You are on page 1of 49

ภาษาไทย หลักภาษาและ

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
การใช้ภาษา๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หน่วยการ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๑ เรียนรู้ที่ ๒

ตอนที่
ตอน ๑
การพัฒนาทักษะการ
หน่วยการ
เรียนรู้ที่
๑ อ่าน
การอ่าน
ออกเสียง

ตัวชีว
้ ัด

• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
+
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว +
การอ่านออกเสียงร้อยกรอง

แนวทางการอ่านออกเสียง แนวทางการอ่านออกเสียง
ตัวอ บท ตัวอ กลอน
บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง
ย่าง บรรยาย
บท ย่าง สุ ภาพยานี
กาพย์
พรรณนา ๑๑
กาพย์ฉบัง

การอ่านออกเสียง
๑๖
กาพย์
สุ รางคนางค์
โคลงสี ่
๒๘
สุภาพ
จะเกิดอะไรขึน้
ถ้าเราอ่านโดย
ไม่มีการเว้นวรรค

ใจดีจังให้เงิน เขาให้เงินคน
คนจน จนเขาหมดตัว
หมดตัวเลย ต่างหาก
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

ร้อยแก้ว
คือ งานเขียนประเภทความเรียง เป็ นคำหรือ
ข้อความที่เรียบเรียงโดยไม่บังคับจำนวนคำ
ในวรรค หรือสัมผัสคล้องจอง
แนวทางการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
ศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจ
ออกเสียงให้เหมาะสมกับผู้ฟังและสถานที่
อย่างเป็ นธรรมชาติ
ออกเสียงชัดเจน ถูกต้องตามอักขรวิธี เช่น
คำควบกล้ำตัว ร ล
เน้นเสียงและสื่ออารมณ์ตามเนื้อเรื่อง เช่น
เศร้า โกรธ ร่าเริง
มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ฟัง เช่น การสบตา

ถ้าอ่านในที่ประชุมต้องยืนทรงตัวในท่าที่สง่า
การอ่
การอ่านบทบรรยาย า นออกเสี ย งให้ ถก
ู ต้ อ ง ชั ดเจน เว้ น
วรรคเหมาะสม รวมไปถึงสื่ออารมณ์ตาม
เนื้อเรื่อง

ดร.โนรา โวลโกวกล่าวว่าการวิจัยนีเ้ ป็ นไปเพื่อหา


ปฏิกิริยาการทำงานของสมองต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จาก
เสาสัญญาณของมือถือ ซึ่งผลวิจัยระบุว่า การคุยมือถือแนบ
ที่มา : https://www.voicetv.co.th/
กับใบหูจะทำให้สมองใช้พลังงานมากขึน
้ ในส่ วนที่ใกล้เสา
สัญญาณมากที่สุด ใครคิดว่าอ่าน
ออกเสียงถูก
บ้าง ?
การอ่
การอ่านบทบรรยาย า นออกเสี ย งให้ ถก
ู ต้ อ ง ชั ดเจน เว้ น
วรรคเหมาะสม รวมไปถึงสื่ออารมณ์ตาม
เนื้อเรื่อง

ดร.โนรา โวลโกว/กล่าวว่าการวิจัยนี/้ เป็ นไปเพื่อหา


ปฏิกิริยาการทำงานของสมอง/ต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากเสา
สัญญาณของมือถือ ซึ่งผลวิจัยระบุว่า/การคุยมือถือ//แนบกับ
ใบหูจะทำให้สมองใช้พลังงานมากขึน
้ /ในส่วนที
ที่มา่ใ: กล้ เสา
https://www.voicetv.co.th/

สัญญาณมากที่สุด//
การอ่
การอ่านบทพรรณนา านที ม
่ ก
ี ารแทรกอารมณ์ ค วามรู
้ ส ก
ึ ให้ เกิ ด
ความซาบซึง้ ประทับใจ คล้อยตาม ใช้ถ้อยคำที่
ไพเราะและสร้างจินตนาการ

ผมผ่อนคันเร่งของรถ ก่อนลดกระจกลงทัง้ สอง


ข้างแล้วปิ ดแอร์เพื่อรับลมเย็น บางวูบไหวของสายลมผม
รู้สึกเหน็บหนาวสั่นสะท้านไปทั่วกายและหัวใจที่เจ็บร้าว
เส้นทางเบื้องหน้ายังคงคดโค้งเลาะเลียบภูเขาและป้ าไม้
ข้างทาง ต้นไม้ใหญ่เขียวขจี
ในรัก : ละเวง ปั ญจ
ลองอ่ า นออก
สดชื่น ยิ่งฉ่ำฝนด้วยแล้วยิ่งขับเน้นความเขียวสดไปทั่วสุทันง้ ทร
เสียง
ผืน ป่ า นวรรค
และเว้
กันดูนะคะ
การอ่
การอ่านบทพรรณนา านที ม
่ ก
ี ารแทรกอารมณ์ ค วามรู
้ ส ก
ึ ให้ เกิ ด
ความซาบซึง้ ประทับใจ คล้อยตาม ใช้ถ้อยคำที่
ไพเราะและสร้างจินตนาการ

ผมผ่อนคันเร่งของรถ/ ก่อนลดกระจกลงทัง้ สอง


ข้างแล้วปิ ดแอร์เพื่อรับลมเย็น//
บางวูบไหวของสายลม/ผมรู้สึกเหน็บหนาวสั่นสะท้านไป
ทั่วกาย/และหัวใจที่เจ็บร้าว// เส้นทางเบื้องหน้ายังคงคด
โค้งเลาะเลียบภูเขา/และป้ าไม้ข้างทาง//ต้
ในรัน
กไม้ ใหญ่ปั เญจสุ
: ละเวง ขียนวทร
ขจี/
สดชื่น/ ยิ่งฉ่ำฝนด้วยแล้ว/ยิ่งขับเน้นความเขียวสดไปทั่วทัง้
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

ร้อยกรอง
คือ บทประพันธ์ที่แต่งตามลักษณะข้อ
บังคับของฉันทลักษณ์
เช่น จำนวนคำสัมผัส วรรณยุกต์ เสียง
หนักเบา
แนวทางการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
อ่านออกเสียง อ่านเป็ นทำนอง
ธรรมดา เสนาะ
การอ่านที่ใช้ระดับเสียงตามปกติ เช่น การอ่านที่มีลักษณะคล้ายกับการขับร้อง
เดียวกับการอ่านทั่วไป มีการใช้ลีลาเสียง
• น้ำเสียงชัดเจนตามอักขรวิธี เช่น • ใช้ลีลาของเสียงต่าง ๆ เช่น เอื้อน
ควบกล้ำ ร ล เสียง หลบเสียง ครั่นเสียง
• อ่านเต็มเสียงและต่อเนื่อง กระแทกเสียง
• เว้นวรรคตอนการอ่านให้เหมาะกับ • เว้นวรรคตอนตามลักษณะคำ
เนื้อหา และลักษณะคำประพันธ์ ประพันธ์ เช่น กลอน โคลง กาพย์
• สื่ออารมณ์ตามเนื้อเรื่อง เช่น เศร้า • สื่ออารมณ์ต่างๆ ให้เกิดความรู้สึก
โกรธ ร่าเริง ภาพพจน์ ตามรสวรรณคดี
กลอน การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดง
อารมณ์ตามเนื้อความ
สุภาพ
๑ บาท
วรรคสดับ วรรครับ
อตีตแต่นานนิทานหลัง มีนกรัง
๑ บท
หนึ่งกว้างสำอางศรี
วรรครอง วรรคส่ง
ชื่อจัมบากหลากเลิศประเสริฐดี เจ้า
๑ วรรค
ธานีมียศกิต์มหิศรา

ดำรงภพลบเลิศประเสริฐโลกย์
กลบทมธุรสวาที : ศิริวิบุลกิเปน
ตติ, หลวงปรีชา (เซ่ง)

จอมโจกจุลจักรอรรคมหา
กลอน การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดง
อารมณ์ตามเนื้อความ
สุภาพ
๑ บาท
วรรคสดับ วรรครับ
อตีตแต่นาน/นิทานหลัง// มีน
๑ บท
กรัง/หนึ่งกว้าง/สำอางศรี//
วรรครอง วรรคส่ง
ชื่อจัมบาก/หลากเลิศ/ประเสริฐดี//
๑ วรรค
เจ้าธานี/มียศ/กิต์มหิศรา

ดำรงภพ/ลบเลิศ/ประเสริฐโลกย์
กลบทมธุรสวาที : ศิริวิบุลกิตติเปน
, หลวงปรีชา (เซ่ง)

จอมโจก/จุลจักร/อรรคมหา//
• บาทโทนิยมอ่านเสียงสูงเพื่อความไพเราะ
กาพย์ยานี • การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
๑๑ เนื้อความ

ราตรีที่เนิ่นนาน รัตติกาลที่ยาว บาท


๑ บท เอก
ไกล บาท
โท
ฉุดลากกระชากใจ ให้หวั่นไหว
ในเอกา
น้ำตาเริ่มท่วมท้น ความ
หมองหม่นยลเยือนหา ดาวลวง : เมฆา

อ้างว้างค้างดวงหน้า ดั่งเมฆา
พร่าดวงเดือน
• บาทโทนิยมอ่านเสียงสูงเพื่อความไพเราะ
กาพย์ยานี • การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
๑๑ เนื้อความ

ราตรี/ที่เนิ่นนาน// บาท
๑ บท เอก
รัตติกาล/ที่ยาวไกล// บาท
โท
ฉุดลาก/กระชากใจ// ให้หวั่น
ไหว/ในเอกา//
น้ำตา/เริ่มท่วมท้น// ความ
หมองหม่น/ยลเยือนหา// ดาวลวง : เมฆา

อ้างว้าง/ค้างดวงหน้า// ดั่ง
เมฆา/พร่าดวงเดือน
กาพย์ฉบัง • อ่านเสียงเสมอกันทุกวรรค
• การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
๑๖ เนื้อความ

วรรคสดับ วรรครับ

สัตว์จำพวกหนึ่งสมญา
๑ บท
พหุบาทา
วรรคส่ง
มีเท้าอเนกนับหลาย

เท้าเกินกว่าสี่โดยหมาย
สองพวกภิปราย สัตวาภิธาน : สุนทรภู่

สัตว์น้ำสัตว์บกบอกตรง
กาพย์ฉบัง • อ่านเสียงเสมอกันทุกวรรค
• การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
๑๖ เนื้อความ
วรรคสดับ วรรครับ

สัตว์จำ/พวกหนึ่ง/สมญา
๑ บท
พหุ/บาทา//
วรรคส่ง
มีเท้า/อเนก/นับหลาย//

เท้าเกิน/กว่าสี่โดยหมาย//
สองพวก/ภิปราย// สัตวาภิธาน : สุนทรภู่

สัตว์น้ำ/สัตว์บก/บอกตรง//
กาพย์ • อ่านเสียงกลาง ๆ เสมอกัน ยกเว้นวรรคที่ ๔ จะอ่าน
เสียงสูง หรือวรรคที่ ๒ และ ๖ อ่านเสียงต่ำ
สุรางคนางค์ • การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
เนื้อความ
๒๘
ลำนำความเหงา รายล้อมตัวเร​า แสดง
๑ บท
อะไร
บ้างว่าเหงาจิต บ้างคิดสงสัย​ เหงาคือ
สิ่งใด บอกเล่าให้ฟัง

อยู่กับตัวเอง บางครัง้ ​มันเคว้ง เพื่อน : ออมสิน

จิตใจถูกขัง
คิดแต่เลวร้าย สุดท้ายประดั​ง อยู่กับ
กาพย์ • อ่านเสียงกลาง ๆ เสมอกัน ยกเว้นวรรคที่ ๔ จะอ่าน
เสียงสูง หรือวรรคที่ ๒ และ ๖ อ่านเสียงต่ำ
สุรางคนางค์ • การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดงอารมณ์ตาม
เนื้อความ
๒๘
ลำนำ/ความเหงา// รายล้อม/ตัวเร​า//
๑ บท
แสดง/อะไร//
บ้างว่า/เหงาจิต// บ้างคิด/สงสัย//​
เหงาคือ/สิ่งใด// บอก/เล่าให้ฟัง//

อยู่กับ/ตัวเอง// บางครัง้ ​/มันเคว้ง// เพื่อน : ออมสิน

จิตใจ/ถูกขัง//
คิดแต่/เลวร้าย// สุดท้าย/ประดั​ง//
โคลงสี่ การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดง
อารมณ์ตามเนื้อความ
สุภาพ

ลมลอยคอยเป่ าให้ เย็น


กาย
๑ บท
ความเหนื่อยเนือยเหน็ดหาย
ผ่องแผ้ว
หลับเนตรนิ่งพิงกาย พัก

คำเอก คำโท จิต ได้ฤๅ


ใจบ่สงบแล้ว ย่ำ
ย้ำคำคน
โคลงสี่ การอ่านจะใช้น้ำเสียงที่เน้นการแสดง
อารมณ์ตามเนื้อความ
สุภาพ

ลมลอย/คอยเป่ าให้//
เย็นกาย//
๑ บท
ความเหนื่อย/เนือยเหน็ดหาย//
ผ่องแผ้ว//
หลับเนตร/นิ่งพิงกาย//

คำเอก คำโท พักจิต/ ได้ฤๅ//


ใจบ่/สงบแล้ว//
ย่ำย้ำ/คำคน
สรุปบท
เรียน
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว การอ่านออกเสียงร้อยกรอง

อ่านบทบรรยายอ่านบทพรรณนา อ่านธรรมดา อ่านทำนองเสนาะ


• อ่านเต็มเสียง • สอดแทรกอารมณ์ • ออกเสียงชัดเจน ถูก
• ต้ใช้
องลีลาของเสียง
• เว้นวรรคถูก • คำไพเราะ • มีอารมณ์ร่วม • มีอารมณ์ร่วม
• เว้นวรรคเหมาะสม• เว้นวรรคเหมาะสม

การอ่านออกเสียง
สรุป การอ่านออกเสียง เป็ นการอ่านให้ผู้อ่ น
ื ได้ยินเป็ นถ้อยคำ ผู้อ่านควรเตรียมตัวให้
พร้อม อ่านให้ถูกหลักปฏิบัติของแต่ละประเภท รวมไปถึงการใช้น้ำเสียงและท่าทางให้
เหมาะสม การอ่านถึงจะมีประสิทธิภาพ
ตอน ๑
การพัฒนาทักษะการอ่าน

หน่วยการ
เรียนรู้ที่
การอ่านในชีวิต
ประจำวัน
ตัวชีว
้ ัด
• จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน
• ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
• ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบและคำที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ
• ตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท
• ระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ
• ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำวิธีการใช้งานของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ในระดับที่ยากขึน

• วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาชีวิต
• มีมารยาทในการอ่าน
ลักษณะการอ่านจับใจ

+
การอ่านจับใจความสำคัญ ความสำคั ญ านจับใจ
แนวทางการอ่
ความสำคั ญ านจับใจ
ตัวอย่างการอ่
ความสำคัญ

ลักษณะการอ่านตีความ
การอ่านตีความ + แนวทางการอ่านตีความ

การอ่ า น
ในชีวิตประจำวัน
ตัวอย่างการอ่านตีความ

ลักษณะของเอกสารคู่มือ
การอ่านและปฏิบัติตาม
เอกสารคู่มือ
+ แนวทางการอ่านและ
ปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ
ตัวอย่างการอ่าน
เอกสารคู่มือ
การรู้จักสรุปเรื่องราวมี
ประโยชน์อย่างไร
ทุกครัง้ ที่นักเรียนเล่า
การ์ตูน
ไม่ค่ะ หนูเล่า
แค่เหตุการณ์
ซีรีส์ หรือละครให้ สำคัญค่ะ
เพื่อนฟั ง
นักเรียนเล่าทุกฉาก ผมก็เหมือนกัน
ครับ
ทุกตอนกันไหมคะ ? เพราะเล่าทุกฉาก
มันนานเกินไป
ครับ
การอ่านจับใจความ
สำคัญ
คือ การอ่านเพื่อหาสาระสำคัญที่ผู้
เขียนต้องการนำเสนอ
ลักษณะการอ่านจับใจความสำคัญ

• ช่วงต้นย่อหน้า
• ช่วงกลางย่อหน้า
• ช่วงท้ายย่อหน้า
• ช่วงต้นและท้ายย่อหน้า
องค์ประกอบ • สรุปเอง (กรณีที่ไม่มี
• ใจความหลัก คือ ส่วนที่ ประโยคใจความสำคัญ
สำคัญที่สุดในย่อหน้านัน
้ ปรากฏอยู่)
ๆ ตำแหน่งใจความสำคัญ
• ใจความรองหรือ
พลความ คือ ส่วนที่
ขยายใจความหลัก เพื่อ
อธิบายให้ชัดเจนขึน

แนวทางการอ่านจับใจความสำคัญ

?
ตัง้ จุดมุ่งหมายใน อ่านเนื้อเรื่องอย่าง ให้ตงั ้ คำถามว่า ใคร นำสิ่งที่ได้จากการ
การอ่าน คร่าว ๆ ทำอะไร กับใคร ตัง้ คำถามมาเรียบ
ให้ชัดเจน ให้พอเข้าใจ ที่ไหน เมื่อไหร่ เรียงใหม่
และเก็บใจความ อย่างไร
สำคัญของ
แต่ละย่อหน้า
ตัวอย่างการอ่านจับใจความสำคัญ

ความสมบูรณ์ของต้นไม้เกิดจากการเอาใจ
ใส่ คือ เข้าใจวิธีการดูแลรักษา เข้าใจความ
ต้องการของต้นไม้ เช่น ดิน น้ำ อากาศ แสง
อุณหภูมิที่เหมาะสม
ความสมบูรณ์ของต้นไม้เกิดจากการเอาใจ
ใส่ คือ เข้าใจวิธีการดูแลรักษา เข้าใจความ
ต้องการของต้นไม้ เช่น ดิน น้ำ อากาศ แสง
อุณหภูมิที่เหมาะสม
ความสุขทำให้เพิ่มเอ็นโดรฟิ นในร่างกาย
ทำให้ร้ส ู ึกดีหรือสบายตัว บรรเทาความเจ็บปวด
บรรเทาอาการซึมเศร้า คลายเครียด เพิ่มความ
เชื่อมั่นในตนเอง และยังช่วยลดน้ำหนักได้ด้วย
ความสุขจึงเป็ นตัวการให้ดูเด็กลงได้
ความสุขทำให้เพิ่มเอ็นโดรฟิ นในร่างกาย
ทำให้ร้ส ู ึกดีหรือสบายตัว บรรเทาความเจ็บปวด
บรรเทาอาการซึมเศร้า คลายเครียด เพิ่มความ
เชื่อมั่นในตนเอง และยังช่วยลดน้ำหนักได้ด้วย
ความสุขจึงเป็ นตัวการให้ดูเด็กลงได้
โดยทั่วไปผลไม้ที่ขายตามท้องตลาดส่วน
ใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกำจัดศัตรูพืช หาก
ล้างไม่สะอาดจะทำให้เกิดสารตกค้าง ทำให้มี
ปั ญหาต่อสุขภาพ ฉะนัน ้ เมื่อซื้อผักไปรับ
ประทานจึงควรล้างผักด้วยน้ำหลาย ๆ ครัง้
เพราะจะช่วยกำจัดสารตกค้างไปได้บ้าง บาง
คนอาจแช่ผักโดยใช้น้ำผสมโซเดียมไบ
คาร์บอเนต
โดยทั่วไปผลไม้ที่ขายตามท้องตลาดส่วน
ใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกำจัดศัตรูพืช หาก
ล้างไม่สะอาดจะทำให้เกิดสารตกค้าง ทำให้มี
ปั ญหาต่อสุขภาพ ฉะนัน ้ เมื่อซื้อผักไปรับ
ประทานจึงควรล้างผักด้วยน้ำหลาย ๆ ครัง้
เพราะจะช่วยกำจัดสารตกค้างไปได้บ้าง บาง
คนอาจแช่ผักโดยใช้น้ำผสมโซเดียมไบ
คาร์บอเนต
รถยนต์นับได้ว่าเป็ นพาหนะที่จำเป็ น
สำหรับคนในสังคม เพราะเพิ่มความสะดวก
รวดเร็วนอกเหนือจากความจำเป็ นพื้นฐาน
คือ ปั จจัย ๔ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยา
รักษาโรค และเครื่องนุ่งห่ม อาจกล่าวได้ว่า
รถยนต์ คือ ปั จจัยที่ ๕ ของคนในสังคม
รถยนต์นับได้ว่าเป็ นพาหนะที่จำเป็ น
สำหรับคนในสังคม เพราะเพิ่มความสะดวก
รวดเร็วนอกเหนือจากความจำเป็ นพื้นฐาน
คือ ปั จจัย ๔ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยา
รักษาโรค และเครื่องนุ่งห่ม อาจกล่าวได้ว่า
รถยนต์ คือ ปั จจัยที่ ๕ ของคนในสังคม
การเดิน การว่ายน้ำ การฝึ กโยคะ หรือการ
ออกกำลังกายประเภทต่าง ๆ ล้วนมีส่วนทำให้
สุขภาพแข็งแรง
การอ่าน
ตี ค วาม
คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้ความรู้
ความสามารถในการ แปลความ จับใจ
ความสำคัญ และสรุปความ
ลักษณะการอ่านตีความ

ความหมาย การแปลความหมายที่
แฝง
โดยตรง
ในข้อความ ซึ่งต้อง
การแปลความหมาย
สังเกตข้อความ
ตามตัวอักษร
ที่เป็ นบริบทแวดล้อมย
ความหมายโดยนั
ประกอบด้วย
แนวทางการอ่านตีความ

อ่านเรื่องให้ละเอียด ทำความเข้าใจ
เรื่อง
ทำความเข้าใจคำศัพท์ สำนวน หรือถ้อยคำ ตลอดจน
คำแวดล้อมหรือบริบท 
พิจารณาคำศัพท์ สำนวน หรือถ้อยคำ ว่ามีความหมาย
ใดแฝงอยู่
จับใจความสำคัญของเรื่องนัน
้ โดยใช้ความรู้
ความคิดอย่างมีเหตุผล
เรียบเรียงถ้อยคำจากการตีความขึน
้ ใหม่ให้มีความ
หมายชัดเจน ปราศจากอคติ
ตัวอย่างการอ่านตีความ

คิดว่าปั จจุบันสมคิด
อยู่ภาคใด ?

เมื่อปี ก่อนสมคิดอยู่
เชียงใหม่
ปี ถัดไปย้ายไปเรียนที่
ลำปาง
การอ่าน
ตีความ
คำทีข
่ ีดเส้นใต้
มีความหมายอย่างไร
บ้าง ?
สมศรีเป็ นดาวเด่นใน
การประกวดเชียร์ลีดเดอร์
ซึ่งขัดกับบุคลิกของเธอที่มี
ลักษณะเหมือนลิง เธอมัก
พูดจาภาษาดอกไม้
การอ่านและปฏิบัติตาม
เอกสารคู ม
่ อ

เอกสารคู่มือ คือ งานเขียนประเภทหนึ่ง ที่
รวบรวมคำสั่งหรือ
คำชีแ
้ จง โดยระบุทีละขัน้ ตอน เพื่อควบคุมให้
ผู้ปฏิบัติ
ทำตามได้อย่างถูกต้อง
ลักษณะของเอกสารคู่มือ

เนื้อหากระชับ ชัดเจน เนื้อหามีความเป็ น


เข้าใจง่าย ปั จจุบัน

เป็ นประโยชน์สำหรับ มีภาพตัวอย่างประกอบ


การทำงาน

เหมาะสมกับองค์กรและผู้ใช้ แสดงหน่วยงานที่จัดทำ วันที่


งานแต่ละกลุ่ม เริ่มถือปฏิบัติ
แนวทางการอ่านและปฏิบัติตามเอกสาร
คู่มือ

อ่านช้า ๆ อย่าง หากเกิดความสงสัย ปฏิบัติตามขัน


้ ตอน
ละเอียด ให้สอบถามผู้รู้ ในคู่มืออย่าง
และรอบคอบ ไม่ควรคาดเดาเอง เคร่งครัด
ตัวอย่างการอ่าน
เอกสารคู่มือ
วิธีการใช้

ใช้น้ำเกลือและสำลี ใช้สำลีซับ ทาครีมบาง ๆ


ทำความสะอาดแผล แผลให้แห้ง บริเวณแผล
อย่างเบามือ ๒-๓ ครัง้ ต่อวัน
หมายเหตุ : ๑. ใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ตามที่ระบุไว้เท่านัน

๒. สามารถใช้ได้ทงั ้ บริเวณใบหน้า
และร่างกาย
ผลิตโดย : บริษัท ยาดี จำกัด
ข้อมูลเพิ่มเติม : ๐-๒๒๒๒-๒๒๒๒
วันผลิต : ๓๐/๐๓/๒๐
วันหมดอายุ : ๓๐/๐๓/๒๑
สรุปบทเรียน
การอ่านในชีวิตประจำวัน
การอ่านจับใจความสำคัญ การอ่านตีความ การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารค
ลักษ ลักษณะ ลักษณะ
ณะ
องค์ประกอบ ตำแหน่งใจความ • ความหมาย • สัน้ เข้าใจง่าย
• ใจความหลัก สำคัญ โดยตรง • มีประโยชน์
• ใจความรอง • ต้น • ความหมายโดย • เป็ นปั จจุบัน
• กลาง นัย • มีภาพประกอบ
• ท้าย แนวทางการอ่าน
แนวทางการอ่าน • อ่านทัง้ หมดอย่าง แนวทางการอ่าน
• ต้นและท้าย
• อ่านทัง้ หมดคร่าวๆ • อ่านช้า ๆ ให้เข้าใจ
• สรุปเอง ละเอียด
• ตัง้ คำถามว่า ใคร ทำ • ไม่เข้าใจให้ถามผู้รู้
• พิจารณาคำศัพท์
อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ • จับใจความสำคัญ • ปฏิบัติตามทุกข้อ ไม่
อย่างไร • นำมาเรียบเรียงใหม่ ข้ามขัน้ ตอน
• สรุ
นำสิ ป ่งการอ่
ที่ได้มาาเรี
นจัยบบเรี ยง
ใจความสำคั ญ คือ การอ่านเพื่อสรุปสาระสำคัญของข้อความ การอ่านตีความ คือ การอ่านเพื่อพยายาม
ใหม่
เข้ าใจความหมายที่ผู้เขียนต้องการสื่อ ส่วนการอ่านเอกสารคู่มือ คือ การอ่านเพื่อนำไปปฏิบัติตามขัน ้ ตอนได้ถูกต้อง ซึ่ง
การอ่านต้องมีมารยาท เช่น ไม่ควรอ่านเสียงดัง หากเป็ นหนังสือที่ยืมมาควรอ่านด้วยความระมัดระวัง ไม่ควรอ่านเอกสาร
ของผู้อ่ นื ก่อนได้รับอนุญาต

You might also like