You are on page 1of 50

ระบบอนุ ภาค

น.อ.รศ.ศรี ทศั น์ ชัยมี


จุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity) : คือจุดทีน่ ้ำหนักรวมของวัตถุตกผ่าน

จุดศูนย์ถ่วง ( C. G. ) ของระบบมวล m1 , m2 , m3 ทีย่ ดึ ติดกันด้วยแกนเบา


จะมีลกั ษณะดังรูป

m1 m2 C.G. m3

(m1+m2+m3)g

2
การหาตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วง x3
x2
A B G C
กรณีจุดหมุนอยู่ทีป่ ลาย :
m1g m 2g m 3g
X

คิดโมเมนต์รอบจุด A จะได้ Mg

m1g( 0 ) m 2 g( x 2 )m 3g( x 3 )MgX

m1x1g  m 2 x 2 g  m 3 x 3g
ดังนัน้ ตำแหน่งของ C.G. X
Mg
3

m x g
i 1
i i
X 3

m g
i 1
i
3
กรณีจุดหมุนอยู่ทีต่ รงกลาง : x1
x2
x3
A B G C
X
m1g m2 g m 3g

คิดโมเมนต์รอบจุด O จะได้ Mg

m1g  x1 m 2g  x 2 m3g x 3 MgX


3

m x g i i
ดังนัน้ ตำแหน่งของ C.G. X i 1
3

m g
i 1
i

4
จุดศูนย์กลางมวล ( center of mass )

 คือตำแหน่ งเฉลี่ยของมวลรวม

 มีความสำคัญในกรณี ที่วตั ถุอยู่ห่างไกลจากแรงดึงดูดของดวงดาวใด ๆ


เพราะจะทำให้มวลอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก

 การหาตำแหน่งของจุดศูนย์กลางมวลอาศัยการหาโมเมนต์ของมวล
แทนโมเมนต์ของแรง

5
y
การหาตำแหน่งของ C.M. m2 (x 2 , y 2 )

y
กรณีระบบมวล 3 ก้อน : m1 ( x 1 , y 1 )
CM ( x, y)
m3 ( x 3 , y 3 )

คิดโมเมนต์รอบแกน Y จะได้ m1x1 m 2 x 2 m 3 x 3 Mx


3

m1x1 m 2 x 2 m 3 x 3  mi x i
x  i 13
M  mi
i 1
3

m1 y1  m 2 y 2  m 3 y 3 m y i i
คิดโมเมนต์รอบแกน X จะได้ y   i 1
3
M
m
i 1
i
6
จุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุ ภาค : 
mi ri C
M
 
ri R
 ถ้าระบบมี n อนุ ภาค
 ตำแหน่งของจุดศูนย์กลางมวลจะเป็ น O
n
n
v

  
m 1 r1  m 2 r2  . . . m n rn 
i 1
m i ri
v å mi ri
R  n Þ R= i= 1
m 1  m 2  . . . m n M
m
i 1
i

n n
n
m x
i 1
i i m y i i
m z
i 1
i i

องค์ประกอบ : x n y i 1
n
z n

m i m i m
i 1
i
i 1 i 1
7
จุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุภาค
ที่มีการกระจายมวลอย่างไม่ต่อเนื่องใน 1 มิติ

m1x1  m2 x2
xcm 
m1  m2
8
จุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุภาค
 างไม่ˆต่อเนื่องใน
ที่มีการกระจายมวลอย่ ˆ
3 มิ
ˆ
ติ
rcm  xcm i  ycm j  zcm k
n
1
เมื่อ xcm 
M
 mi xi
i 1
n
1
ycm 
M
 mi yi
i 1
n
1
zcm 
M
 mi zi
i 1
9
ตัวอย่ าง ระบบหนึ่งประกอบด้วยอนุภาคสองอนุภาคมวล 2.0
kg และ 3.0 kg ห่างกัน 10.0 cm ดังแสดงในรู ป จงหา
จุดศูนย์กลางมวลของระบบสองอนุภาคนี้
10.0 cm

m1  2.0 kg m2  3.0 kg

10
ตัวอย่าง 4(ก) แผ่นเหล็กมวลสม่ำเสมอรูปร่างเหมือนส่วนที่แรเงา มีสเกลในหน่ วย
เซนติเมตร จงหาพิกดั ของศูนย์กลางมวล y
30
วิธที ำ แบ่งแผ่นเหล็กออกเป็ น 3 แผ่นดังรูป 20
n n 10
m x i i m y i i
O x
และ
i 1 i 1
จาก x n y n 10 20 30
m i m
i 1
i
i 1

 xcm 
 2 10    2 5    2  20   11.7 cm
6

 ycm 
 2  25   2 10    2 5  13.3cm
6 11
ตัวอย่ าง
ระบบหนึ่งประกอบด้วยอนุภาค 3 อนุภาคใน Cartesian coordinates ซึ่ งมีมวล
3, 2 และ 5 kg ตามลำดับ อนุภาคแรกอยูท่ ี่จุด (1,1,0) อนุภาคที่สองอยูท่ ี่จุด
(1,2,1) และอนุภาคที่สามอยูท่ ี่จุด (-1,0,1) จงหาเวกเตอร์บอกตำแหน่งของ
จุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุภาคนี้

12
d

จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุเป็ นก้อน : m r
C

r

R

O
หาตำแหน่งของจุด C. M. โดยการอินทิเกรต
  r dm  r dm
R 
 dm M
องค์ประกอบ :

 xdm  xdm  ydm  ydm  zdm  zdm


x  y  z 
 dm M  dm M  dm M

13
จุดเซนทรอยด์ (Centroid)
คือตำแหน่งเฉลีย่ ทีห่ าได้จากรูปทรงเรขาคณิตของวัตถุ

การหาตำแหน่งของจุด C :
 
  r dV  r dV
จุด C ของปริมาตร rc  
 dV V

 xdV  ydV  zdV


องค์ประกอบ : xc  , yc  , zc 
V V V

เมื่อ V   dV เป็ นปริมาตร


ทัง้ หมด 14
จุด C ของพื้นที่
 
  r ds  r ds
rc  
 ds S
องค์ประกอบ :

 xds  yds  zds


xc  , yc  , zc 
S S S

S   ds เป็ นพื้นที่ทง้ั หมด


15
จุด C ของเส้น
 
  r d  r d
rc  
 d L

องค์ประกอบ :
 xd  yd  zd
xc  , yc  , zc 
L L L

L   d เป็ นความยาวทัง้ หมด

16
จุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุภาค
ที่มีการกระจายมวลอย่างต่อเนื่องใน 3 มิติ

rcm  xcm ˆi  ycm ˆj  zcm kˆ
1
xcm 
M  xdm

1
ycm 
M  ydm
1
zcm 
M  zdm

เมื่อ M   dm

17
การกระจายมวลอย่างต่อเนื่องในหนึ่ง สอง หรื อ สามมิติ

18
ตัวอย่ าง
วัตถุชิ้นหนึ่งมีลกั ษณะเป็ นแท่งโลหะยาว 2.0 m โดยมีมวลกระจาย
สม่ำเสมอ มีมวลต่อหน่วยความยาว (linear mass density)   3.0 kg m

ถ้าแท่งโลหะนี้วางตัวตามแนวแกน xโดยมีปลายข้างหนึ่งอยูท่ ี่จุด


x=0จงคำนวณหาจุดศูนย์กลางมวลของแท่งโลหะนี้

19
คำถาม

20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50

You might also like