You are on page 1of 27

พื้นฐานการชุบโลหะดวยไฟฟา

สําหรับผูบ ริหาร
การชุบโลหะดวยไฟฟา
Definition of Galvanic Industry

„ ( Electroplating )
„ คือ การเคลือบโลหะชนิดหนึ่งลงบนโลหะ
อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งจุมอยูใ นสารละลายอีเล็กโตรไลท
โดยใชกระแสไฟฟาบังคับ ใหประจุโลหะมารับ
เล็กตรอน แลวกลายเปนโลหะเคลือบติดที่ผิว
อีเล็
หลักการชุบเคลือบผิวโลหะดวยไฟฟา
Principle of Electroplating

ที่ขั้วบวก Cu Æ Cu +2 + 2e
4OH- Æ O2 + 2H2O + 4e
- ทองแดงที่ขั้วบวกละลาย
Cu++ + SO4
- เกิดกาซออกซิเจนที่ขั้วบวก

+ -
ตัวลอ ชิ้นงาน ที่ขั้วลบ Cu+2 + 2e Æ Cu
4H+ + 4e Æ 2H2
- มีทองแดงมาเกาะ
- เกิดกาซไฮโดรเจนที่ขั้วลบ
กลไกการทําลายชั้นโอโซน
ของสาร CFC (Chloroflurocarbon)

„ CCl2 F2 = Freon - 12

2CO2 Æ 2CO + O2

2CCL2F2+2O3 Æ 2CO2+O2+2F2+2CL2

CCL2F2+O3 Æ CO2+½ O2+F2+CL2


กฎของฟาราเดย (Faraday’ s Law)
กระแสไฟฟา 1 ฟาราเดย (96,485 แอมแปร-วินาที) แยกโลหะได 1 กรัมสมมูลย
„ 1. ปริมาณโลหะทีม่ าเกาะที่ขั้วลบ ขึ้นอยูกับชนิดของโลหะ
โดยแสดงเปนสมมูลยเคมี
เคมีไฟฟา
„ 2. ปริมาณโลหะทีม่ าเกาะที่ขั้วลบ ขึ้นอยูกับปริมาณของกระแสไฟฟา
M = C.I.T.A.
M คือ น้ําหนักที่มาเกาะมีหนวยเปนกรัม
C คือ สมมูลยเคมี
เคมีไฟฟาโลหะนัน้ ๆ
I คือ กระแสไฟฟาทีใ่ ชมีหนวยเปนแอมแปร
T คือ เวลาที่ใชมีหนวยเปนชั่วโมง
a คือ ประสิทธิภาพของกระแส มีคาจาก 0 ถึง 1
ถาประสิทธิภาพของกระแส 100% นัน้ คือ a=1
จุดมุงหมายของการชุบเคลือบผิวโลหะดวยไฟฟา
Objective of Electroplating

1. เพือ่ ความสวยงาม ( decorative )


2. เพือ่ ปองกันการผุกรอน ( anti - corrosion )
3. เพือ่ วัตถุประสงคเฉพาะ เชน เพิ่มความแข็ง
ที่ผิวของชิ้นงาน ( special purpose )
ประเภทของการชุบโลหะดวยไฟฟา
Type of Electroplating

1. เพื่อความสวยงาม
Cr โครเมียม Au ทอง โลหะมีคา Pt, Rh โลหะมีคา Au, Pt, Rh
Ni นิกเกิล Ni นิเกิล Ag เงิน Ni นิกเกิล
Cu ทองแดง Cu ทองแดงกรด Brass ทองเหลือง Cu ทองแดง
Fe เหล็ก Cu ทองแดงดาง Fe เหล็ก
Fe เหล็ก
ประเภทของการชุบโลหะดวยไฟฟา
Cr โครเมียม CrO3- โครเมต
Ni-B นิเกิลเงา Zn สังกะสี
Ni-S นิเกิลกึ่งเงา Fe เหล็ก
Fe เหล็ก

2. เพื่อปองกันการผุกรอน ( anti – corrosion )

3. เพื่อคุณสมบัติพิเศษ ( special purpose )


- ความแข็ง 1000 วิคเกอร
Hd Cr ฮารดโครม
Fe เหล็ก
หนาที่ของสารเคมีในการชุบโลหะดวยไฟฟา
Function of Chemicals in electroplating bath

1. ใหประจุโลหะ ( give ion metal )

2. นํากระแสไฟฟา ( conduct electricity )

3. รักษาเสถียรภาพของน้ํายาชุบ ( Stabilize )
- ปองกันไมใหคาความเปนกรดดาง
เปลี่ยนแปลงงาย
ตัวอยางของสารเคมีที่ใชในการชุบโลหะดวยไฟฟา
Example of Chemical used in electroplating bath

น้ํายาตมลางไขมัน
โซดาไฟ NaOH 5 กรัม / ลิตร
โซเดียมฟอสเฟต Na2PO4 100 กรัม / ลิตร
โซเดียมคารบอเนต Na2CO3 100 กรัม / ลิตร
ทํางานที่อณ
ุ หภูมิ ( T ) 600 C
น้ํายาชุบทองแดงดาง
Copper cyanide bath

ทองแดงไซยาไนด CuCN 25 กรัม / ลิตร


โซเดียมไซยาไนด NaCN 48 กรัม / ลิตร
โซเดียมคารบอเนต Na2CO3 40 กรัม / ลิตร
คาความเปนกรดดาง pH 12 – 12.6
อุณหภูมิ T 40 – 60 0C
ความหนาแนนกระแสไฟฟา 0.5 แอมแปร / ตร.ดม.
(current density)
น้ํายาชุบทองแดงกรด
Copper sulphate bath

คอปเปอรซัลเฟต CuSO4 200 – 250 กรัม / ลิตร


กรดกํามะถัน H2SO4 30 – 75 กรัม / ลิตร
คลอไรด (มก./ลิตร) Cl- 150 – 120
อุณหภูมิ T 20 – 50 0C
ความหนาแนนกระแสไฟฟา 1 – 10 แอมแปร / ตร.ดม.
( Current density )
น้ํายาชุบนิกเกิล
Nickel plating bath

นิกเกิลซัลเฟต NiSO4 220 – 380 กรัม / ลิตร


นิกเกิลคลอไรด NiCl2 30 – 60 กรัม / ลิตร
กรดบอริก H3BO3 30 – 40 กรัม / ลิตร
คาความเปนดาง pH 3.5 – 5.2
อุณหภูมิ T 45 – 65 0C
ความหนาแนนกระแสไฟฟา 2.5 – 10 แอมแปร / ตร.ดม.
( Current density )
น้ํายาชุบทอง
Gold plating bath

โปตัสเซียมโกลดไซยาไนด
ไซยาไนด KAu(CN)2 1.5 กรัม / ลิตร
โปตัสเซียมไซยาไนด KCN 10 กรัม / ลิตร
โปตัสเซียมโมโนไฮโดรเจนฟอสเฟต K2HPO4 15 กรัม / ลิตร
คาความเปนดาง pH 8.5 – 13
อุณหภูมิ T 50 – 60 0C
ความหนาแนนกระแสไฟฟา 1.0 – 1.5 แอมแปร / ตร.ดม.
( Current density )
น้ํายาชุบสังกะสีแบบไซยาไนด
Zinc plating bath
สังกะสีออกไซด (ZnO) 45 – 50 กรัม / ลิตร
โซเดียมไซยาไนด (NaCN) 110 - 120 กรัม / ลิตร
โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) 75 – 85 กรัม / ลิตร
น้ํายาเงา ( Brightener ) 3 มล. / ลิตร
อุณหภูมิ 25 – 40 0C
ความหนาแนนกระแสไฟฟา 1.5 – 3 แอมแปร / ตร.ดม.
น้ํายาโครเมต (สีรุง)
กรดโครมิค (CrO3) 5 กรัม / ลิตร
กรดกํามะถัน (H2SO4) 1 มล. / ลิตร
กรดดินประสิว (HNO3) 3.5 มล. / ลิตร
ขั้นตอนการชุบโลหะดวยไฟฟา
Electroplating process

1. การเตรียมผิวกอนชุบ
Pretreatment

2. การชุบเคลือบผิวโลหะดวยไฟฟา
Electroplating

3. การกระทําภายหลังการชุบ
Post - treatment
ตัวอยางกระบวนการชุบโลหะดวยไฟฟา
Example of electro plating process

Zinc plating
1. Degreasing ( No cyanide )
2. Electro cleaning
3. Water rinse
4. Pickling by HCl 15%
5. Water rinse
6. Zn plating ( with cyanide )
7. Water rinse
8. Pickling by HNO3 5%
9. Water rinse
10. Chromating
11. Water rinse
12. Drying
การบําบัดน้ําเสียจากโรงงานชุบโลหะดวยไฟฟา
Waste Water Treatment
การแยกสายน้ํา ลงบอเก็บที่แตกตางกัน
Separation of Waste

1. กรดและดาง ประกอบดวยโลหะหนัก
( Acid & Alkaline )
2. ไซยาไนด มาจากน้ํายาชุบทองแดงดาง
( CN- ) น้ํายาชุบทอง
น้ํายาชุบสังกะสีแบบไซยาไนด
3. เฮกซาวาเลนซโครเมียม (Cr+6)
มาจากน้ํายาชุบโครเมียม หรือน้ํายาโครเมตในการชุบ
สังกะสี
การบําบัดสารเคมีแตละตัว
Treatment for each Chemical
1. การบําบัดไซยาไนด ( Cyanide Treatment )
1.1 บําบัดไซยาไนด ครัง้ ที่ 1 ( CN – 1 )
ทําใหไซยาไนดเปนไซยาเนต
CN + NaOCl CNO- + NaCl
คา pH 12 , ORP 300 – 350 มิลลิโวลท

1.2 บําบัดไซยาไนด ครั้งที่ 2 ( CN – 2 )


ทําใหไซยาไนดเปนคารบอนไดออกไซดและไนโตรเจน
2CNO- + 3NaOCl + 2H+ N2 + 2CO2 + H2O + 3NaCl
คา pH 7-8 , ORP 600 – 650 มิลลิโวลท
1.3 บําบัดไซยาไนด ครัง้ ที่ 3 ( CN – 3 )
เปลี่ยนสารเชิงซอนของเหล็กและไซยาไนด
[ Fe(CN)6]-3 ที่เรียกวา ferri cyanide

เหล็กมีวาเลนซ 3 มีคุณสมบัติตกตะกอนไดยาก ใหเปน


[ Fe(CN)6]-4 ที่เรียกวา ferro cyanide
เหล็กมีวาเลนซ 2 มีคุณสมบัติตกตะกอนไดงาย
โดยใช NaHSO3 ทํางานที่ pH = 4

2 [ Fe(CN)6]-3 + 2 NaHSO3 2 [ Fe(CN)6]-4 +Na2SO4


+ SO2 + 2H+
2. การบําบัดโครเมียม ( Chromium Treatment )

2.1 ทําใหเฮกซาวาเลนซโครเมียม เปนไตรวาเลนซโครเมียม


4H2CrO4 + 3NaHSO3 + 3H2SO4 Cr2(SO4) + 3Na2SO4 + 10H2O
คา pH 2 , ORP 250 มิลลิโวลท

2.1 ทําใหไตรวาเลนซโครเมียมตกตะกอน
Cr2 (SO4)3 + 6NaOH 2Cr(OH3) + 2Na2SO4
คา pH 8 – 9
3. การบําบัดโลหะหนัก ( Heavy Metal Treatment )

ตกตะกอนโดยใชโซดาไฟ
M++ + 2NaOH 2Na+ + M(OH)2
คา pH 9.5 – 10.5
ระบบการบําบัดน้ําเสีย
Waste Water Treatment System

- ระบบน้ําเสียโดยทั่วไป
( General waste water treatment system )

- ระบบบําบัดน้ําเสียตนแบบของ MIDI
( Prototype of waste water treatment of MIDI )
การปองกันและควบคุมมลภาวะ
Strategy of Prevent and Control of Pollution

เปลีย่ นสารใหม ( Substitute )


ใหพิษนอย ( Waste minimization )
คอยเก็บกลับ ( Recycle & Recovery )
ระงับพิษภัย ( Treatment )

You might also like