You are on page 1of 7

ปฏิกิรย

ิ าเคมี

ปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีกำามะถันปนอยู่
จะมีแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดขึ้นซึ่งเป็ นสาเหตุท่ีทำาให้เกิด
ฝนกรด
ฝนกรดในประเทศไทยเกิดขึ้นที่อำาเภอแมูเมาะ จังหวัด
ลำาปาง ใกล้กับโรงไฟฟ้ าที่ใช้ถูานหินเป็ นเชื้อเพลิง เพราะ
ถูานหินมักมีกำามะถัน (s) ปนอยู่ เมื่อเกิดการเผาไหม้หรือ
เกิดปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศ กลายเป็ นแก๊ส SO2 และ
SO3 ออกมาสู่อากาศและสิ่งแวดล้อม เมื่อฝนตก นำ้ าฝนจะ
ละลายแก๊สดังกลูาวกลายเป็ นกรดกำามะถันตกลงมากับฝน
และเรียกกันวูา ฝนกรด
ฝนกรดมี pH ตำ่ากวูา 5.6 เมื่อตกลงสู่ส่ิงแวดล้อม
แล้วจะทำาให้ส่ิงกูอสร้างที่เป็ นป่นสึกกรูอน ที่เป็ นโลหะเกิด
สนิ ม ใบไม้เหี่ยวตายจากยอกสู่โคนต้น แหลูงนำ้ า และดินมี
pH เป็ นกรด พืชและสัตว์นำ้าอาจตายได้ขึ้นอยู่กับสภาพกรด
วูารุนแรงเพียงใด
สำาหรับคูา pH ของนำ้ าฝน นำ้ าประปา หรือนำ้ าคลอง ให้
พิจารณาจากผลการวัดโดยใช้กระดาษย่นิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
หรือเครื่องมือวัด pH(pH-meter) ซึ่งแนวโน้ มอาจเป็ นดังนี้
ขึ้นอยู่กับแหลูงนำ้ า
นำ้ าฝน มีคูา pH ประมาณ 5.6 เพราะในนำ้ าฝนมีแก๊ส
CO2 ละลายอยู่
นำ้ าประปา มีคูา pH เป็ นกรด เนื่ องจากมีแก็สคลอรีน
ละลายอยู่
นำ้ าคลองอาจมีคูา pH เป็ นกรดหรือเบสก็ได้ ขึน
้ อยู่กับ
แหลูงนำ้ า

กระบวนการเกิดสนิ มเหล็ก
4Fe + 3O2 + 6H2 O 4Fe(OH)3 2Fe2
O3.3H2 O
ในการเกิดสนิ มมีปัจจัยที่ทำาให้เกิดสนิ มเร็วขึ้นหรือช้าลง เชูน
ความชื้น อุณหภ่มิ
สนิ มเหล็กเกิดจากเหล็กทำาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนและ
ความชื้นในอากาศ ดังนั ้นหลักในการป้ องกันก็คือ ไมูให้สัมผัสกับ
แก๊สออกซิเจนและความชื้น เชูน
• ตะป่ : เก็บโดยแชูในนำ ้ ามันหรือทาด้วยนำ ้ ามัน หรือ
ป้ องกันการเกิดสนิ มโดยอาจฉาบด้วยดีบก ุ หรือสังกะสี
• ล่กกรงเหล็กและสะพานเหล็ก : ใช้สีนำ้ามันหรือสีกัน

สนิ มเหล็กทา เพื่อป้ องกันไมูให้เหล็กสัมผัสกับแก๊ส O2


และความชื้นในอากาศ
• มีดที่ทำาจากเหล็ก : ชะโลมด้วยนำ ้ ามันหรือทำาความสะอาด
เช็ดให้แห้งแล้วเก็บในฝี กที่ปิดมิดชิด เพื่อไมูให้เหล็ก
สัมผัสกับ O
ปั จจุบันมีการปรับปรุงคุณภาพของเหล็ก โดยนำ าเหล็กมาผสมกับ
ธาตุอ่ ืน ๆ เกิดเป็ นโลหะผสมที่ไมูเกิดสนิ ม หรือชุบด้วยโลหะอื่นที่ไมู
เป็ นสนิ ม เชูน โครเนี ยม เป็ นต้น
สนิ มของตะกัว่ คือตะกัว่ ออกไซด์ (Pb3O4) มีสีแดง สนิ มของ
เงินคือ เงินออกไซด์ (Ag2 O) มีสีนำ้าตาลเข้มจนถึงดำา
สนิ มของอะล่มิเนี ยม คือ อะล่มิเนี ยมอกไซด์ (AI2O3) มีสีเทาขาว
เป็ นต้น
สม๊อก (smog) มาจากคำาวูา smoke + fog แบูงออกได้เป็ น 2
ประเภท คือ Classical smog หรือ London smog (เกิดครัง้ แรก
ที่ London ประเทศอังกฤษ) และ Photochemical smog หรือ
Los Angeles smog (เกิดครัง้ แรกที่ Los Angeles ประเทศ
สหรัฐอเมริกา)
ชนิ ดของสม๊อก ลอนดอน สม๊อก ลอสแองเจลลิส สม๊อก
ปี ท่ีเกิดครัง้ แรก พ.ศ. 2448 พ.ศ. 2494
องค์ประกอบ CO , SO2 และ CO , NOx , O3 ละออง
เขมูาควัน เล็ก ๆ ของฝู ุนและของ
นำ ้ ามันแก๊สโซลีนที่เหลือ
จากการเผาไหม้
ปั จจัยในการผลิต ควันจากการเผา ไอเสียรถยนต์ แสง
ถูานหินและหมอก อาทิตย์ และ
เขมูาควัน
สภาพที่เกิด เกิดในตอนเช้าและเย็น เกิดในเวลากลางวัน มี
ในขณะมีหมอกซึ่ง แสงอาทิตย์แรงมีควันจาก
หมอกจะรวมกับควัน ไอเสียรถยนต์มาก ๆ
จากการเผาถูานหิน อุณหภ่มิในชัน ้ บรรยากาศ
มักเกิดในบริเวณที่มี ที่ส่งขึ้นไป ส่งกวูา
ลมสงบ บรรยากาศที่พ้ืนผิว เกิด
ในเมืองใหญูและเมืองที่มี
โรงงาน
อุตสาหกรรมหนาแนู น
และในบริเวณที่มีลมสงบ
อากาศไมูถูายเท

ปฏิกริ ิยาที่เกิดจากกระบวนการทำาขนมปั ง ขนมสาลี่ ขนม


ถ้วยฟ่ และเค้ก ซึ่งการเกิดร่พรุนหรือความฟ่เบาของเนื้ อขนม เกิด
จากการสลายตัวของผงฟ่หรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต การสลาย
ตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่รถยนต์ และ
ปฏิกริ ิยาระหวูางหินป่นกับกรดกำามะถัน นอกจากนี้แล้วยังมีปฏิกิริยา
อื่น ๆ ที่พบกัน เชูน
• โปรตีนในอาหารทำาปฏิกิริยากับเอนไซม์ในกรเพาะอาหาร
และในลำาไส้เล็ก ทำาให้อาหารเกิดการสลายตัวเป็ นกรดอะ
มิโนที่รูางกายด่ดซึมไปใช้ประโยชน์ได้
• แป้ งจากอาหารทำาปฏิกริ ิยากับเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร
และในลำาไส้เล็กเกิดการสลายตัวให้กล่โคสที่ราู งกายด่ดซึม
ไปใช้เป็ นแหลูงพลังงานที่สำาคัญของรูางกาย
• การใสูป่นขาวในดินเพื่อแก้ปัญหาดินเปรีย ้ วเป็ นปฏิกิริยา
ระหวูางแคลเซียมออกไซด์กบ ั กรดในดิน
• การใช้ยาลดกรดแก้ท้องอืดท้องเฟ้ อ เป็ นปฏิกิรย ิ าระหวูา
งอะล่มิเนี ยมไฮดรอกไซด์หรือแมกนี เซียมไฮดรอกไซด์
หรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (ขึ้นอยู่กับประเภทของ
ยา) กับกรด HCI ในกระเพาะอาหาร

อัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าเคมี
จากการสำารวจปฏิกริ ิยาเคมีท่ีพบเห็นทัว่ ๆ ไป อาจจะเกิดเร็ว
คูอนข้างเร็ว หรือ เกิดช้า คูอนข้างช้า เชูน
เนื้ อเนู า (เกิดช้า) ผลไม้สุก (เกิดช้า) ประทัดระเบิด (เกิดเร็ว)
เหล็กเป็ นสนิ ม (เกิดช้า) การหมักแป้ งด้วยยีสต์ (เกิดคูอนข้างช้า) ผัก
ดอง (เกิดช้า) การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง (เร็ว) การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช (เร็ว) การยูอยอาหารในกระเพาะ (คูอนข้างเร็ว) เป็ นต้น
ปฏิกริ ิยาเคมีตูาง ๆ ที่พบในชีวิตประจำาวันจะเกิดขึ้นอยู่ตลอด
เวลาทัง้ สูวนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากการกระทบของ
มนุษย์ ซึ่งปฏิกริ ิยาเหลูานี้บางปฏิกริ ิยาเกิดขึ้นแล้วจะมีประโยชน์ แตู
บางชนิ ดกูอให้เกิดอันตรายหรือโทษแกูมนุษย์พืชและสัตว์
ปฏิกริ ิยาเคมีทัง้ หลายมีอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาตูางกัน มี
ตัง้ แตูปฏิกิริยาที่เกิดช้ามากจนสังเกตไมูได้จนถึงเกิดทันทีซ่ ึงรวดเร็ว
มาก ปฏิกิริยาที่เกิดช้า เชูน การเกิดสนิ มเหล็กโดยเหล็กทำาปฏิกิริยา
กับก๊าซออกซิเจนในอากาศ ปฏิกิริยาที่เกิดเร็วมาก เชูน การใสู
Pb(NO3)2 ลงผสมกับ KI จะได้ตะกอนเหลือของ PbI2
อยูางไรก็ตามอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเปลี่ยนแปลงได้
โดย อาจทำาให้เกิดเร็วขึ้นหรือช้าลงก็ได้ โดยการเปลี่ยนปั จจัยตูาง ๆ เชูน
ความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวสัมผัส และสภาวะบางอยูางเกี่ยวกับ
อุณหภ่มิความดัน ซึ่งจะได้กลูาวกันตูอไป
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of Chemical Reaction)
หมายถึง ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงในหนึ่ งหนู วยเวลา ซึ่ง
ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงอาจเป็ นสารตัง้ ต้นหรือสารผลิตภัณฑ์
ก็ได้

อาจกลูาวได้รวม ๆ วูา อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็คืออัตราการเกิด


ขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ หรืออัตราการลดลงของสารตัง้ ต้นก็ได้ ซึ่งโดย
ทัว่ ไปมักจะวัดจากปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้น

พลังงานกับการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี
พลังงานความร้อนและแสงที่เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
หรือที่ใช้ตัดโลหะ เหตุใดปฏิกิริยาระหวูางกรดซิตริกกับโซเดียม
ไฮโดรเจนคาร์บอเนตในกิจกรรม 7.1 จึงมีผลให้อุณหภ่มิลดลง สูวน
ปฏิกริ ิยาระหวูางกรดไฮโดรคลอริกและโซเดียมดรอกไซด์มีผลให้
อุณหภ่มิเพิ่มขึ้น เพื่อนำ าไปสู่แนวคิดที่วูา ในปฏิกิริยาเคมีสารเริ่มต้นจะ
มีการเปลี่ยนแปลงโดยแตกสลายบางพันธะเพื่อไปสร้างพันธะใหมู
ทำาให้เกิดสารใหมูท่ีเรียกวูา ผลิตภัณฑ์ ในการสลายพันธะจำาเป็ นต้อง
ได้รับพลังงาน สูวนการเกิดพันธะจะให้พลังงานออกมา เมื่อสารเกิด
ปฏิกริ ิยาเคมีและให้พลังงานความร้อนออกมาแสดงวูาพลังงานที่คาย
ออกมาจากการสร้างพันธะใหมูมีคูามากกวูาพลังงานที่ใช้ในการสลาย
พันธะในสารเริ่มต้น เรียกปฏิกริ ิยาชนิ ดนี้วูาปฏิกริ ิยาคายความร้อน
และปฏิกิริยาที่ทำาให้อุณหภ่มิของสิ่งแวดล้อมลดลง เรียกวูาปฏิกริ ิยา
ด่ดความร้อน ซึ่งแสดงวูาพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะมีคูามากกวูา
พลังงานที่คายออกมา

ปฏิกิรย
ิ าเคมีพบในชีวิตประจำาวัน
ปฏิกริ ิยาคายความร้อน ได้แกู ปฏิกิริยาระหวูางมะนาวกับดินสอ
พอง ซึ่งเป็ นปฏิกิริยาระหวูางกรดซิตริกในมะนาวกับแคลเซียม
ออกไซด์ในดินสอพอง เมื่อนำ าสารทัง้ สองมาผสมกันบนฝู ามือจะ
สังเกตเห็นฟองแก๊สและอุณหภ่มิบนฝู ามือเพิ่มขึ้นเล็กน้ อยพอร้่สึกได้
ปฏิกริ ิยาที่คล้ายคลึงกับปฏิกริ ิยาของมะนาวกับดินสอพอง คือปฏิกิรย ิ า
ระหวูางนำ ้ ายาล้างห้องนำ ้ ากับป่นยากระเบื้อง ปฏิกริ ิยาคายความร้อนที่
สำาคัญอีกปฏิกิริยาหนึ่ งคือ ปฏิกิรย ิ าการเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม ซึ่งให้
พลังงานความร้อนและแสงออกมามาก เป็ นต้น
ปฏิกริ ิยาด่ดความร้อน ได้แกู ปฏิกิริยาการสลายตัวของผงฟ่ให้
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงซึ่งเป็ น
ปฏิกริ ิยาด่ดความร้อนที่สำาคัญที่สุดในโลก

การเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี

1. สมการเคมี คือ การเขียนแสดงให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง


ทางเคมี โดยใช้ส่ตรหรือสัญลักษณ์ของการเขียน ซึ่งประกอบด้วย
4) สารตัง้ ต้น (Reactant) คือ สารที่เข้าทำาปฏิกิริยากัน
เขียนไว้ทางด้านซ้ายของสมการ
5) ผลิตภัณฑ์ (Product) คือ สารที่เกิดจากปฏิกิริยา
เขียนไว้ทางขวาของสมาการ
6) เงื่อนไข (Condition) หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการ
เกิดปฏิกิริยา เชูน ความร้อน แสง ตัวเรา ปฏิกริ ิยา
เป็ นต้น
2. หลักในการเขียนสมการเคมี
3) ต้องทราบวูาในระบบมีสารใดเป็ นตัง้ ต้นและสารใดเป็ น
ผลิตภัณฑ์
4) ต้องทราบส่ตรทางเคมีของสารทุกชนิ ดในระบบ และ
การเขียนให้เขียนสาร ตัง้ ต้นไว้ทางซ้ายมือ และ
สารผลิตภัณฑ์อยู่ทางขวามือ โดยมีล่กศรคัน ่ อยู่
ระหวูางกลาง
5) ให้ระบุสถานะของสารแตูละชนิ ดให้ชัดเจนวูาเป็ น
ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ โดยการเขียนอักษรยูอ
ตูอจากส่ตรเคมีของสารนั ้น เชูน
S ใช้แทนของแข็ง ยูอมาจาก Solid
G ใช้แทนก๊าซ ยูอมาจาก gas
L ใช้แทนของเหลว ยูอมาจาก Liguid
aq ใช้แทนสารละลายที่มีนำ้าเป็ นตัวทำาละลาย
25) เมื่อเขียนเสร็จแล้วจะต้องดุลสมการเสมอ เพื่อให้
จำานวนอะตอมของธาตุทางซ้ายและทางขวาเทูากัน
โดยการเติมตัวเลขแสดงจำานวนโมเลกุลหน้ าส่ตรของ
สารนั ้น ๆ เชูน

2H2 + O2 2H2O

ปฏิกิรย ิ าเคมีในชีวิตประจำาวัน
เมื่อมีปัจจัยบางอยูางมากระทำาตูอสารเคมี แล้วทำาให้สารเคมีเกิด
การเปลี่ยนแปลงได้สารใหมูแสดงวูาสารเคมีเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิด
ปฏิกริ ิยาเคมีบางปฏิกิริยา เชูน การลุกไหม้ของเชื้อเพลิง นำ ้ ามัน
เบนซิน ก๊าซธรรมชาติ การลุกไหม้จะเกิดขึ้นทันทีท่ีจุดไฟ แล้วเกิด
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และไอนำ ้ าหรือปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเมื่อผสม
สารละลายเลด (II) ไนเตรตลง ในสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์
ปฏิกริ ิยานี้เกิดขึ้นทันทีท่ีสารทัง้ สองผสมกันแล้วเกิดตะกอนสีเหลือง
ของเลด (II) ไอโอไดด์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีดังกลูาวใช้เวลาน้ อยจึงเป็ น
ปฏิกริ ิยาเคมีท่ีเกิดเร็ว แตูบางปฏิกิริยาเคมีอาจจะใช้เวลานาน เชูน การ
เนู าเปื่ อยของซากพืชต้องใช้เวลามากซากพืช จึงเนู าเปื่ อยหมด หรือ
การเกิดสนิ ทเหล็ก ซึ่งเกิดจากเหล็กรวมตัวกับก๊าซออกซิเจนใน
อากาศที่ขึ้น ต้องใช้เวลานานจึงจะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลง การ
เกิดปฏิกิริยา ดังกลูาวเป็ นปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดช้า การเกิดปฏิกิริยาเคมี
จะช้าหรือเร็วตูางกันขึ้นอยู่กับชนิ ดของสารตัง้ ต้น ผลิตภัณฑ์ขึ้นอยู่กับ
ปั จจัยหลายประการ

You might also like