You are on page 1of 25

เสารับแรงตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั

y
y

ex My
ex 
My P
Mx ey Mx
ey 
x P
x

รู ปที่ 5.9 เสารับโมเมนต์ ดัดร่ วมกับแรงอัดตามแนวแกน

P
y

P
A
My
Mx

y y
Mx
My
Sx My Mx Mx
Sy Sy

My x x
Sx

รู ปที่ 5.10 การกระจายหน่ วยแรงบนหน้ าตัดเสาเนื่องจากโมเมนต์ ดัดและแรงอัดตามแนวแกน


หน่วยแรงสูงสุดที่เกิดขึ้นบนหน้าตัดเสาเนื่องจากโมเมนต์ดัดและแรงอัดตามแนวแกนจะ
เท่ากับ
P Mx My
f a  f bx  f by     หน่วยแรงที่ยอมให้
A Sx Sy
ในกรณีที่หน่วยแรงที่ยอมให้ไม่เท่ากันสําหรับการอัดและการดัดจะต้องเทียบอัตราส่วนของหน่วย
แรงที่เกิดขึ้นกับหน่วยแรงที่ยอมให้ไม่ให้เกินกว่า 1.0 ดังสมการ

f a f bx f by
   1.0
Fa Fbx Fby
เมื่อ Fa Fbx Fby เปนหน่วยแรงอัด และหน่วยแรงดัดที่ยอมให้ เมื่อพิจารณาการดัด
รอบแกน x และ y ตามลําดับ
P
Interaction Diagram
(เส้นที่เสาวิบัติ)
จากการวิเคราะห์โ ดยทฤษฎีกําลัง
พืน้ ทีส่ ่ วนทีเ่ กิดการวิบัติ
พื้นที่ส่วนวิบัติ
พืน้ ทีส่ ่ วนทีไ่ ม่ ปลอดภัย การวิบัติโ ดย
แต่ ยงั ไม่ เกิดการวิบัติ แรงอัดเปนหลัก
สภาวะสมดุล
Interaction Diagram 1
จากการวิเคราะห์โ ดยทฤษฎี eb
หน่วยแรงใช้งาน
M
eb  b
พืน้ พืที้นส่ ที่ ว่สนปลอดภั
่วนปลอดภั
ยย Pb
การวิบัติโ ดย
แรงดึงเปนหลัก

รูปที่ 5.11 Interaction Diagram ของเสารับโมเมนต์ ดัดและแรงอัดตามแนวแกน


P

Po
1 1 1
ea  M s (  )
ea Pa Po

Pa พืน้ ทีส่ ่ วนไม่


ปลอดภัย

1 Mb
eb eb 
พืน้ ทีป่ ลอดภัย Pb
Pb

M
Mo Mb Ms
รู ปที่ 5.12 Interaction Diagram สํ าหรับเสาในวิธีหน่ วยแรงใช้ งาน
ในกรณี เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับนํ้าหนัก ตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ทําให้เกิด ระยะเยื้องศูนย์ไม่
มาก  e  ea  หน่วยแรงและความเครี ยดจะเป็ นแบบอัดตลอดหน้าตัด

ระยะเยื้องศูนย์ที่ทาํ ให้หน่วยแรงในคอนกรี ตถึงหน่วยแรงอัดที่ยอมให้และเหล็กเสริ มถึงหน่วยแรง


ดึงที่ยอมให้พอดีเรี ยกว่า ระยะเยื้องศูนย์สมดุล( eb )

เมื่อระยะเยื้องศูนย์นอ้ ยกว่าสภาวะสมดุล  e  eb  หน่วยแรงและความเครี ยดในคอนกรี ตและเหล็ก


เสริ มจะเป็ นแบบอัดเป็ นหลัก (Compression control)

กรณี ระยะเยื้องศูนย์มีค่ามากกว่าระยะเยื้องศูนย์สมดุลจะเกิดหน่วยแรงอัดในคอนกรี ตส่ วนรับแรงอัด


และหน่วยแรงดึงในเหล็กเสริ มรับแรงดึงขึ้น คอนกรี ตอาจมีการร้าวได้ในขณะรับนํ้าหนักบรรทุกใช้
งานสําหรับกรณี น้ ี (Tension Control)
P
c c c c
e
 s'  s'  s'  s'  s'

s s s s

e 0
e eb
e  eb
รูปที่ 5.13 ความเครียดบนหน้ าตัดเสาทีร่ ับโมเมนต์ ดัดและแรงอัดตามแนวแกน
ทีร่ ะยะเยือ้ งศูนย์ ต่างๆ
การคํานวณค่ าต่ างๆบน Interaction Diagram
1) กรณีแรงอัดเป็ นหลัก(Compression control)
Pa =นํ้าหนักบรรทุกที่ได้จากสู ตรของเสา ตามสมการที่ 5.1 และ 5.2
Pa  0.85 Ag (0.25 f c'   f s ) สําหรับเสาปลอกเดี่ยว
Pa  Ag (0.25 f c'   f s ) สําหรับเสาปลอกเกลียว
Po  Fa Ag
Fa  0.34(1   g m) f c' = หน่วยแรงอัดที่ยอมให้ของคอนกรี ตกรณี รับแรงอัด
fy Ast
m 
0.85 f c' Ag
I
M s  Fb S S
C
I = โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด (Moment of Inertia) คํานวณโดยใช้สูตรสําเร็ จ ดัง
ตารางที่ 5.3
1 1
ea  M s (  )
Pa Po
M a  Pa ea
2) สภาวะสมดุล
Fb  0.45 f c' หน่วยแรงอัดที่ยอมให้ของคอนกรี ตกรณี รับโมเมนต์ดดั
f a fb
Pb หาได้จากสภาวะสมดุล  1 และ M b  Pb eb
Fa Fb
eb คํานวณได้จากการใช้สูตรสําเร็ จเสนอโดย วสท. ดังแสดงในตารางที่ 5.1
Pb M C Pb P e
b b b
Ag A
 I  g  S 1
Fa Fb Fa Fb
1
Pb 
 1 eb 
  
A
 g aF SF b 
3) เสารับโมเมนต์ ดัดอย่ างเดียว
สามารถคํานวณโมเมนต์ดดั ปลอดภัยที่เสารับได้ท้งั ในกรณี ดดั รอบแกน x ( M ox ) และแกน
y ( M oy ) โดยสู ตรสําเร็ จที่เสนอโดย วสท. ดังแสดงในตารางที่ 5.2

เมื่อคํานวณค่าต่างๆได้ก็นาํ มาเขียน Interaction Diagram เมื่อเสาต้องรับแรงอัดร่ วมกับ


โมเมนต์ดดั ก็นาํ มาPlot บน Interaction Diagram หากอยูใ่ นพื้นที่ปลอดภัยก็แสดงว่าเสารับแรงอัด
ร่ วมกับโมเมนต์ดดั ดังกล่าวได้อย่างปลอดภัย
ระยะเยือ้ งศูนย์สมดุล( eb )
ระยะเยื้องศูนย์สมดุลของหน้าตัดที่ทราบขนาดของเสา เหล็กเสริ ม และการจัดเรี ยงของ
เหล็กเสริ มสามารถคํานวณได้จากสู ตรสําเร็ จเสนอโดยมาตรฐาน วสท. ดังตารางที่ 5.1
y

d'
ebx  eby  0.43 g mDs  0.14 D
D
x Ds  gD

d'

t x

ebx  eby  (0.67  g m  0.17)(t  d ' )

d' gt d'

t
y

d'

t x gt ebx  (0.67  g m  0.17)(t  d ' )


eby  (0.67  g m  0.17)(b  d ' )
d'

d' gb d '
b
y

 ' m(t  2d ' )  0.1(t  d ' )


d' ebx 
As' (  '   )m  0.6
 ' m(b  2d ' )  0.1(b  d ' )
t x eby 
(  '   )m  0.6
As'
As d'  
'

bt
A
d' d'  s
bt
b
โมเมนต์ ดัดปลอดภัยทีเ่ สารับได้ กรณีเสารับโมเมนต์ ดัดอย่างเดียว M o
โมเมนต์ดดั ปลอดภัยที่เสารับได้กรณี เสารับโมเมนต์ดดั อย่างเดียว M o ของหน้าตัดที่ทราบ
ขนาดของเสา เหล็กเสริ ม และการจัดเรี ยงของเหล็กเสริ มสามารถคํานวณได้จากสู ตรสําเร็ จเสนอ
โดยมาตรฐาน วสท. ดังตารางที่ 5.2
y

d'
M ox  0.4 As f y (t  2d ' )
t x M oy  0.4 As f y (b  2d ' )
As =เหล็กเสริ มรับแรงดึง
d'
b
y

d'

t x M ox  0.4 As f y jx (t  d ' )
As =เหล็กเสริ มรับแรงดึง
d'
b

d'

t M oy  0.4 As f y j y (b  d ' )
x
As =เหล็กเสริ มรับแรงดึง
d'
b
คุณสมบัติของหน้ าตัด
คุณสมบัติของของหน้าตัดเสาที่ทราบขนาด เหล็กเสริ ม และการจัดเรี ยงของเหล็กเสริ ม
สามารถคํานวณได้จากสู ตรสําเร็ จเสนอโดยมาตรฐาน วสท. ดังตารางที่ 5.3
y 1 3 ( gt ) 2
I x  bt  Ast (2n  1)
12 6
d' 1 3 ( gb) 2
I y  tb  Ast (2n  1)
12 6
t x gt Ag  bt
b
' Cx 
d 2
t
d' gb d ' Cy 
2
b
y
'  Ds2
d Ix  I y  D  Ast (2n  1)
4

64 8
x Ds  gD 
D Ag  D2
4
D
d ' Cx  C y 
2

y
1 3 ( gt ) 2
I x  bt  Ast (2n  1)
12 4
d' 1 3 ( gb) 2
I y  tb  Ast (2n  1)
12 4
t x gt Ag  bt
b
d ' Cx 
2
t
d' gb d ' Cy 
2
b
5.5.2 กรณีเสารับโมเมนต์ ดัดและแรงอัดทั้งสองแกน
ให้ตรวจสอบการรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั รอบทั้งสองแกน (แกน x และ
แกน y)ให้ผา่ นทั้งสองแกน กรณี ไม่ผา่ น ให้เพิม่ ขนาดหน้าตัด หรื อปริ มาณเหล็กเสริ มจนผ่าน
จากนั้นตรวจสอบว่า
Mx My
  1.0
M ox M oy
ตัวอย่ างที่ 5.2 การออกแบบเสารับแรงอัดและโมเมนต์ ดัดร่ วมกัน

เสาโรงงานแห่งหนึ่งยาว4เมตรรับนํ้าหนักจากโครงหลังคา5ตันผ่านจุดศูนย์ถ่วงของหน้าตัด
ส่ วนแป้ นหูชา้ งที่ปลายเสารับนํ้าหนักจากปลายคานรับเครนยกของรวมนํ้าหนักกระแทกแล้วเท่ากับ
20ตัน ห่างจากแนวศูนย์ถ่วงของเสา0.3เมตร สมมติเสามีการคํ้ายันด้านข้างตลอด เนื่องจากคานคอ
ดิน คานยึดปลายเสา และผนังก่ออิฐ จงออกแบบเสาดังกล่าว สมมติใช้คอนกรี ตและเหล็กเสริ มข้อ
อ้อยที่มีกาํ ลังของวัสดุดงั นี้
f c'  210 ksc
f y  1500 ksc
n  9.32
500mm

300mm

5ตัน 20ตัน

A A

500mm 8DB20

250mm
500mm

A-A
นํ้าหนักจากหลังคา 5 ตัน
นํ้าหนักจากคานรับเครน 20 ตัน
รวม 25 ตัน
โมเมนต์เนื่องจากการเยื้องศูนย์ =20(0.3) = 6 ตันเมตร
เนื่องจากเสามีการคํ้ายันด้านข้างตลอด จึงรับโมเมนต์ดดั รอบแกนเดียว
สมมติขนาดเสา 25x50ซม.
b= 25
t= 50
Ag  bt = (25)(50) = 1250 ตร ซม
ลองหาปริ มาณเหล็กเสริ มจากกรณี เสารับแรงอัดอย่างเดียวแล้วจึงเขียนInteraction Diagram
จากนั้นตรวจสอบว่าเสารับแรงอัดและโมเมนต์ดดั ได้หรื อไม่
Pa  0.85 Ag (0.25 f c'   f s )
f s  0.85 Ag  0.4(3000)  0.85(1250) 
ต้องการหน้าตัดเหล็กเสริ ม As   Ag  0.0196(1250)  24.51 ตร ซม
สมมติใช้เหล็กเสริ มข้ออ้อย 8DB20
Ast  8(3.14)  25.13 ตร. ซม
y

d'

t x gt

d'

d' gb d '
b
d' = 5ซม.
A 25.13
  st   0.02
Ag 1250
เมือ่ เสารับแรงอัดเป็ นหลัก

Pa  0.85 Ag (0.25 f c'   f s )


 0.85(1250)  0.25(210)  0.02(1200)
 81417kg  81.4 ton
fy 3000
m '
  16.81
0.85 f c 0.85(210)
Fa  0.34 f c' (1   g m)  0.34(210) 1  0.02(16.81)   95.53 ksc
1
Po  Fa Ag  95.53(1250)  119.4ton
1000
gt = 50-5-5= 40 cm.
1 3 ( gt ) 2
I x  bt  Ast (2n  1) (ดูตารางที่ 5.3)
12 6
1 (40) 2
 25(50)  25.13[2(9.32)  1]
3

12 6
 378,586 cm 4
t 50
C   25 cm
2 2
I 378586
S   15143 cm3
C 25
Fb  0.45 f c'  0.45(210)  94.5 ksc
1
M s  Fb S  94.5(15143) =14.31 ton.m
1000(100)
1 1
ea  M s (  )
Pa Po
1 1
ea  14.31(  )  0.056 m
81.42 119.41
M a  Pa ea  81.42(0.056) = 4.55 ton.m
ทีส่ ภาวะสมดุล
ebx  (0.67  g m  0.17)(t  d ' ) (ดูตารางที่ 5.1)
 [0.67(0.02)(16.81+0.17](50-5)
 17.84 cm
1 1 1
Pb    47.99 ton
 1 e   1 17.84  1000
  b  
 1250(95.53) 15144(94.5) 
 Ag Fa SFb   
1
M b  Pb eb  47.99(17.84) = 8.56 ton.m
100
เมือ่ เสารับโมเมนต์ ดดั อย่ างเดียว
ปริ มาณเหล็กเสริ มรับแรงดึง As  3(3.14)  9.43 cm 2
M ox  0.4 As f y (t  2d ' )  0.4(9.43)(3000)[50  2(5)]
(ดูตารางที่ 5.2)
 4.52 ton.m
เมื่อนําค่าต่างๆมาเขียนเป็ นInteraction Diagram จะได้ดงั รู ปจากการนําแรงอัดและ
โมเมนต์ดดั ที่เสาต้องรับนํามาพล้อตบนกราฟดังกล่าวจะเห็นว่าอยูใ่ นพื้นที่ปลอดภัย หากจุด
ดังกล่าวอยูน่ อกพื้นที่ปลอดภัยต้องเพิ่มขนาดหน้าตัดเสา หรื อปริ มาณเหล็กเสริ ม ตลอดจน
การจัดเรี ยงเหล็กเสริ มจนกว่าจุดที่พล้อตจะอยูใ่ นพื้นที่ปลอดภัย

You might also like