You are on page 1of 8

ชื่อ-สกุล: ชั้น: เลขที่:

ไฟฟ้าสถิต Electrostatic
บทที่ 1 ประจุไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำประจุไฟฟ้า
ทบทวนความรู้เดิม .................1.วัตถุที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า คือ วัตถุ ที่ไม่มีประจุไฟฟ้า
.................2. เราสามารถทำ ให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เป็นวัตถุมีประจุไฟฟ้าได้ โดยการถ่ายโอนประจุไฟฟ้าบวก
และประจุไฟฟ้าลบเข้าหรือออกจากวัตถุนั้น

ชาวกรีกชื่อ Thales (624-546 ฺB.C.) ค้นพบว่า


“แท่งอำพันถูกับผ้าขนสัตว์ สามารถ ดึงดูดเศษฟางข้าวได้”
ต่อมาค้นพบว่า แรงดังกว่าวมีต้นต่อมาจากประจุไฟฟ้า
อำพัน ภาษากรีกเรียกว่า

Mini Lab #1 PVC and Perspex VS ผ้าสักหลาด


-การศึกษาแรงระหว่างประจุไฟฟ้าโดยใช้ แผ่น PVC, Perspex และ ผ้้าสักกหลาด

ขั้นตอนการทดลอง
ผูกเชือกกับแท่ง PVC ให้ลอยนิ่งในแนวระดับ
ขัดถู แท่ง PVC ที่แขวนด้วยผ้าสักหลาด

1.ขัดถู แท่ง PVC กับผ้าสักกะหลาด จากนั้นนำเข้าไปใกล้กับแท่งที่ถูกแขวนไว้(PVC) --> บันทึกผลการทดลอง


---->

2.ขัดถู แท่ง Perspex กับผ้าสักกะหลาด จากนั้นนำเข้าไปใกล้กับแท่งที่ถูกแขวนไว้(PVC) --> บันทึกผลการทดลอง


---->

สรุปผลการทดลอง
ประจุไฟฟ้ามี ................... ชนิด
ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน .....................................
ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน .......................................

Kru Fluke Panwaris


ประจุไฟฟ้าเหล่านี้ มาจากไหน ?
“สสารทั้งหลายประกอบด้วย ธาตุพื้นฐานต่างๆทีมี อะตอม เป็นฐาน”

นิวเคลียส = ...........................................................................
รอบๆนิวเคลียส = ...................................................................

โดยปกติ ถ้าจำนวน โปรตอน เท่ากับ อิเล็กตรอน วัตถุนั้นจึงแสดงคุณสมบัติ ....................................................................................

จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อนำวััตถุ มาทำการขัดสี(ขัดถูกัน) เช่น แท่ง PVC ถูกกับผ้าสักกะหลาด

สำหรับวัตถุที่เป็นของแข็ง จะเกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้าได้อย่างไร?

วัตถุใดๆ ที่จะทำหน้าที่ให้หรือรับอิเล็กตรอน
ขึ้นอยู่กับวัตถุนั้นจะสูญเสียอิเล็กตรอนได้มากกว่าหรือน้อยว่า ทำไมจึงต้องเป็นการสูญเสียอิเล็กตรอน?

ตัวอย่างที่ 1. ถ้า A สูญเสียอิเล็กตรอนได้มากกว่า B


--> A ให้อิเล็กตรอน เกิดประจุ ................................... ดังนั้น A จึงเป็นประจุ ..............................
--> B รับอิเล็กตรอน เกิดประจุ .................................. ดังนั้น B จึงเป็นประจุ ..............................
ตารางลำดับการสูญเสียอิเล็กตรอนในวัสดุประเภทต่างๆ วัสดุใดที่อยู่ลำดับก่อน (เลขน้อยกว่า) จะมีแนวโน้ม
การสูญเสียอิเล็กตรอนได้มากกว่าวัสดุที่อยู่ลำดับหลัง (เลขมากกว่า)
ตัวอย่างที่ 2. ถ้า นำผ้าไหม ถูกกับท่อเทฟลอน

--> ผ้าไหม จะ .................................. เกิดประจุ ....................................

ดังนั้น ผ้าไหม จึงเป็น .....................................

--> ท่อเทฟลอน จะ ............................... เกิดประจุ ..................................

ดังนั้น ผ้าไหม จึงเป็น ......................................

ท่อเทฟลอน ผ้าไหม
ตัวอย่างที่ 3 หวี(พลาสติก พีวีซี) เมื่อนำมาหวีผมแล้วเข้าใกล้เศษกระดาษ จะเกิดอะไรขึ้น

Kru Fluke Panwaris


โดยการถ่ายเทอิเล็กตรอน เข้า หรือ ออก จากวัตถุนั้น เป็นไปตาม: ......................................................
ประจุจะไม่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่ หรือ ถูกทำลายลงได้

โดยประจุไฟฟ้าจะเป็นจำนวนเต็มเท่าของอิเล็กตรอน

ตัวอย่างที่ 4 ลูกพิธที่เป็นกลางทางไฟฟ้าลูกหนึ่ง ตัวอย่างที่ 5 ลูกพิธที่เป็นกลางจะต้องรับอิเล็กตรอน


10
สูญเสียอิเล็กตรอนไป 10 ตัว ลูกพิธนี้จะมีประจุไฟฟ้าเท่าใด เข้าไปเท่าใดจึงจะมีประจุไฟฟ้า -3.2 C

Mini Lab #2 ความลับของไม้บรรทัด


ถ้าใช้ไม้บรรทัดพลาสติกและไม้บรรทัดโลหะ ถูกับผ้าไหม นำเข้าใกล้เศษกระดาษ จะเกิดอะไรขึ้น

ข้อสันนิษฐาน ผลการทดลอง

ประจุไฟฟ้า จะ.................................................................. และ ประจุไฟฟ้า จะ.................................................................

วัตถุที่ได้รับประจุไฟฟ้าแล้ว ประจุไฟฟ้า.................................................................. เรียกว่า .................................................

เช่น ............................................................................................
วัตถุที่ได้รับประจุไฟฟ้าแล้ว ประจุไฟฟ้า.................................................................. เรียกว่า ........................................

เช่น ............................................................................................

Kru Fluke Panwaris


ถ้านำ วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า (จากการขัดสี/ขัดถู) เข้าใกล้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า บวก จะเกิดอะไรขึ้น ?? วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า บวก จะเกิดอะไรขึ้น ??

การนำวัสดุที่มีประจุไฟฟ้า เข้าใกล้วัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า จะเกิด........................................................................


เรียกว่า

การเหนี่ยวนำประจุไฟฟ้า เพื่อให้เกิดประจุบนตัวนำแบบต่างๆ
ทรงกลมโลหะ

Kru Fluke Panwaris


ทบทวนความรู้เดิม .................3. เมื่อต่อสายดินกับวัตถุที่มีประจุ โปรตอน และอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ จนกว่าวัตถุจะ
เป็นกลางทางไฟฟ้า
แผ่นโลหะบาง

จากหลักการการเหนี่ยวนำประจุไฟฟ้า
สามารถประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ตรวจสอบว่ามีประจุหรือไม่ >>

บันทึกผลการทดลองได้ ดังนี้

Kru Fluke Panwaris


จะทำการเหนี่ยวนำให้ลูกพิธเกิดประจุบนลูกพิธได้อย่างไร และ จะตรวจสอบหาชนิดของประจุบนลูกพิธได้
อย่างไร
นำสายดินออก แต่ยังคงเหนี่ยวนำประจุ
ลูกพิธ ตัวนำที่เป็นกลางทางไฟฟ้า

นำประจุ บวก มาล่อ ตรวจสอบประจุกับแท่งทดสอบตัวนำ

ต่อสายดิน*****

นำสายดินออก แต่ยังคงเหนี่ยวนำประจุ
ลูกพิธ ตัวนำที่เป็นกลางทางไฟฟ้า

นำประจุ ลบ มาเข้าใกล้ ตรวจสอบประจุกับแท่งทดสอบตัวนำ

ต่อสายดิน*****

Kru Fluke Panwaris


ถ้านำวัตถุที่มีประจุ บวก เข้าใกล้ จะเกิดอะไรขึ้น

1.ถ้านำวัตถุที่มีประจุ บวก เข้าใกล้

2.ต่อสายดิน(โดยการใช้มือจิ้มแตะ)

3.นำสายดินออก

4.นำประจุบวกออก

Kru Fluke Panwaris


ถ้านำวัตถุที่มีประจุ ลบ เข้าใกล้ จะเกิดอะไรขึ้น

1.ถ้านำวัตถุที่มีประจุ ลบ เข้าใกล้

2.ต่อสายดิน(โดยการใช้มือจิ้มแตะ)

3.นำสายดินออก

4.นำประจุบวกออก

Kru Fluke Panwaris

You might also like