ก็คอื ต้องมีคำ� บอกเวลาวางไว้กอ่ น ในทีน่ จี้ ะใช้ will เพื่อบอกอนาคต ต่อด้วย passive (v.to be + v.3)

will _________ changed


The password + +
บอก tense v. to be กริยาช่องที่ 3

53
ตรงกลางเป็นต�ำแหน่งของ v. to be
v.to be มีหลายรูป เช่น is, am, are, was, were, be, been, being แต่รปู ที่ไปกับ will คือ be เนือ่ งจาก
will จะตามด้วยกริยาช่องที่ 1 ที่ไม่เปลี่ยนรูปหรือผัน (base form)
present perfect tense หมายถึงกริยาทีท่ ำ� ไปตัง้ แต่อดีตปัจจุบนั และจะท�ำต่อไปในอนาคต หรือ ท�ำแล้วจบ
แล้วแต่มีผลมาถึงปัจจุบัน ให้วาง the password เป็นประธาน ใส่ค�ำที่บอกถึงความเป็น perfect tense
ก่อนคือ has, have ในทีน่ ปี้ ระธานเป็นเอกพจน์ เลือกใช้ has แล้วจึงต่อด้วย verb to be และกริยาช่องที่ 3

has _________ changed


The password + +
บอก tense v. to be กริยาช่องที่ 3

ตรงกลางเลือกใช้ verb to be ที่เหมาะสมคือ been เนื่องจาก present perfect ต้องการ has, have
บวกด้วยกริยาช่องที่ 3 ซึ่งกริยาช่องที่ 3 ของ verb to be คือ been ได้ประโยค perfect passive คือ
The password has been changed.
สุดท้ายคือ present continuous tense รหัสผ่านก�ำลังถูกเปลี่ยน จะได้เป็น The password is being
changed. ภายใต้หลักการเดียวกันเราเลือก verb to be ทีเ่ หมาะสม คือ being
มาทบทวนกันโดยการเปลี่ยนประโยค active voice ทางด้านซ้ายให้เป็น passive voice ทางด้านขวา
อย่าแอบดูเฉลยนะคะ

Tense Active Voice Passive Voice


Present Mary sings a song. / ตัวอย่าง A song is sung by
Mary does not sing a song. Mary. / A song is not sung
by Mary. 1
Past Mary sang a song. /
Mary did not sing a song.
Future Mary will sing a song. /
Mary will not sing a song.
Present Perfect Mary has sung a song. /
Mary has not sung a song.
Present Continuous Mary is singing a song. /
Mary is not singing a song.
________________________________________
1 ใส่ by Mary ด้วยจะได้รู้ว่ากริยานั้นถูกท�ำโดยแมรี่ by แปลว่า โดย

54
เฉลย

Tense Active Voice Passive Voice


Present Mary sings a song. / A song is sung by her. / A
Mary does not sing a song. song is not sung by her.
Past Mary sang a song. / A song was sung by her. /
Mary did not sing a song. A song was not sung
by her.
Future Mary will sing a song. / A song will be sung by her. /
Mary will not sing a song. A song will not be sung
by her.
Present Perfect Mary has sung a song. / A song has been sung by
Mary has not sung a song. her. / A song has not been
sung by her.
Present Continuous Mary is singing a song. / A song is being sung by
Mary is not singing a song. her. / A song is not being
sung by her.
จะสังเกตว่า เรามีการใส่ by เพื่อให้รู้ว่าเพลงถูกร้องโดยใคร แต่เราจะไม่ใส่ by ถ้าไม่รู้ว่าผู้กระท�ำ
คือใคร หรือไม่สนใจผู้กระท�ำ ลองมาดูข่าวนี้กันค่ะ
Three soldiers were killed and one was seriously injured. (ทหารสามคนถูกฆ่า และหนึง่ คน
บาดเจ็บสาหัส) เราไม่รู้ว่าใครเป็นผู้ท�ำร้ายทหารเหล่านี้เลยละ by ไว้ ไม่นิยมใช้ Three soldiers
were killed and one was seriously injured by someone.

55
NOTE 1. Passive Voice ยังใช้ในโครงสร้างต่อไปนี้
It is said / thought / believed / reported / understood / known / expected /
considered that
ตัวอย่าง

It is said that females live longer than males.


Once it was believed that the world was flat.

2. กริยาบางตัวท�ำ Passive Voice ไม่ ได้จ้า กริยาเหล่านั้น คือ ______________


______________________________________________________________

3. เมื่อไรใช้ v. to be + v.3 เมื่อไรใช้ v.3 เฉยๆ

4. เมื่อไร passive เมื่อไร active


Effort ___________________ (require) determination and strength.
Effort ____________________ (require) as a major factor of success.
She _____________________ (quarantine) herself for several months.

56
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078223*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำาซ้ำา ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) ความแตกต่างระหว่างการสื่อสารของมนุษย์และสัตว์ ๑
๑.๑) จุดประสงค์ของการสื่อสาร ๑
๑.๒) วิธีการสื่อสาร ๑
๑.๓) สารที่สื่อ ๓
๑.๔) วิธีถ่ายทอดความสามารถในการสื่อสาร ๓
๒) ความหมายของ “ภาษา” ๖
๒.๑) ความหมายกว้าง ๖
๒.๒) ความหมายแคบ ๖
๓) ประเภทของภาษา ๙
๓.๑) วัจนภาษา ๙
๓.๒) อวัจนภาษา ๙
๔) พันธกิจของภาษา ๑๒
๔.๑) ภาษาช่วยธ�ารงสังคม ๑๒
๔.๒) ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล ๑๒
๔.๓) ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา ๑๓
๔.๔) ภาษาช่วยก�าหนดอนาคต ๑๓
๔.๕) ภาษาช่วยจรรโลงใจ ๑๔
เรื่อง หน้า
๕) วัฒนธรรมกับภาษา ๑๕
๕.๑) ความหมายของค�าว่า “วัฒนธรรม” ๑๕
๕.๒) ปัจจัยที่ช่วยก�าหนดความหลากหลายทางวัฒนธรรม ๑๖
๕.๓) ภาพสะท้อนวัฒนธรรมจากภาษา ๑๗
๖) ธรรมชาติของภาษา ๑๘
๖.๑) ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย ๑๘
๖.๒) หน่วยในภาษาประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น ๒๐
๖.๓) ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ๒๑
๖.๔) ภาษาต่าง ๆ มีทั้งลักษณะที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ๒๔
๗) ความรู้และข้อสังเกตเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษา ๒๙
๗.๑) ความเชื่อเกี่ยวกับก�าเนิดของภาษา ๒๙
๗.๒) ความสัมพันธ์ระหว่างเสียงกับความหมาย ๓๑
๗.๓) อิทธิพลของภาษาต่อมนุษย์ ๓๓
วิทยาประยุกต์ ๓๔
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๔๕
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�าแนวข้อสอบ ๔๖
๒ ความหมายของ “ภาษา”
เราอาจพิจารณาความหมายของค�าว่า “ภาษา” ได้ใน ๒ มิติ ได้แก่ ความหมาย
อย่างกว้างและความหมายอย่างแคบ

๒.๑) ความหมายอย่างกว้าง

การแสดงออกเพื่อสื่อความหมายโดยมีระบบกฎเกณฑ์ที่เข้าใจกันได้ระหว่าง
กับ เช่น ภาษาสัตว์ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษามือ เป็นต้น

๒.๒) ความหมายอย่างแคบ

เสียงที่ ใช้พูดอย่างมีระบบเพื่อสื่อความหมาย ผู้ใช้ภาษาจึงต้องเป็น


และสิง่ ทีใ่ ช้สอื่ ความหมายก็คอื ซึง่ มีใช้กอ่ นทีจ่ ะคิดสัญลักษณ์
หรือตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพูดนัน้

6
๖. การทีค่ นไทยออกเสียงเรียกน�า้ แข็งทีเ่ ป็นปุยว่า “หิมะ” คนญีป่ นุ่ ออกเสียงเรียก “ยุค”ิ
คนอังกฤษออกเสียงเรียก “สโนว์” แสดงถึงข้อสรุปธรรมชาติของภาษาข้อใด
ชัดเจนที่สุด
๑ ภาษาทุกภาษาที่ยังไม่ตายย่อมมีการเปลี่ยนแปลง
๒ ภาษาเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างเจ้าของภาษานัน้ ๆ
๓ หน่วยเล็ก ๆ ในภาษาประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นได้
๔ ความหมายในภาษามีจา� กัดแต่สามารถสร้างค�าหรือประโยคได้ไม่จ�ากัด

๗. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
๑ สัญลักษณ์ รูปภาพ ท่าทาง ที่มนุษย์ใช้ส่อื สารกัน จัดเป็นอวัจนภาษาได้
๒ ภาษาคอมพิวเตอร์หรือภาษาสัตว์ จัดเป็นภาษาในความหมายอย่างกว้างได้
๓ ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนเสียงพูดเป็นลักษณะธรรมชาติทที่ กุ ภาษามีรว่ มกัน
๔ ภาษาในความหมายอย่างแคบ หมายถึง เสียงพูดของมนุษย์ทใี่ ช้สอื่ สารอย่างมีระบบ

๘. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
๑ หน่วยเล็กทีส่ ดุ ของภาษา คือ หน่วยเสียง ประกอบกันเป็นหน่วยทีใ่ หญ่ขนึ้ ได้ไม่จา� กัด
๒ พยางค์ของทุกภาษาย่อมประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์
๓ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ หรือเสียงวรรณยุกต์ ที่อยู่ในแต่ละภาษามีจ�านวนไม่รู้จบ
๔ การที่นกแก้วหรือสัตว์อื่น ๆ พูดประโยคในภาษาใด ๆ ได้แสดงว่า สัตว์มีภาษา
อย่างมนุษย์

36
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
เสียงและอักษรแทนเสียง
ในภาษาไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : เสียงและอักษรแทนเสียงในภาษาไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078323*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำาซ้ำา ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) เสียงและอักษรแทนเสียงพยัญชนะ ๒
๑.๑) เสียงพยัญชนะต้น ๒
๑.๑.๑) เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว ๓
๑.๑.๒) เสียงพยัญชนะต้นควบกล�า้ ๔
๑.๑.๒.๑) เสียงพยัญชนะต้นควบกล�้าในระบบเสียง
ภาษาไทยแต่เดิม ๔
๑.๑.๒.๒) เสียงพยัญชนะต้นควบกล�้าที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่น ๕
๑.๒) เสียงพยัญชนะท้าย ๑๕
๒) เสียงและอักษรแทนเสียงสระ ๑๙
๒.๑) เสียงสระเดี่ยว ๑๙
๒.๒) เสียงสระประสม ๒๑
๓) เสียงและอักษรแทนเสียงวรรณยุกต์ ๒๖
๓.๑) วรรณยุกต์เสียงระดับ ๒๖
๓.๒) วรรณยุกต์เสียงเปลี่ยนระดับ ๒๖
วิทยาประยุกต์ ๒๙
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๔๐
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�าแนวข้อสอบ ๔๑
๓ เสียงและอักษรแทนเสียงวรรณยุกต์

เสียงวรรณยุกต์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ เสียง
มีบำงภำษำเท่ำนั้นที่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น ภำษำ ภำษำ ภำษำ
เสียงวรรณยุกต์ในภำษำไทยมำตรฐำน (ภำษำรำชกำร) มี เสียง
ทุกพยำงค์ในภำษำไทยล้วนมีเสียงวรรณยุกต์ เช่นค�ำว่ำ
สหัสรังสี มี พยำงค์ มีเสียงวรรณยุกต์ เสียง คือ
วิสุงคำมสีมำ มี พยำงค์ มีเสียงวรรณยุกต์ เสียง คือ
กำรผันเสียงวรรณยุกต์ อำจใช้น้วิ มือช่วยผันเสียงเพื่อควำมแม่นย�ำ ดังรูป

ค�า รูป เสียง


รัก
แม่
ฟ้า
หลวง

เสียงวรรณยุกต์ในภำษำไทยมำตรฐำนทัง้ ห้ำเสียง สำมำรถจัดกลุ่มได้เป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้

๓.๑) วรรณยุกต์เสียงระดับ

ได้แก่เสียง

๓.๒) วรรณยุกต์เสียงเปลี่ยนระดับ

ได้แก่เสียง

26
๑๕. ข้อใดปรากฏวรรณยุกต์เสียงจัตวา
๑ ชำยเฉกเท้ำหน้ำคช เคียงควำม เทียบแฮ
๒ กำโฉดชำติอันธพำล เบียนหมู่ นกนำ
๓ โทษตนเท่ำภูเขำ คิดปิด ไว้แฮ
๔ ปลูกผักหักยอดไม้ มำกิน กันฤๅ

๑๖. ข้อใดปรากฏพยางค์ท่มี ีวรรณยุกต์เสียงเปลี่ยนระดับมากที่สุด (นับทุกพยางค์)


๑ เมื่อคืนวำนนี้เธอไปชวนเพื่อนบ้ำน
๒ จึงจะเป็นที่รักของทุกคนอย่ำงเช่นเธอ
๓ ทุกคนต่ำงชื่นชมว่ำเธอสมควรได้รำงวัล
๔ ตัวฉันเองยังรู้สกึ ว่ำควรยื่นมือช่วยเหลือทุกคน

๑๗. ข้อใดไม่มเี สียงสระประสม


๑ ถึงแม้เขำจะพูดจำวกวนไม่ได้ควำม
๒ แต่ฉันก็ไม่รู้สกึ ว่ำถูกกวนประสำท
๓ ส่วนเธอคล้ำย ๆ กับพูดจำได้ควำมชัด
๔ ยิ่งท�ำให้ฉันปวดหัวมำกที่สุด

34
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
โครงสร้างพยางค์ ในภาษาไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : โครงสร้างพยางค์ในภาษาไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078423*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำาซ้ำา ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) ความหมายและการนับ “พยางค์” ๑
๑.๑) ความหมายของค�าว่า “พยางค์” ๑
๑.๒) การนับจ�านวนพยางค์ ๑
๒) พยางค์ปิด - พยางค์เปิด ๕
๓) พยางค์ค�าเป็น - พยางค์ค�าตาย ๗
๔) พยางค์ค�าครุ - พยางค์ค�าลหุ ๙
๕) หลักการวิเคราะห์โครงสร้างพยางค์โดยทั่วไป ๑๓
วิทยาประยุกต์ ๑๕
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๒๖
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�าแนวข้อสอบ ๒๗
๒ พยางค์ปิด – พยางค์เปิด

ประเภท โครงสร้างพยางค์ ตัวอย่างค�า


มีเสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด)
ได้ทุกมาตรา
พยางค์ปิด
ประสมเสียง อ�า ไอ ใอ เอา

ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย
พยางค์เปิด

พยางค์ท่ปี ระสมสระเสียงสั้น ไม่มเี สียงพยัญชนะท้าย อาจเป็น “พยางค์ปิด” ได้


ในกรณีที่เน้นเสียงหนักที่พยางค์นนั้ เช่น ฉันเห็นเขาจะจะ
พยางค์หรือค�าที่ประสมด้วยเสียง อ�า ไอ ใอ เอา ล้วนมีเสียงพยัญชนะท้าย ดังนี้
พยางค์หรือค�าที่ประสมด้วยเสียง “อ�า” มีเสียงพยัญชนะท้ายเสียง / /
เช่น ท�า จ�า ข�า คล�า้ ปล�้า คว�่า พร�า ฯลฯ
พยางค์หรือค�าที่ประสมด้วยเสียง “ไอ” มีเสียงพยัญชนะท้ายเสียง / /
เช่น ไฟ ไจ ไป ไพร ไขว้ ไพล่ ไหม้ ฯลฯ
พยางค์หรือค�าที่ประสมด้วยเสียง “ใอ” มีเสียงพยัญชนะท้ายเสียง / /
เช่น ใด ใหญ่ ใหม่ ใช้ ใส่ ใคร ใคร่ ฯลฯ
พยางค์หรือค�าที่ประสมด้วยเสียง “เอา” มีเสียงพยัญชนะท้ายเสียง / /
เช่น เบา เน่า เจ้า เผ้า เกล้า เท้า เศร้า ฯลฯ

5
ค�าแนะน� าเวลา “ท�าข้อเว้น”
ทบทวนเนือ้ หาตลอดทั้งบทให้เข้าใจก่อนลงมือท�า
จับเวลาและบันทึกไว้รายข้อ เทียบกับเวลาท�าต่อข้อ
ในข้อสอบสนามจริง
หากท�าผิด ต้องอ่านเฉลยให้เข้าใจ บันทึกเรื่องและความถี่
ที่ท�าผิดแล้วแก้ไขให้ถูกจุด

วิทยาประยุกต์
ค�าชีแ้ จง : เลือกค�าตอบที่ถูกต้องเหมาะสมเพียงข้อเดียว
๑. ทุกค�าในข้อใดมีทั้งพยางค์ปิดและพยางค์เปิด
๑ เหลวไหล รถบรรทุก
๒ ท�าเล เรือส�าเภา
๓ เนื้อคู่ เจ้าชีวิต
๔ เฝ้าไข้ ข้าแผ่นดิน

๒. ทุกค�าในข้อใดประกอบด้วยพยางค์ปิดและพยางค์เปิด
๑ เสียหน้า เสียใจ เสียชื่อ
๒ กินเจ กินแรง กินเมือง
๓ หน้าใส หน้าเสีย หน้าใหญ่
๔ ตัวกลาง ตัวเต็ง ตัวเปล่า

15
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
คำ� ความหมาย ชนิดและหน้าที่ของคำ�
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : คำ� ความหมาย ชนิดและหน้าที่ของคำ�
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078523*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) ความหมายและส่วนประกอบของ “ค�ำ” ๑
๒) การจ�ำแนกประเภททางความหมายของค�ำ ๔
๒.๑) ค�ำที่มคี วามหมายตรงตัวกับความหมายเชิงอุปมา ๕
๒.๒) ค�ำที่มคี วามหมายร่วมกัน ๗
๒.๓) ค�ำที่มีความหมายตรงข้ามกัน ๑๐
๒.๔) ค�ำที่มคี วามหมายครอบคลุมค�ำอื่น ๑๒
๓) ชนิดและหน้าที่ของค�ำในภาษาไทย ๑๓
๔) ค�ำพ้องในภาษาไทย ๒๘
๔.๑) ค�ำพ้องรูป ๒๘
๔.๒) ค�ำพ้องเสียง ๒๘
๔.๓) ค�ำพ้องรูปและพ้องเสียง ๒๘
๔.๔) ค�ำพ้องความหมาย ๒๘
เรื่อง หน้า
๕) ข้อควรค�ำนึงในการใช้ค�ำ ๓๖
๕.๑) ใช้ค�ำให้ตรงตามความหมายที่ต้องการจะสื่อ ๓๖
๕.๒) ระวังค�ำที่มีหลายความหมายซึ่งอาจท�ำให้เกิดความก�ำกวม ๓๗
๕.๓) ใช้ค�ำที่ระบุความหมายชัดเจนหรือใช้ส่วนขยายเพื่อจ�ำกัดความหมาย ๓๗
เฉพาะที่ต้องการ
๕.๔) ใช้ค�ำให้ตรงกับความนิยมและบริบท ๓๘
๕.๕) ใช้ค�ำให้เหมาะแก่ระดับภาษาหรือกาลเทศะและบุคคล ๔๐
๕.๖) ใช้ค�ำให้ถูกชนิดทางไวยากรณ์ ๔๐
๕.๗) ใช้ค�ำโดยค�ำนึงถึงแบบแผนการใช้ ๔๐
วิทยาประยุกต์ ๔๒
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๕๓
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๕๔
๕ ข้อควรค�ำนึงในการใช้ค�ำ

การใช้ค�ำให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงกับความต้องการหรือเกิดประสิทธิภาพ
ในการสื่อสาร ควรค�ำนึงถึงหลายประเด็น ที่ส�ำคัญมีดังนี้

๕.๑) ใช้ค�ำให้ตรงตามความหมายที่ต้องการจะสื่อ

ค�ำใด ๆ อาจมีทั้งความหมายตรงตามตัวหรือความหมายเชิงเปรียบเทียบ ความหมาย


นัยตรงหรือความหมายนัยประหวัด อาจต้องระมัดระวังในการสื่อสารเพื่อไม่ให้เกิด
ความเข้าใจผิดไปจากเจตนาเดิม เช่น
ข้อความ ตัวอย่างการแปลความหมาย
(๑) ในป่าและในโรงเรียนมีงซู งึ่ เป็นสัตว์ทมี่ พี ษิ
- ไม่ใช่แค่ในป่าเท่านัน้ ทีม่ งี พู ษิ (๒) ในป่ามีงูซึ่งเป็นสัตว์ที่มีพิษ ส่วนในโรงเรียนเรา
ในโรงเรียนเราก็มีเหมือนกัน มีคนที่เป็นเสมือนงูพิษ คือ พร้อมจะท�ำให้เรา
เดือดร้อน
(๑) ทีผ่ า่ นมา ผมเหน็ดเหนือ่ ย ตรากตร�ำ ท�ำงานมามาก
- ทีผ่ า่ นมานี้ ผมเหนือ่ ยมากแล้ว
(๒) ทีผ่ า่ นมา ผมทนเก็บความไม่พอใจ เอือมระอามามาก
(๑) เราควรตระเตรียมกระบวนการ ขัน้ ตอนในการท�ำงาน
- เราควรมีแผนสำ�หรับงานนี้
(๒) เราควรมีอุบายหรือเล่ห์กลที่แนบเนียนส�ำหรับงานนี้
(๑) ท�ำงานยุง่ มากจนมีอาการเวียนศีรษะ ตาลาย ใจหวิว
- วันนี้งานยุ่งมากจนเวียนหัว
(๒) ท�ำงานยุ่งมากจนรู้สกึ สับสน น่าร�ำคาญใจ
(๑) เขาเป็นผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันเสื่อมจากไวรัส HIV
- เขาเป็นเอดส์
(๒) เขาป่วยเป็นโรคร้ายแรงที่คนทั่วไปมักรังเกียจ

36
๒๕. ข้อใดใช้ค�ำถูกต้องตรงความหมาย
๑ ในที่สุดผมก็คดิ ตกว่าควรด�ำเนินการอย่างไรจึงจะเอาชนะบริษัทคู่แข่งได้
๒ ผมศึกษามาน้อยเลยคิดสั้น เข้าใจในสิ่งที่ท่านอธิบายช้ากว่าคนอื่น
๓ เธอคิดมากอย่างนี้ดีแล้วจะได้ตอบข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้
๔ ก่อนตัดสินใจท�ำอะไรต้องคิดเล็กคิดน้อยให้รอบคอบเสียก่อน

๒๖. ข้อใดใช้ค�ำถูกต้อง
๑ ฆาตกรหัวแข็งให้การปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา
๒ คุณป้าอุปการคุณฉันมาตลอดตัง้ แต่เด็กจนจบการศึกษา
๓ การลดความอ้วนให้ได้ผลดีต้องไม่กนิ จุบจิบตลอดวันอย่างนี้
๔ นักเรียนชอบซื้ออาหารร้านนี้เพราะขายถูกและแม่ค้ามีย้มิ แย้มที่น่ารัก

๒๗. ข้อใดใช้ค�ำถูกต้องตรงความหมาย
๑ ผมว่าคดีน้ียังมีอะไรน่าเคลือบแคลงอยู่อกี มาก
๒ พนักงานคนใหม่พมิ พ์หนังสือตกคลักไปหลายวรรค
๓ ระวังกระเป๋าให้ดี ๆ อย่าให้ใครยักยอกเอาไปซึ่งหน้าได้
๔ อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบบอกว่าตัวดีกว่าเพื่อน ๆ อยู่เรื่อย

51
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ประโยคในภาษาไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078723*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) ความหมายและส่วนประกอบของประโยค ๑
๒) ลักษณะพื้นฐานทั่วไปของประโยคในภาษาไทย ๖
๓) การจ�ำแนกชนิดของประโยคตามเกณฑ์ต่าง ๆ ๘
๓.๑) จ�ำแนกตามโครงสร้าง ๘
๓.๑.๑) ประโยคสามัญ (ประโยคพื้นฐาน) ๘
๓.๑.๒) ประโยคซ้อน ๙
๓.๑.๓) ประโยครวม ๑๒
๓.๒) จ�ำแนกตามเจตนาของผู้ส่งสาร ๑๘
๓.๒.๑) ประโยคเจตนาแจ้งให้ทราบ ๑๘
๓.๒.๒) ประโยคเจตนาถามให้ตอบ ๑๘
๓.๒.๓) ประโยคเจตนาบอกให้ท�ำ ๑๙
๓.๓) จ�ำแนกตามค�ำขึ้นต้นของประโยคว่าท�ำหน้าที่ใด ๒๑
๓.๓.๑) ประโยคประธาน ๒๑
๓.๓.๒) ประโยคกรรม ๒๑
๓.๓.๓) ประโยคกริยา ๒๒
เรื่อง หน้า
๔) หลักทั่วไปในการร้อยเรียงประโยค ๒๔
๔.๑) การเชื่อม ๒๔
๔.๒) การซ�้ำ ๒๕
๔.๓) การละ ๒๖
๔.๔) การแทน ๒๖
วิทยาประยุกต์ ๓๐
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๔๐
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๔๑
๑ ความหมายและส่วนประกอบของประโยค
ประโยค หมายถึง ข้อความที่สื่อสารได้เรื่องราวว่า เกิดอะไรหรืออะไรมีสภาพอย่างไร
เป็นหน่วยทางภาษาที่ประกอบด้วยค�ำค�ำเดียวหรือค�ำหลายค�ำที่ต้องมีความสัมพันธ์
ต่อกันอย่างใดอย่างหนึ่งทางไวยากรณ์
ประโยคประกอบด้วย “วลี” ซึ่งอาจเป็นค�ำค�ำเดียวหรือค�ำหลายค�ำก็ได้
ส่วนประกอบของประโยคโดยทั่วไปมักประกอบด้วย +
ภาคประธาน มี (ค�ำนามค�ำเดียวหรือค�ำนามกับค�ำอื่น ๆ)
เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ = ต้องมีค�ำนามอย่างน้อย ๑ ค�ำ ในนามวลีนนั้ ที่ท�ำหน้าที่
เป็นประธาน
ภาคแสดง มี (ค�ำกริยาค�ำเดียวหรือค�ำกริยากับค�ำอื่น ๆ)
เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ = ต้องมีค�ำกริยาอย่างน้อย ๑ ค�ำ ในกริยาวลีนั้นที่ท�ำหน้าที่
บอกอาการหรือบอกสภาพ
ตารางแสดงองค์ประกอบของประโยคที่มี ภาคประธาน + ภาคแสดง

ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค
นามวลี กริยาวลี
สุนัขวิ่ง สุนัข วิ่ง
สุนัขของฉันวิ่งออกไป สุนัขของฉัน วิ่งออกไป
สุนขั ของฉันสองตัววิง่ ออกไปทางประตูรวั้ สุนัขของฉันสองตัว วิง่ ออกไปทางประตูรวั้

1
ส่วนประกอบของประโยคที่มีค�ำนามเป็นหลัก
เรียกว่า ท�ำหน้าที่
ส่วนประกอบของประโยคที่มีค�ำกริยาเป็นหลัก
เรียกว่า ท�ำหน้าที่
กริยาวลีเป็นส่วนประกอบทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของประโยค ดังนัน้ ประโยคอาจเป็นได้ใน ๒ กรณี
ภาคประธาน (นามวลี) + ภาคแสดง (กริยาวลี) ส่วนประกอบส�ำคัญของ
ภาคแสดง (กริยาวลี) ประโยคคือ “ค�ำกริยาหลัก”
ตัวอย่าง
ภาคประธาน ภาคแสดง
ข้อความ สรุป
นามวลี กริยาวลี
คุณหมอเดินมาตรวจคนไข้ คุณหมอ เดินมาตรวจคนไข้ เป็นประโยค
เดินมาตรวจคนไข้ – เดินมาตรวจคนไข้ เป็นประโยค
คุณหมอ คุณหมอ – ไม่เป็นประโยค
นาฬิกาของพ่อไม่เดินแล้ว นาฬิกาของพ่อ ไม่เดินแล้ว เป็นประโยค
นาฬิกาของพ่อ นาฬิกาของพ่อ – ไม่เป็นประโยค
ไม่เดินแล้ว – ไม่เดินแล้ว เป็นประโยค
ฉันซื้อโจ๊กถุงนี้จากบางรัก
ซื้อโจ๊กถุงนี้จากบางรัก
นักธุรกิจรายใหม่ไม่มี
ประสบการณ์
นักธุรกิจรายใหม่
ไม่มีประสบการณ์

2
ค�ำแนะน�ำเวลา “ท�ำข้อเว้น”
ทบทวนเนือ้ หาตลอดทั้งบทให้เข้าใจก่อนลงมือท�ำ
จับเวลาและบันทึกไว้รายข้อ เทียบกับเวลาท�ำต่อข้อ
ในข้อสอบสนามจริง
หากท�ำผิด ต้องอ่านเฉลยให้เข้าใจ บันทึกเรื่องและความถี่
ที่ท�ำผิดแล้วแก้ไขให้ถูกจุด

วิทยาประยุกต์
ค�ำชีแ้ จง : เลือกค�ำตอบที่ถูกต้องเหมาะสมเพียงข้อเดียว
ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบค�ำถามข้อที่ ๑ – ๒
(ก) การแต่งกายตามสมัยของวัยรุ่นในเมืองหลวง
(ข) โรคไข้เลือดออกก�ำลังระบาดในหลายจังหวัดของญี่ปุ่น
(ค) บุคลิกภาพหรือชื่อเสียงของผู้พูดและการยอมรับจากผู้ฟัง
(ง) ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ท่คี นงมงายมักขัดกับหลักวิทยาศาสตร์
๑. ข้อใดไม่เป็นประโยค
๑ ข้อ (ก) และ (ข) ๒ ข้อ (ข) และ (ค)
๓ ข้อ (ค) และ (ก) ๔ ข้อ (ง) และ (ข)

๒. ข้อใดเป็นประโยคซ้อนและประโยคสามัญตามล�ำดับ
๑ ข้อ (ก) และ (ค) ๒ ข้อ (ข) และ (ง)
๓ ข้อ (ง) และ (ข) ๔ ข้อ (ค) และ (ก)

30
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ภาษาแสดงความคิด
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ภาษาแสดงความคิด
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152080723*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) ภาษากับการแสดงเหตุผล ๑
๑.๑) ลักษณะภาษาที่แสดงเหตุผล ๑
๑.๑.๑) ใช้ค�ำเชื่อม ๑
๑.๑.๒) ไม่ใช้ค�ำเชื่อม ๒
๑.๒) โครงสร้างการแสดงเหตุผล ๔
๒) ภาษากับการแสดงทรรศนะ ๘
๒.๑) ลักษณะภาษาที่แสดงทรรศนะ ๘
๒.๑.๑) ใช้ค�ำกริยาหลักเพื่อแสดงทรรศนะ ๘
๒.๑.๒) ใช้ค�ำหรือกลุ่มค�ำแสดงการประเมินค่าหรือให้ระดับคุณภาพได้ ๙
๒.๑.๓) ใช้ค�ำแสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ๙
๒.๑.๔) ใช้ค�ำช่วยหน้ากริยาเพื่อแสดงทรรศนะ ๑๐
๒.๒) ประเภทของทรรศนะ ๑๐
๓) ภาษากับการโน้มน้าวใจ ๑๓
เรื่อง หน้า
๔) ภาษากับการโต้แย้ง ๑๖
๔.๑) โครงสร้างของการโต้แย้ง ๑๘
๔.๒) กระบวนการโต้แย้ง ๑๙
๔.๒.๑) การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง ๒๐
๔.๒.๒) การนิยามค�ำหรือกลุ่มค�ำส�ำคัญที่อยู่ในประเด็นการโต้แย้ง ๒๑
๔.๒.๓) การค้นคว้าและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อสนับสนุนทรรศนะ
ของตนเอง ๒๑
๔.๒.๔) การค้นคว้าและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อชี้ให้เห็นจุดอ่อนและ
ความผิดพลาดของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม ๒๒
๔.๓) ข้อควรระวังในการโต้แย้ง ๒๒
วิทยาประยุกต์ ๒๔
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๓
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๔
๑ ภาษากับการแสดงเหตุผล

ค�ำว่า “เหตุ” และค�ำว่า “ผล” อาจใช้ค�ำอื่นเรียกแทนได้


เหตุ = / /
ผล =

๑.๑) ลักษณะภาษาที่แสดงเหตุผล

๑.๑.๑) ใช้ค�ำเชื่อม
ปรากฏค�ำเชื่อมระหว่างข้อความข้างหน้ากับข้อความต่อมา เช่น
ข้อความข้างหน้า คำ�เชื่อมเหตุผล ข้อความต่อมา
คุณพ่อติดประชุมวันนี้ จึง ให้คนขับรถมารับฉันแทน
เขาทำ�บัตรนักเรียนหาย เลย ต้องไปติดต่อทำ�บัตรใหม่
เธอขาดเรียนหลายสัปดาห์ เพราะ ป่วยเป็นไข้เลือดออก
เพื่อนบ้านไม่ชอบป้าคนนี้ เนื่องจาก ป้ามักพูดจาหยาบคายเสียงดัง
ชุดนักเรียนฉันซักอยู่ทุกชุด ดังนั้น ต้องใส่ชุดพละมาเรียน
เราไม่ได้มารับบัตรคิวแต่แรก ถึง ซื้อบัตรคอนเสิร์ตไม่ทันไง
เขาคงต้องผิดหวังอีกครั้ง จาก การตัดสินใจที่ผิดพลาด
ฉันพูดจารุนแรงไปมาก ด้วย อารมณ์โกรธชั่ววูบ
ปรากฏค�ำเชื่อมข้างหน้าข้อความแต่ละข้อความ เช่น
คำ�เชื่อมเหตุผล ข้อความ คำ�เชื่อมเหตุผล ข้อความ
เพราะว่า เธอไม่ยอมเชื่อฉัน เพราะฉะนั้น เรื่องวุ่นวายก็ตามมา
โดยที่ ประธานเซ็นอนุมตั แิ ล้ว ฉะนั้น เราก็เริ่มโครงการได้ทันที
เนื่องด้วย เขาทำ�ผิดกฎหมาย จึง ต้องจำ�คุกหลายปี

1
ค�ำเชื่อมในต�ำแหน่งอื่น ๆ ของข้อความแรกหรือข้อความที่ตามมา
ข้อความแรก ข้อความที่ตามมา
พยาบาลลืมแจ้งเวลาที่คุณหมอจะมาตรวจ
คนไข้จึงโทรศัพท์ไปถามที่เคาน์เตอร์พยาบาล
พรุ่งนี้
วันนี้เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ โรงเรียนเลยจัดกิจกรรมหลากหลายประเภท
เนื่องจากเขาต้องดูแลลูกที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก หัวหน้าแผนกจึงอนุมัติให้เขาลาหยุดได้ ๓ วัน
เพราะคุณหมอตรวจและให้คำ�อธิบายอย่างละเอียด คนไข้หลายคนจึงไม่อยากไปรักษากับหมอคนอืน่

๑.๑.๒) ไม่ใช้ค�ำเชื่อม
ข้อความแสดงความเป็นเหตุเป็นผลกันได้โดยไม่ปรากฏค�ำเชื่อม เช่น
- รู้มากยากนาน รู้น้อยพลอยร�ำคาญ
- บ้านเมืองสะอาด ประชาชาติปลอดโรค
- รายงานนี้เสร็จช้ากว่าก�ำหนด เธอติด Social Network มากเกินไป
- ทานตะวันกระถางนี้คุณย่าปลูกมาเองกับมือ คุณปู่ไม่ยอมขายให้ใครเป็นอันขาด
- เกรดของเธอเทอมนี้ดีขึ้นกว่าเทอมก่อนมาก เธอส่งงานครบและท�ำคะแนนสอบ
ได้ดีทุกวิชา
- เขาไม่มีทางพูดโกหกแน่นอน เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นความตายของทุกคน
ในครอบครัวเขาเอง
- เรียนสรุปเนือ้ หาภาษาไทยครบทุกบทอย่างละเอียด ท�ำข้อสอบปลายภาคคราวนี้
ได้คะแนนเกือบเต็ม

2
ค�ำแนะน�ำเวลา “ท�ำข้อเว้น”
ทบทวนเนือ้ หาตลอดทั้งบทให้เข้าใจก่อนลงมือท�ำ
จับเวลาและบันทึกไว้รายข้อ เทียบกับเวลาท�ำต่อข้อ
ในข้อสอบสนามจริง
หากท�ำผิด ต้องอ่านเฉลยให้เข้าใจ บันทึกเรื่องและความถี่
ที่ท�ำผิดแล้วแก้ไขให้ถูกจุด

วิทยาประยุกต์
ค�ำชีแ้ จง : เลือกค�ำตอบที่ถูกต้องเหมาะสมเพียงข้อเดียว
๑. ค�ำขวัญในข้อใดไม่มกี ารแสดงเหตุผล
๑ เดินใจลอยข้ามถนน รถจะชนเอา
๒ ล้างผักให้หมดพิษ จะได้ชีวิตที่ปลอดภัย
๓ รักชาติศาสน์กษัตริย์ จึงช่วยขจัดคอร์รัปชัน
๔ ช่วยกันประหยัดพลังงาน ด้วยวิธีการหารสอง

๒. ข้อใดไม่แสดงความเป็นเหตุเป็นผล
๑ สังคมไทยเปลี่ยนไปมาก ประเพณีบางอย่างจึงด�ำรงอยู่ได้ยาก
๒ ตามแนวคิดทางสถาปัตยกรรม ความว่างอาจส�ำคัญกว่าเนื้อที่ในตัวบ้าน
๓ นโยบายเศรษฐกิจต้องเน้นการกระจายรายได้เพราะคนส่วนใหญ่ยังยากจนอยู่
๔ มีการแปลและจัดพิมพ์วรรณคดีไทยออกเป็นหลายภาษาท�ำให้วรรณคดีไทย
เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก

24
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
คำ�ไทยแท้และคำ�ยืมจากภาษาต่างประเทศ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : คำ�ไทยแท้และคำ�ยืมจากภาษาต่างประเทศ
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078623*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) หลักการสังเกตค�ำไทยแท้ ๑
๒) หลักการสังเกตค�ำยืมจากภาษาต่างประเทศ ๖
๒.๑) หลักการสังเกตค�ำยืมภาษาบาลี ๖
๒.๒) หลักการสังเกตค�ำยืมภาษาสันสกฤต ๘
๒.๓) หลักการสังเกตค�ำยืมภาษาเขมร ๑๒
๒.๔) หลักการสังเกตค�ำยืมภาษาอังกฤษ ๑๕
๒.๕) ตัวอย่างค�ำยืมจากภาษาอื่น ๆ ในภาษาไทย ๒๑
๒.๖) สรุปหลักการสังเกตค�ำยืมจากภาษาต่างประเทศในภาพรวม ๒๓
วิทยาประยุกต์ ๒๕
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๔
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๕
๑ หลักการสังเกตค�ำไทยแท้

หลักการสังเกต ข้อสังเกตเพิ่มเติม

ค�ำพยางค์เดียวจ�ำนวนมากไม่ใช่ค�ำไทยแท้ เช่น
ทุกข์ เคราะห์ กรรม ปราชญ์
๑) ส่วนมากเป็นค�ำโดด / ควร ทรวง เพลิง อวย
มีพยางค์เดียว ค�ำไทยแท้จ�ำนวนมาก มีหลายพยางค์ เช่น
มะม่วง สะใภ้ ตะขบ ตะขาบ
กระจิบ กระจาบ กระดุม ตะโกน
กระโจน ประเดี๋ยว

๒) ส่วนใหญ่สะกดตรงตามมาตรา ยกเว้นค�ำบางค�ำ แม้สะกดตรงตามมาตรา


เช่น แม่ กก ใช้ ก สะกด แต่เป็นค�ำยืม เช่น
แม่ กบ ใช้ บ สะกด - โปรด เดิน ถนน ( )
แม่ กด ใช้ ด สะกด - โลก กาย วัย ( )
แม่ กม ใช้ ม สะกด - เข่ง ป้าย หุ้น ( )
แม่ เกอว ใช้ ว สะกด - แฟน เกม วิว ( )

ค�ำที่ใช้ “รร” เป็นค�ำยืม ส่วนใหญ่ยมื มาจาก


ภาษา และภาษา เช่น
๓) ไม่ใช้ ร หัน (รร) - กรรม พรรณ สวรรค์ วรรณ สรรพ
สรรค์ ยืมมาจาก
- สรร บรรทม บรรทัด กรรแสง
สรรเสริญ ยืมมาจาก

1
หลักการสังเกต ข้อสังเกตเพิ่มเติม
ค�ำที่ใช้ “ฤ ฤๅ” มักยืมจากภาษา
เช่น ฤดู ฤดี ฤทัย มฤคี มฤตยู พฤติกรรม
๔) ไม่ใช้ ฤ ฤๅ ยกเว้นค�ำว่า ฤ ฤๅ ทีแ่ ปลว่า = ไทยแท้
ค�ำบางค�ำยืมมาจากภาษาเขมร เช่น ตฤๅ

ค�ำที่ใช้ “ตัวการันต์” มักยืมมาจากภาษาอื่น


เช่น
๕) ไม่ใช้ทัณฑฆาตก�ำกับ - วัฒน์ ทุกข์ วิฬาร์ ( )
บนพยัญชนะ (ตัวการันต์) - ปราชญ์ วิทย์ สัตย์ ( )
- ฟิสิกส์ เต็นท์ เปอร์เซ็นต์ ( )
- ธ�ำมรงค์ แขสร์ ( )

ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู
จะใคร่ลงเรือใบ ดูน�้ำใสและปลาปู
๖) ค�ำที่ใช้ไม้ม้วน ๒๐ ค�ำ
สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง
เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจ�ำจงดี
๗) ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัว ยกเว้นค�ำบางค�ำต่อไปนี้ = ค�ำไทยแท้
ที่มักปรากฏในค�ำยืม
เช่น

2
หลักการสังเกตคำ�ไทยแท้

4
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
การสร้างคำ�ในภาษาไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : การสร้างคำ�ในภาษาไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078723*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) การสร้างค�ำในภาษาไทย ๑
๒) การสร้างค�ำซ�้ำ ๓
๓) การสร้างค�ำซ้อน ๖
๓.๑) น�ำค�ำที่มีความหมายคล้ายกับหรือใกล้เคียงกันมาประกอบกัน ๖
๓.๒) น�ำค�ำที่มีความหมายตรงข้ามกันมาประกอบกัน ๘
๔) การสร้างค�ำประสม ๑๐
๕) การสร้างค�ำสมาส ๙
๕.๑) ค�ำสมาสแบบสมาส ๑๗
๕.๒) ค�ำสมาสแบบสนธิ ๒๐
วิทยาประยุกต์ ๒๔
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๖
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๗
๒ การสร้างค�ำซ�้ำ
ค�ำซ�้ำ เกิดจาก ค�ำมูลที่ออกเสียงซ�้ำกันค�ำละ ๒ ครัง้ โดยปกติใช้เครื่องหมายไม้ยมก
ยกเว้นในบทร้อยกรองจะไม่นยิ มใช้ไม้ยมก
ค�ำซ�้ำอาจเกิดความหมายใหม่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
ลักษณะความหมาย (ค�ำซ�้ำ) ตัวอย่าง
ความหมายเป็นพหูพจน์ - เล่นกันในสวนหลังบ้าน
พี่ยทู ดสอบความหมายโดยเติมค�ำ - ที่ท�ำงานหล่อกันทุกคน
ว่า “ ” + ลักษณนาม - ปู่มีความสุขที่ได้อยู่กับ
ท้ายค�ำซ�ำ้ ทีท่ ำ� ให้เป็นค�ำเดีย่ วก่อน - น้องสาวกินข้าวได้เป็น
ความหมายแยกประเภท - ท�ำการบ้านให้เสร็จไปเป็น
( ) - ใช้ดินสอให้หมดไปเป็น สิจ๊ะ
พีย่ ทู ดสอบความหมายโดยเติมค�ำว่า - ช�ำระเงินเป็น ไปนะคะ
“ ” หน้าค�ำซ�ำ้ - จะว่าใครก็ขอให้ว่าเป็น ไปค่ะ
โดยท�ำให้เป็นค�ำเดี่ยวก่อน - เขียนรายงานให้เสร็จไปเป็น

ความหมายไม่ชี้เฉพาะ - วันนี้ฉันมีนัดช่วง
- ก็ไม่อยากกินทั้งนั้นแหละ
มักซ�ำ้ ทีค่ ำ� - ก็ไม่สุขใจเท่าบ้าน
แสดงกิริยาต่อเนื่อง - เธอก็รีบ ให้เสร็จสิ
- พี่ยู ดูแล้วก็เริ่ม
มักซ�ำ้ ทีค่ ำ� - ตื่นมาแล้วก็
ความหมายใหม่ / เป็นส�ำนวน - กับข้าวร้านนี้รสชาติพื้น ๆ
ความหมายต่างไปจากค�ำเดีย่ ว ค�ำเดิม - ข่าวบันเทิงนี้มาใหม่สด ๆ ร้อน ๆ
= จ�ำเป็นต้องซ�ำ้ - ความรู้งู ๆ ปลา ๆ จึงเถียงข้าง ๆ คู ๆ

3
๑๑. ข้อใดมีค�ำซ�้ำที่แสดงลักษณะความหมายต่างจากข้ออื่น
๑ สมพงศ์หลับ ๆ ตื่น ๆ ทั้งคืน
๒ สมชายร�่ำ ๆ จะขอเกษียณอายุราชการ
๓ สมศรีชอบใช้ดนิ สอให้หมดไปเป็นแท่ง ๆ
๔ คุณป้าของสมบูรณ์เปรย ๆ ว่าจะไปอิตาลี

๑๒. ค�ำที่มีรูปเหมือนกันและอยู่ตดิ กันในข้อใดไม่ใช่ค�ำซ�้ำ


๑ รัศมีสีตนก็หม่นหมอง สิ่งของของตัวก็มัวไหม้
๒ ร้านค้าผ้าผ่อนล้วนดีดี เลือกดูที่งามตามชอบใจ
๓ พวกเด็กเด็กหยอกเย้าเข้าฉุด อุตลุดล้อมหลังล้อมหน้า
๔ ให้สองทรงสีวิกายานมาศ อ�ำมาตย์เดินเคียงเป็นคู่คู่

๑๓. ข้อใดปรากฏค�ำซ�้ำ
๑ ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
๒ แต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญาณ์ โอ้เปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง
๓ ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหล
๔ แม่รักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ารัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน

28
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
สำ�นวนไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : สำ�นวนไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152079023*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) ลักษณะถ้อยค�ำส�ำนวนภาษาไทย ๑
๒) ตัวอย่างที่มาของส�ำนวนในภาษาไทย ๓
๒.๑) จากวรรณคดี / วรรณกรรม ๓
๒.๒) จากศาสนา / ความเชื่อ / ประเพณี ๔
๒.๓) จากกีฬา / การละเล่น ๖
๒.๔) จากการสังเกตสิ่งแวดล้อม / ธรรมชาติ ๖
๓) ตัวอย่างส�ำนวนที่มีความหมายเหมือน / ใกล้เคียงกัน ๘
๔) ตัวอย่างส�ำนวนที่กล่าวถึงเรื่องท�ำนองเดียวกัน ๑๐
๕) หลักการใช้ส�ำนวนให้ถูกต้องเหมาะสม ๑๒
๕.๑) ใช้ให้ตรงกับความหมาย / สอดคล้องกับสถานการณ์ ๑๒
๕.๒) ใช้ส�ำนวนให้ถูกต้องตามขนบ เมื่อต้องสื่อสารอย่างเป็นทางการ ๑๓
วิทยาประยุกต์ ๒๓
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๘
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๙
๕ หลักการใช้ส�ำนวนให้ถูกต้องเหมาะสม

การใช้ส�ำนวนให้เกิดประสิทธิภาพทางการสื่อสารและให้เหมาะแก่ระดับการสื่อสาร
ควรค�ำนึงถึงหลักการต่อไปนี้

๕.๑) ใช้ให้ตรงกับความหมาย / สอดคล้องกับสถานการณ์

เช่น ข้อสอบวิชาภาษาไทยคราวนี้ง่ายเหมือนเส้นผมบังภูเขา

เขาพูดจาแย่มาก แต่เราก็ต้องอดทนท�ำเป็นน�้ำท่วมปาก

ดูสิเธอ สองคนนี้เข้ากันได้ทุกเรื่องเป็นกิ่งทองใบหยกกันเลย

คุณอาชอบขี่ช้างจับตั๊กแตน ท�ำอะไรที่เกินความสามารถของตัวเองอยู่เสมอ

ผู้ใหญ่บางคนพอหมดอ�ำนาจก็ไม่มบี ริวารห้อมล้อมเข้าท�ำนองน�้ำลดตอผุด

สังคมปัจจุบันดูไม่จริงใจต่อกัน ใส่หน้ายักษ์เข้าหากันตลอดเวลา

12
๕.๒) ใช้ส�ำนวนให้ถูกต้องตามขนบ เมื่อต้องสื่อสารอย่างเป็นทางการ

เช่น คนเอาเปรียบอย่างนายทุนใจร้ายชอบท�ำนาบนหัวคน

เจ้าบ่าวเจ้าสาวงานนี้เหมาะสมกันดีเหมือนผีเน่ากับโลงผุ

คุณพ่อกับคุณแม่ต้องช่วยกันท�ำงานหนักจนตัวเป็นเกลียวหัวเป็นนอต

เขาชอบไปเอารัดเอาเปรียบคนอื่นไว้มากสุดท้ายก็โดนคนโกงเรื่องที่ดิน
เป็นกงกรรมกงเกวียนชัด ๆ

หล่อนเหมือนถูกผีซ�้ำด้ามพลอย ขโมยขึ้นบ้านเมื่อวานไม่ทันไร วันนี้ก็ถูก
บริษัทไล่ออกจากงานอีก

อุบัติเหตุคราวนี้เขาไม่ถึงกับบาดเจ็บสาหัสแค่คางเขียวเท่านั้น

13
ค�ำแนะน�ำเวลา “ท�ำข้อเว้น”
ทบทวนเนือ้ หาตลอดทั้งบทให้เข้าใจก่อนลงมือท�ำ
จับเวลาและบันทึกไว้รายข้อ เทียบกับเวลาท�ำต่อข้อ
ในข้อสอบสนามจริง
หากท�ำผิด ต้องอ่านเฉลยให้เข้าใจ บันทึกเรื่องและความถี่
ที่ท�ำผิดแล้วแก้ไขให้ถูกจุด

วิทยาประยุกต์
ค�ำชีแ้ จง : เลือกค�ำตอบที่ถูกต้องเหมาะสมเพียงข้อเดียว
๑. ส�ำนวนในข้อใดน�ำมาเติมลงในช่องว่างได้เหมาะสมที่สุด
“งานวิจัยเรื่องนี้สุพรีท�ำแบบ พอให้มีส่งเพื่อขอต�ำแหน่งทางวิชาการ
ยังมีงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่ยังต้องท�ำ แต่ท้งิ ไว้จนเข้าท�ำนอง ”
๑ ผักชีโรยหน้า ยุ่งเหมือนยุงตีกัน
๒ สุกเอาเผากิน ดินพอกหางหมู
๓ ต�ำข้าวสารกรอกหม้อ กองเป็นภูเขาเลากา
๔ จับแพะชนแกะ หัวไม่ได้วางหางไม่ได้เว้น

๒. ข้อความต่อไปนี้ตรงกับส�ำนวนในข้อใด
“เขาโชคดีที่ได้รับจดหมายเรียกตัวเข้าท�ำงานที่อยากท�ำทั้ง ๒ แห่งพร้อม ๆ กัน
จึงตัดสินใจไม่ได้ว่าจะเลือกท�ำที่ไหนดี”
๑ จับปลาสองมือ ๒ สองฝักสองฝ่าย
๓ รักพี่เสียดายน้อง ๔ เหยียบเรือสองแคม

23
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ระดับภาษา
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ระดับภาษา
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152077823*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) การจ�ำแนกระดับภาษา ๑
๑.๑) ภาษาระดับทางการ (ระดับแบบแผน) ๖
๑.๒) ภาษาระดับไม่เป็นทางการ (ระดับไม่เป็นแบบแผน) ๑๐
๒) ตัวอย่างถ้อยค�ำที่ควรสังเกตในภาษาระดับต่าง ๆ ๑๒
๒.๑) หมวด “ค�ำนาม” ๑๒
๒.๒) หมวด “ค�ำกริยา” ๑๔
๒.๓) หมวด “ค�ำขยาย” ๑๕
๒.๔) หมวด “ค�ำที่ใช้ถามทั่วไป” ๑๖
๓) ปัจจัยที่ช่วยก�ำหนดระดับภาษา ๑๙
วิทยาประยุกต์ ๒๑
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๕
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๖
๑.๒) ภาษาระดับไม่เป็นทางการ (ระดับไม่เป็นแบบแผน)

อาจเรียกว่า ภาษา หรือ ภาษา หรือ ภาษา


มักใช้ถ้อยค�ำในลักษณะดังต่อไปนี้
ใช้ค�ำที่ตัดมากล่าวให้สั้นลง เช่น
- หมวดวิทย์ได้รับรางวัลชนะเลิศ
- กรุงเทพคริสเตียนชนะการแข่งบอลเยาวชน
- ลาวเร่งสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงกว่าของเวียดนาม
- ศึกษาธิการออกนโยบายควบคุมกวดวิชาอย่างเข้มงวด
- กาชาดเป็นองค์กรการกุศลระดับชาติที่ด�ำเนินงานเพื่อมนุษยธรรม

ใช้ค�ำเฉพาะกลุ่มหรือค�ำสแลง เช่น
- พนักงานขายให้ข้อมูลเวอร์จนดูไม่น่าเชื่อถือ
- นักเต้นฝีมอื ขั้นเทพคนนี้ออกงานแสดงหลายครัง้ แล้ว
- ความมั่นหน้าอย่างเดียวไม่อาจท�ำให้เขาได้แสดงภาพยนตร์

ใช้ค�ำสมญานามหรือชื่อที่ใช้เรียกอย่างไม่เป็นทางการ เช่น
- ดินแดนหมีขาวก�ำลังประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติ
- โสมแดงบอกปัดความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับโสมขาว
- เมืองชาละวันมีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวใกล้เคียงกับเมืองส้มโอ

10
ใช้ค�ำทับศัพท์ภาษาต่างประเทศโดยไม่จ�ำเป็น เช่น
- เจ้าหน้าที่ส่งเอกสารให้ผู้ใช้บริการปรู๊ฟ
- นิสิตอาจถอนบางวิชาที่ลงทะเบียนผิดในเทอมนี้
- การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอท�ำให้มเี ชปที่ดี
ใช้ค�ำซ้อนที่มักพบในบริบทการสนทนา เช่น
- นักแสดงตัวประกอบในภาพยนตร์เรื่องนี้หน้าตาพอไปวัดไปวาได้
- พนักงานจ�ำนวนมากของบริษทั แห่งนีเ้ ป็นเลือดเนือ้ เชือ้ ไขมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เครื่องปั้นดินเผาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มมี าตั้งแต่อดีตและเป็นเครื่องมือ
ที่ใช้ประโยชน์อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน

11
๑๘. ข้อใดใช้ภาษาต่างระดับกับข้ออื่น
๑ คนไข้บางคนรับไม่ได้เลยกับการกินอาหารรสจืดชืด
๒ ถ้าพูดถึงโซเดียมเกือบทุกคนก็จะนึกถึงอาหารรสเค็ม
๓ อาหารรสเค็มจะมีรสชาติถูกปากมากกว่าอาหารรสจืด ๆ
๔ ผู้ประกอบกิจการอาหารจึงเลือกใช้เกลือโพแทสเซียมแทน

๑๙. ทุกค�ำในข้อใดไม่สามารถใช้ในภาษาระดับทางการได้
๑ รดน�้ำสังข์ รับประทาน ตีตรา
๒ แสตมป์ งานบวช รถเมล์
๓ โรงพัก ณาปนกิจ บัสเลน
๔ ตกลูก ถึงแก่กรรม โรงหมอ

๒๐. ข้อใดใช้ภาษาต่างระดับกับข้ออื่น
๑ ศัตรูส�ำคัญของเห็ดขอนและเห็ดหูหนูคอื ไรไข่ปลาและราเขียว
๒ เห็ดขอนถึงจะเป็นเห็ดในสกุลของเห็ดหอมแต่รูปร่างหน้าตาเหมือนเห็ดนางรม
๓ การปลูกเห็ดขอนใช้วธิ เี พาะด้วยขีเ้ ลือ่ ยในถุงพลาสติกเช่นเดียวกับการเพาะเห็ดนางฟ้า
๔ เห็ดขอนออกดอกมากในสภาพอากาศร้อน ส่วนเห็ดนางรมและเห็ดนางฟ้าออกดอก
ได้ดีในที่อากาศเย็น

30
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ราชาศัพท์
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ราชาศัพท์
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152077723*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) ความหมายและขอบเขตของราชาศัพท์ ๑
๑.๑) ความหมายของราชาศัพท์ ๑
๑.๒) ขอบเขตของราชาศัพท์ ๑
๒) พระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธยที่ควรทราบในรัชกาลที่ ๑๐ ๒
๓) ตัวอย่างค�ำที่ต้องท�ำให้เป็นราชาศัพท์ ๕
๓.๑) ค�ำนามที่ท�ำให้เป็นราชาศัพท์ (นามราชาศัพท์) ๕
๓.๒) ค�ำกริยาที่ท�ำให้เป็นราชาศัพท์ (กริยาราชาศัพท์) ๙
๔) ราชาศัพท์บางค�ำที่มักใช้ผิด ๑๙
๕) ค�ำสรรพนาม ค�ำขึ้นต้น ค�ำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล / กราบทูล ๒๐
วิทยาประยุกต์ ๒๗
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๗
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๘
๓.๒) ค�ำกริยาที่ท�ำให้เป็นราชาศัพท์ (กริยาราชาศัพท์)

ค�ำกริยาราชาศัพท์มขี ้อสังเกตได้หลายลักษณะ มีทั้งที่ใช้และที่ไม่ใช้ค�ำเติมหน้า ดังนี้


ใช้หน่วยค�ำเติมหน้า
ใช้ค�ำว่า “ทรง” เติมหน้า เพื่อท�ำให้เป็นค�ำกริยาราชาศัพท์

ค�ำเติมหน้า + คําที่ตามมา ตัวอย่าง


ทรงเจิม ทรงฟัง
ทรงยินดี ทรงเป็นศิษย์เก่า
ทรงวิ่ง ทรงกราบ
ทรงเล่าเรียน ทรงร่วมประชุม
ทรงผนวช ทรงปลูกต้นไม้
ทรงถ่ายรูป ทรงขับรถยนต์
ทรงเรือใบ ทรงศีล
ทรงปืน ทรงดนตรี
ทรง
ทรงเทนนิส ทรงช้าง / ทรงม้า
ทรงจักรยาน ทรงรถม้า
ทรงสกี ทรงบาตร
ทรงพระเมตตา ทรงพระราชด�ำริ
ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ์
ทรงพระครรภ์ ทรงพระประชวร
ทรงพระอุตสาหะ ทรงฉลองพระองค์
ทรงพระเกษมส�ำราญ ทรงพระนิพนธ์

9
๑๓. ข้อใดใช้กริยาราชาศัพท์ถูกต้อง
๑ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิรภิ าจุฑาภรณ์ ทรงวิง่ และทรงแบดมินตันทีส่ วนรมณีย์
๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานของที่ระลึกให้คณะกรรมการ
การจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ
๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีทรงเสด็จ
ไปพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
๔ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ทรงทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ์
โบราณคดีที่เมืองฟลอเรนซ์

๑๔. ราชาศัพท์ท่ขี ีดเส้นใต้ในข้อความต่อไปนี้ใช้ผิดกี่แห่ง


เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จเข้าสู่พลับพลาพิธีแล้ว ทรงจุดธูปเทียน
เครื่องนมัสการบูชาพระพุทธนวราชบพิตร จากนั้นทรงกราบ ทรงประทับพระราชอาสน์
และทรงศีล
๑ ๑ แห่ง ๒ ๒ แห่ง
๓ ๓ แห่ง ๔ ๔ แห่ง

33
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152077923*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) การใช้ค�ำหรือส�ำนวนที่ไม่ถูกต้อง ๑
๑.๑) การใช้ค�ำผิดความหมายหรือผิดหน้าที่ ๑
๑.๒) การใช้ส�ำนวนผิดความหมาย ๑๑
๒) การใช้ภาษาก�ำกวม ๑๕
๓) การใช้ภาษาฟุ่มเฟือย ๑๙
๔) การใช้ภาษาต่างระดับ ๒๒
๕) การใช้ส�ำนวนภาษาต่างประเทศ ๒๓
๕.๑) การวางส่วนขยายไว้หน้าค�ำหรือข้อความที่ต้องการจะขยาย ๒๓
๕.๒) การใช้ประโยคกรรมที่มีค�ำว่า “ถูก” ๒๓
๕.๓) การใช้วลีส�ำเร็จรูปที่แปลมาจากงานเขียนภาษาต่างประเทศ ๒๔
วิทยาประยุกต์ ๒๖
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๒
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๓
๒ การใช้ภาษาก�ำกวม

ก�ำกวม =
สาเหตุท่ที �ำให้เกิดความก�ำกวม ที่มักพบบ่อย ได้แก่
ก�ำกวมเพราะมีกลุ่มค�ำที่อาจเป็นได้ทั้งค�ำประสม / วลี / ประโยค เช่น
- คนขนขยะออกจากบ้านเมื่อเช้านี้
- เขามัวแต่ขับรถเหม่อ จนไม่ทันเห็นรถสวน
- อากาศร้อนจนเหงื่อออกเต็มไปหมด ขอผ้าเช็ดหน้าหน่อย
ก�ำกวมเพราะไม่แบ่งวรรคตอนให้เหมาะสม เช่น
- ห้ามใส่กางเกงในเวลาราชการ
- สิบล้อชนรถบรรทุกหมูตายทัง้ คัน
- ในการช�ำเราต้องใช้มดี คม ๆ ปาดที่ตา
ก�ำกวมเพราะละบางส่วนของประโยค เช่น
- David เหยียบแก้วแตก
- John ขับรถชนควายตาย
ก�ำกวมเพราะใช้ส่วนขยายสับสน หรือไม่ชัดเจนว่าจะขยายส่วนใดโดยเฉพาะ เช่น
- Sara ไปเที่ยวเกาะเจจูกับเพื่อนสองคน
- คุณแม่สอนให้ฉันกินผักเยอะ ๆ เป็นประจ�ำ
- ต�ำรวจรวบตัวผู้ค้ายาเสพติดจ�ำนวนมากที่จังหวัดเชียงราย

15

ใส่เครื่องหมาย หน้าข้อความที่ใช้ภาษากํากวม และ


ใส่เครื่องหมาย หน้าข้อความที่ใช้ภาษาไม่กํากวม

๑) คุณตาทวดชอบอ่านหนังสือพิมพ์ใหม่ ๆ
๒) ครูที่สอนออกก�ำลังกายเตือนให้ฉันออกก�ำลังกายทุกวัน
๓) ก๋วยเตี๋ยวราดหน้าหมูสับและผัดซีอิ๊วของร้านนี้อร่อยสมค�ำร�่ำลือ
๔) หัวหน้าฝ่ายบุคคลก�ำลังสัมภาษณ์ผู้สมัครงานคนเดียว
๕) รีสอร์ตและโรงแรมในจังหวัดนี้ ทุกแห่งนี้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
๖) คณะกรรมการนักเรียนก�ำลังเร่งท�ำงานใหญ่ ไม่ยอมพูดจากับใครเลย
๗) ส�ำนักงานสนับสนุนการวิจยั มีทนุ ช่วยเหลือนักศึกษามหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทีข่ าดแคลน
๘) เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายก�ำลังเร่งด�ำเนินการปราบปรามยาบ้าทั่วประเทศ
๙) กระทรวงการคลังและทีมเศรษฐกิจของรัฐบาลผนึกก�ำลังกันอย่างเต็มที่เพื่อแก้ไข
ปัญหาเศรษฐกิจ
๑๐) การบุกรุกป่าของราษฎรย่อมเป็นบ่อเกิดของความวุ่นวายและปัญหาหลายระดับ
๑๑) หลายคนเข้าใจว่า เขาเป็นกรรมกรผู้ใช้แรงงานที่รับงานประจ�ำในเขตก่อสร้างของ
ชุมชนแห่งนี้

17
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152080823*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) การส่งค�ำสัมผัส ๑
๑.๑) สัมผัสนอก สัมผัสบังคับ สัมผัสสระ ๔
๑.๒) สัมผัสนอก สัมผัสไม่บังคับ สัมผัสสระ ๕
๑.๓) สัมผัสนอก สัมผัสไม่บังคับ สัมผัสพยัญชนะ ๖
๑.๔) สัมผัสใน สัมผัสไม่บังคับ สัมผัสสระ ๗
๑.๕) สัมผัสใน สัมผัสไม่บังคับ สัมผัสพยัญชนะ ๗
๒) ฉันทลักษณ์ของกลอน ๘
๒.๑) กลอนสุภาพ ๘
๒.๒) กลอนแปด ๑๐
๓) ฉันทลักษณ์ของ “กาพย์” ๑๒
๓.๑) กาพย์ยานี ๑๑ ๑๒
๓.๒) กาพย์ฉบัง ๑๖ ๑๓
๓.๓) กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ๑๔
เรื่อง หน้า
๔) ฉันทลักษณ์ของ “โคลง” ๑๖
๔.๑) โคลงสี่สุภาพ ๑๖
๔.๒) โคลงสามสุภาพ ๒๐
๔.๓) โคลงสองสุภาพ ๒๒
๕) ฉันทลักษณ์ของ “ฉันท์” ๒๕
๕.๑) อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ๒๕
๕.๒) วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ๒๗
๖) ฉันทลักษณ์ของ “ร่าย” ๒๘
๖.๑) ร่ายสุภาพ ๒๘
๖.๒) ร่ายยาว ๒๙
วิทยาประยุกต์ ๓๕
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๔๗
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๔๘
๓ ฉันทลักษณ์ของ “กาพย์”

๓.๑) กาพย์ยานี ๑๑

รูปแบบ ๑ บท มี วรรค
วรรคหน้า มี ค�ำ
วรรคหลัง มี ค�ำ
๑ บท มี ค�ำ

แผนผังฉันทลักษณ์กาพย์ยานี ๑๑
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

ตัวอย่างกาพย์ยานี ๑๑
เรือสิงห์ว่งิ เผ่นโผน โจนตามคลื่นฝืนฝ่าฟอง
ดูยิ่งสิงห์ล�ำพอง เป็นแถวท่องล่องตามกัน
นาคาหน้าดังเป็น ดูเขม้นเห็นขบขัน
มังกรถอนพายพัน ทันแข่งหน้าวาสุกรี
(กาพย์เห่เรือ)

12
๓.๒) กาพย์ฉบัง ๑๖

รูปแบบ ๑ บท มี วรรค
วรรคหน้า มี ค�ำ
วรรคกลาง มี ค�ำ
วรรคหลัง มี ค�ำ
๑ บท มี ค�ำ

แผนผังฉันทลักษณ์กาพย์ฉบัง ๑๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

ตัวอย่างกาพย์ฉบัง ๑๖
ลมปัดดอกดวงร่วงไสว กลิ่นรื่นชื่นใจ
อบในทุกแหล่งแห่งหน
หึ่งหึ่งผึ้งภู่จู่วน หมู่นกอนนต์
งามขนงามเสียงเพียงพิณ
(ค�ำกาพย์เรื่องพระศิวประติมา)

13
๓.๓) กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘

รูปแบบ ๑ บท มี วรรค
ทุกวรรค มี ค�ำ
๑ บท มี ค�ำ

แผนผังฉันทลักษณ์กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔

14
ตัวอย่างกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
วันนั้นจันทร มีดารากร เป็นบริวาร เห็นสิ้นดินฟ้า
ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร
เย็นฉ�่ำน�ำ้ ฟ้า ชื่นชะผกา วายุพาขจร สาระพันจันทน์อิน
รื่นกลิ่นเกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวียนระวัน
(กาพย์พระไชยสุริยา)

หลักการจ�ำสัมผัสบังคับของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
สัมผัสระหว่างวรรคในแต่ละบท
๑ ๒ = ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒
๓ ๕ = ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ส่งสัมผัสไปยังค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๕
๕ ๖ = ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๕ ส่งสัมผัสไปยังค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๖
สัมผัสระหว่างบท
๗ ๓ = ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๗ ในบทก่อนหน้า ส่งสัมผัสไปยัง
ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ในบทต่อมา

15
๖. ข้อใดเรียงวรรคเป็นค�ำประพันธ์ได้อย่างถูกต้อง
ก. กลิ่นคนคาวฉาวเหม็นไกล ข. คาวปลาว่าเหม็นคาว
ค. ปลาคาวซาวเพียงหน ง. ปลาไม่คาวเท่าคาวคน
๑ ขงคก ๒ ง ก ค ข
๓ ขคงก ๔ กงคข

๗. ค�ำประพันธ์ต่อไปนี้ควรจัดเรียงวรรคใหม่ให้ถูกต้องตามข้อใด
(ก) ไก่เถื่อนอันตระการ (ข) อเนกนกในไพรสณฑ์
(ค) กวักกว่าเปล้าปล่าโจษจล (ง) นกกดสองส่งเสียงหวาน
(จ) ออกเอี้ยงอลวน (ฉ) ก็ร้องวังเวงเวหา
๑ (ก) – (ง) – (ค) – (ข) – (ฉ) – (จ)
๒ (ง) – (ก) – (ข) – (ค) – (จ) – (ฉ)
๓ (ข) – (ก) – (ง) – (จ) – (ค) – (ฉ)
๔ (ค) – (ฉ) – (จ) – (ง) – (ก) – (ข)

๘. ข้อความต่อไปนี้หากจัดวรรคให้ถูกต้องจะเป็นค�ำประพันธ์ประเภทใด
“แลหลังละลามโลหิตโอ้เลอะหลั่งไปเพ่งผาดอนาถใจระกะร่อยเพราะรอยหวาย”
๑ โคลง ๒ ฉันท์
๓ กาพย์ ๔ กลอน

37
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
ความงามทางภาษาในงานประพันธ์
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : ความงามทางภาษาในงานประพันธ์
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152078023*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ G
๑) กลวิธีการประพันธ์ ๑
๑.๑) การสรรค�ำ ๑
๑.๒) การซ�้ำค�ำ ๔
๑.๓) การเล่นค�ำ ๕
๑.๔) การเล่นเสียง ๖
๑.๔.๑) การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ ๖
๑.๔.๒) การเล่นเสียงสัมผัสสระ ๗
๑.๔.๓) การเล่นเสียงวรรณยุกต์ ๘
๑.๕) การใช้ค�ำอัพภาส ๙
เรื่อง หน้า
๒) จุดมุ่งหมายของกวีในการน�ำเสนอสาร ๑๒
๒.๑) แสดงจินตภาพ ๑๒
๒.๑.๑) จินตภาพทางภาพ ๑๒
๒.๑.๒) จินตภาพทางเสียง ๑๓
๒.๑.๓) จินตภาพทางกลิ่น ๑๔
๒.๑.๔) จินตภาพทางรสชาติ ๑๔
๒.๑.๕) จินตภาพทางการสัมผัส ๑๕
๒.๒) แสดงอารมณ์ ๑๘
๒.๓) แสดงความคิด ๑๙
๓) ภาพพจน์ท่มี ักปรากฏในวรรณคดี ๒๐
๓.๑) อุปมา ๒๐
๓.๒) อุปลักษณ์ ๒๑
๓.๓) บุคคลวัต หรือบุคคลสมมุติ ๒๒
๓.๔) การใช้ค�ำถามเชิงวาทศิลป์ ๒๓
๓.๕) อติพจน์ ๒๓
๓.๖) สัทพจน์ ๒๔
๔) กวีโวหาร ๒๖
๔.๑) เสาวรจนี ๒๖
๔.๒) นารีปราโมทย์ ๒๘
๔.๓) พิโรธวาทัง ๒๙
๔.๔) สัลลาปังคพิสัย ๓๐
วิทยาประยุกต์ ๓๑
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๔๔
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๔๕
๑.๓) การเล่นค�ำ

หมายถึง การใช้ค�ำที่มีเสียงหรือรูปค�ำเหมือนกัน แต่ความหมายแตกต่างกัน


= ใช้ ได้แก่
ค�ำ =
ค�ำ =
ค�ำ =

ตัวอย่าง (ง)
เบญจวรรณจับวัลย์ชาลี เหมือนวันพี่ไกลสามสุดามา
นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
(อิเหนา)
เล่นค�ำ “ ”
ตัวอย่าง (จ)

บางระมาดมาดหมายสายสวาท ว่าสมมาดเหมือนใจแล้วไม่เหมือน
แสนสวาทมาดหมายมาหลายเดือน มีแต่เคลื่อนแคล้วคลาดประหลาดใจ
(นิราศพระประธม)
เล่นค�ำ “ ”

5
๑๑. ข้อใดไม่ปรากฏในค�ำประพันธ์ต่อไปนี้
สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บ ใจนา
เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้
ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย
ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา
๑ การซ�้ำค�ำ ๒ การเล่นค�ำ
๓ การใช้สัมผัสพยัญชนะ ๔ การใช้ค�ำถามเชิงวาทศิลป์

๑๒. ค�ำประพันธ์ต่อไปนี้วรรคใดมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
สองหูดั่งกลีบบุษบัน สี่เท้ายืนยันจับกลิ่น
เยื้องย่องท�ำนองดังหงส์บนิ งามสิ้นทั่วสรรพางค์กาย
๑ วรรคที่ ๑ ๒ วรรคที่ ๒
๓ วรรคที่ ๓ ๔ วรรคที่ ๔

๑๓. ข้อใดไม่มกี ารเล่นค�ำ


๑ นามแก้วดอกแก้วคือ แก้วเนตรพี่นี้ใช่ใคร
๒ เบญจวรรณวันจากเจ้า ก�ำสรดเศร้าแทบวายวาง
๓ งามทรงวงดังวาด งามมารยาทนาดกรกราย
๔ นางแย้มดุจเรียมยล น้องแย้มยิ้มพริ้มพรายงาม

36
เอกสารประกอบการเรียน วิชา
ภาษาไทย
โวหารการเขียน
เอกสารประกอบการเรียน วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้น : ม.ปลาย
เรื่อง : โวหารการเขียน
เจ้าของลิขสิทธิ์ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

*4630152079123*

พิมพ์ที่ : โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน


สงวนลิขสิทธิ์ : ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียน ดัดแปลง ทำ�ซ้ำ� ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของเอกสารชุดนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน เท่านั้น
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตารางเก็งประเด็นที่มักออกสอบสนามต่าง ๆ F
๑) บรรยายโวหาร ๑
๒) พรรณนาโวหาร ๓
๓) อธิบายโวหาร ๕
๓.๑) การชี้แจงตามล�ำดับขั้น ๗
๓.๒) การยกตัวอย่าง ๙
๓.๓) การเปรียบเทียบข้อเหมือนและข้อแตกต่าง ๑๑
๓.๔) การชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน ๑๒
๓.๕) การให้นยิ ามหรือให้ความหมาย ๑๔
วิทยาประยุกต์ ๒๒
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ๓๓
ตารางบันทึกปัญหาระหว่างฝึกท�ำแนวข้อสอบ ๓๔
๑ บรรยายโวหาร
มุ่งเน้นการเล่าเรื่อง ล�ำดับเหตุการณ์ท่ไี ม่ใช่การล�ำดับตามขัน้ ตอนหรือวิธีการท�ำสิ่งต่าง ๆ
แสดงให้ทราบว่า “ใคร ท�ำอะไร” (ที่ไหน / เมื่อไหร่ / อย่างไร)
ไม่จ�ำเป็นต้องเรียงล�ำดับว่า ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ฯลฯ
= อาจสลับองค์ประกอบเหล่านี้ได้ แต่ต้องสามารถท�ำให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านรับรู้ได้ว่า
ใคร + ท�ำอะไร
ไม่เน้นการให้รายละเอียดหรือส่วนขยาย
ไม่ใช้ภาพพจน์ชนิดต่าง ๆ
บรรยายโวหารอาจเขียนด้วยรูปแบบร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้และไม่จ�ำกัดความยาว
ของข้อความ

ตัวอย่าง ก
เมือ่ ช่วงปีใหม่ หลายคนหลายครอบครัวอาจใช้เวลาร่วมกันได้มากยิง่ ขึน้ รับประทานอาหาร
ร่วมกันหรือไปเทีย่ วต่างจังหวัดด้วยกัน ครอบครัวของเราก็เช่นกัน เราใช้เวลาส่วนใหญ่ไปเทีย่ ว
ชมวัดและท�ำบุญไหว้พระกันทัง้ ในกรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียง หากหยุดติดต่อกันเป็นสัปดาห์
เราอาจเหลือช่วงท้ายของวันหยุดส�ำหรับนอนพักผ่อนให้เต็มที่ เพือ่ ลดความเหน็ดเหนือ่ ยหรือ
ความเมื่อยล้าจากการตะลอนเที่ยวในวันก่อน ๆ
(สุรเชษฐนิพนธ์)

1
๑๐. ค�ำประพันธ์ต่อไปนี้ใช้โวหารการเขียนตามข้อใด
บัดนัน้ จึ่งนางผีเสื้อใจกล้า
อ้าปากกว้างใหญ่มหึมา สองตาดั่งแสงไฟกาล
หมายจะคาบพานรินทร์ กลืนกินเป็นภักษาหาร
ก็เผ่นโผนโจนจากชลธาร ขึ้นไล่รุกรานชิงชัย
๑ บรรยาย
๒ พรรณนา
๓ พรรณนา อธิบาย
๔ พรรณนา บรรยาย

๑๑. ข้อใดใช้โวหารบรรยาย
๑ ทิวแถวของสนทะเลโค้งขนานไปตามความยาวของหาดทราย ท้องทะเลกระเพือ่ มคลืน่
อย่างร่าเริง
๒ ความใฝ่ฝนั ของฉันในวันนัน้ ท�ำให้ชวี ติ ฉันพลัดหลงอยูใ่ นป่าชัฏแห่งความทุกข์อนั ลึกล�ำ้
และรกร้างเดียวดาย
๓ หลังจากที่ผีเสื้อทัง้ ฝูงบินขึ้นไปหมุนวนอยู่ในท้องฟ้าเหนือหมู่บ้านแล้ว แม่นกกางเขน
จึงร่อนถลาเข้าไปในสวนดอกไม้
๔ กลิ่นลมหายใจของทะเลแคริบเบียนแผ่มากลบกลิ่นหอมของพืชพันธุ์ในทะเลสาบ
ที่เคยอบอวลไปทั่วเวทีธรรมชาติ

27
๑๔. ข้อใดเป็นการเขียนแบบพรรณนา
๑ เรือหางยาวจอดรออยู่รมิ ตลิ่งแล้วโคลงไปมาตามแรงกระทบของคลื่น
๒ ชาวประมงออกเดินเรือไปกลางทะเลตอนเย็นแล้วรอตกหมึกในตอนค�่ำ
๓ นักประดาน�ำ้ ต่างว่ายวนไปมาเพื่อชื่นชมความงามของปะการังและปลาการ์ตูน
๔ ชายทะเลนอนเหยียดเป็นแนวยาวสุดลูกหูลูกตา ทรายสีขาวนวลดุจสีงาช้างตัดกับ
น�ำ้ ทะเลสีเขียวมรกต

๑๕. ข้อใดใช้บรรยายโวหารที่มีอธิบายโวหารประกอบ
๑ ฉันเดินหาซือ้ บ้านจนได้บา้ นขนาดก�ำลังพอดี มีทตี่ งั้ ถูกใจ ตัวบ้านโอบล้อมด้วยเนิน
เขาเตีย้ ๆ มีหญ้าสีเขียว ลมโบกโชยพัดเย็นฉ�ำ่ ตลอดทัง้ วัน
๒ ฉันเห็นดอกปีบครัง้ ใดต้องตรงเข้าไปเก็บดอกทีร่ ว่ งหล่น ปีบสีขาวปลายกลีบแหลมนี้
เรียกว่าปีบฝรัง่ ส่วนปีบอีกชนิดหนึง่ ทางเหนือเรียกว่ากาสะลอง
๓ ลูกตะขบสีแดงอย่างลูกต�ำลึง ขนาดประมาณปลายนิว้ ก้อย ลูกกลม ๆ ป่อง ๆ ผิวเต่ง
เปลือกบาง มีรสหวานจัด ข้างในมีเมล็ดเล็ก ๆ สีขาวนวลอยูเ่ ต็มไปหมด
๔ ต้นมะม่วงยืนนิง่ สงบแผ่กงิ่ ก้านสาขาให้เงาร่มรืน่ ไปทัว่ ลานดิน เด็ก ๆ นัง่ เล่นเป็นกลุม่ ๆ
ใต้ต้นมะม่วงในตอนกลางวันที่แสงแดดร้อนแรงไม่อาจมาทักทายร่มเงานี้ได้

29

You might also like