You are on page 1of 8

สัญญารับขน

ความหมายของสัญญารับขน

มาตรา 608 อันว่าผู้ขนส่งภายใน


ความหมายแห่ งกฎหมายลักษณะนี้
คือบุคคล ผู้รับขนส่งของหรือคน
โดยสารเพื่อบำเหน็จเป็ นทางค้า
ปกติของตน
ลักษณะของสัญญารับขน
1) เป็นสัญญาต่างตอบแทน ฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ขนส่งมีหน้าที่ขนส่ง
ของหรือ คนโดยสาร อีกฝ่ายเรียกว่าผู้รับขนส่งของหรือคนโดยสาร
มีหน้าที่ต้องจ่ายสินจ้าง ให้แก่ผู้ขนส่งเป็นการตอบแทน

2) วัตถุประสงค์ของสัญญา คือขนส่งของหรือคนโดยสารเพื่อ
บำเหน็จสิน จ้างเป็นทางค้าปกติ บำเหน็จที่ผู้ขนส่งได้รับเรียกว่า ค่า
ระวางพาหนะ

3) แบบของสัญญาขนส่ง กฎหมายมิได้กำหนดไว้ ดังนั้นจะทำด้วย


วาจาหรือ ลายลักษณ์ อักษรก็ได้
ฎีกาที่825/2508

โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยเป็นเจ้าของรถ และจัดรถ
นั้นรับคนโดยสารนำเที่ยว เก็บค่าโดยสารคนละ 55 บาท และ
โจทก์เป็นผู้โดยสารแสดงให้เห็นถึงสภาพแห่งข้อหาว่าจำเลย
มีหน้าที่เป็นผู้รับขนคนโดยสารแล้ว
เมื่อรถที่ลูกจ้างขับไปชนรถอื่นเพราะเหตุสุดวิสัยนายจ้างไม่ต้อง
รับผิดทั้งในฐานะนายจ้างและในฐานะผู้รับขนคนโดยสาร
คู่กรณี ในการขนส่ง
1) ผู้ส่งหรือผู้ตราส่ง หมายถึง บุคคลผู้ทำความตกลงกับ
ผู้ขนส่งเพื่อให้ ขน ของส่งไป (มาตรา 610 วรรคแรก)
ถ้าไม่มีการออกใบตราส่งเรียกว่า ผู้ส่ง แต่ถ้ามี การออก
ใบตราส่งเรียกว่า ผู้ตราส่ง
2) ผู้ขนส่ง หมายถึง บุคคลผู้รับขนของหรือคนโดยสาร
เพื่อบำเหน็จทางค้า ปกติของตน (มาตรา 608)
3) ผู้รับตราส่ง หมายถึง บุคคลผู้ซึ่งเขาส่งของไปถึงนั้น
(มาตรา 610 วรรคสอง) ซึ่งอาจเป็ นผู้ส่ง หรือผู้ตราส่ง
หรืออื่น ๆ
หน้าที่ของผู้ขนส่ง
1.หน้าที่ขนของจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งตามที่กำหนดใน
สัญญา เมื่อผู้ขนส่งรับของที่จะส่งไปยังปลายทางจากผุ้ส่งแล้ว
ต้องดำเนินการ
-ออกใบตราส่ง
-ต้องบอกกล่าวแก่ผู้ตราส่ง
2.หน้าที่ต้องประกันความสูญหายและบุบสลายที่อาจเกิดขึ้นแก่
ของที่รับขนนั้น
-ต้องรับผิดต่อผู้ส่งหรือผู้ตราส่ง
-ต้องขนส่วตามสัญญา ความรับผิดชอบของผู้ขนส่งสิ้นสุดลง
1.เมื่อผุ้รับตราส่งรับของที่ส่งไว้โดยไม่อิดเอื้อน เมื่อผู้ขนส่งได้ส่ง
ของที่รับส่งมาให้กับผุ้รับตราส่งหรือผุ้รับของตามที่ปรากฎใน
รายชื่อผู้รับ ทำการรับของที่ส่งมาอย่างเต็มใจโดยไม่อิดเอื้อน
ความรับผิดในการส่งของจากผู้ขนส่งก็สิ้นสุดลง
2.เมื่อผุ้ส่งหรือผุ้รับตราส่งได้ใช้ค่าระวางพาหนะกับทั้งค่า
อุปกรณ์เสร็จแล้ว กรณีเช่นนี้จะใช้กับผู้ส่งหรือผู้ตราส่งที่ใช้กับ
บริษัทผุ้ขนส่งเป็นประจำ จึงอาจมีการเก้บเงินค่าระวางพาหนะ
คือ ค่าส่งของที่ปลายทาง
ความรับผิดของผู้รับขนคนโดยสาร
1) รับผิดในความเสียหายและความชักช้าที่เกิดขึ้นกับคนโดยสาร
(มาตรา 634) เช่น ทำให้คนโดยสารได้รับบาดเจ็บ กรณีที่ผู้รับขนไม่ต้องรับ ผิดได้แก่
กรณีเกิดเหตุสุดวิสัย เช่น น้ำท่วม หรือกรณีเป็นความผิดของคนโดยสาร

2) ผู้ขนส่งต้องส่งมอบเครื่องเดินทางให้กับคนโดยสารเมื่อได้เดินทางไปถึง ปลายทาง
(มาตรา 635) เช่น เสื้อผ้าสิ่งของต่าง ๆ ของคนโดยสาร เป็นหน้าที่ของผู้ ขนส่งที่จะต้อง
ขนไปด้วย ถ้าผู้ขนส่งมอบเครื่องเดินทางให้คนโดยสารล่าช้าห ความเสียหายอย่างใด ๆ
ขึ้น ผู้ขนส่งต้องรับผิด

3) ถ้าคนโดยสารไม่รับมอบเครื่องเดินทางของตนภายในเวลาหนึ่งเดือนนับ แต่วัน
เครื่องเดินทางนั้นถึงปลายทาง ผู้ขนส่งอาจเอาออกขายทอดตลาด ถ้าเครื่อง เดินทางนั้น
มีสภาพเป็นของสดของเสียได้ ผู้ขนส่งอาจเอาออกขายทอดตลาดได้ เมื่อ ของนั้นถึงแล้ว
รออยู่ล่วงเวลากว่า 24 ชั่วโมง
เมื่อเอาเครื่องเดินทางออกขายทอดตลาดแล้วได้เงินจำนวนสุทธิเท่าใด ให้หักเอาเป็น
ค่าระวางพาหนะและค่าอุปกรณ์ ถ้ายังมีเงินเหลืออยู่ต้องส่งมอบให้ แก่บุคคลผู้ควรที่จะ
ได้เงินนั้นโดยพลัน (มาตรา 636)

4)ผู้รับขนต้องรับผิดกรณีที่เครื่องเดินทางสูญหายหรือบุบสลายไปเพราะ
ความผิดของผู้ขนส่งหรือลูกจ้างของผู้ขนส่ง หมายเครื่องเดินทางจากผู้โดยสารก็ตาม
(มาตรา 638) แม้เป็นกรณีที่ผู้รับขนมิได้รับมอบ

5)ข้อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่งที่ระบุไว้ในตั๋วใบรับ เอกสาร อื่นทำนอง


นี้เป็นโมฆะ เว้นแต่คนโดยสารจะได้ตกลงด้วยชัดแจ้งในการยกเว้นหรือ จำกัดความรับ
ผิดเช่นนั้น

You might also like