You are on page 1of 89

หน่วยที่ 3

คุณสมบ ัติทางกลของโลหะ

Mechanical Properties of Metals

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 1


จุดประสงค์การเรียนรู ้
1. เข้าใจคุณสมบ ัติทางกลของว ัสดุและการทดสอบ

2. เข้าใจความหมายของ Elastic deformation,


Plastic deformation, Strength, Hardness
Toughness, Creep, Fatigue

3. เข้าใจความสมพั ันธ์ระหว่างโครงสร้างจุลภาคก ับ
สมบ ัติทางกล

4. เข้าใจกลไกการแตกห ักแบบเปราะ และการ


แตกห ักแบบเหนียวได้
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 2
Mechanical Properties of Metal

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 3


Material Properties
There a 5 properties typically used to describe a
materials behavior and capabilities:

1. Strength
2. Hardness
3. Ductility
4. Brittleness
5. Toughness
6. Fracture Mechanic
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 4
1.ความแข็งแรง (Strength)
The ability to resist deformation and maintain its shape

คอคอด(Necking)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 5


Elastic Deformation of Metals

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 6


Elastic Deformation
• เป็นกระบวนการทีผ ่ ันกล ับได้
Energy between atoms

รวมพลังงานผลัก-ดูด Reversible กล่าวคือ


(1) เมือ
่ ชน ิ้ งานได้ร ับแรงดึง จะ
แรงผลัก ทาให้ระยะระหว่างอะตอม
Emin เพิม่ ขึน ้
ระยะระหว่าง
แรงดูด จุดศูนย์กลางอะตอม (2) แต่ถา ้ แรงดึงด ังกล่าวน้อย
กว่าแรงหรือพ ันธะระหว่าง
อะตอม ถ้าเราปลดแรงออก
อะตอมจะอยู่ชิดกันในสภาวะ
อะตอมจะกล ับสูภ ่ าวะสมดุล
equilibrium ที่ Emin
r0 ทาให้ชน ิ้ งานกล ับมีขนาดและ
(1) มีแรงกระทา รูปร่างเหมือนเดิม (แต่จะมี
Dislocation เคลือ ่ นที่
(2) ไม่มีแรงกระทา ประมาณ 100-200 ต ัว)
r0
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 7
Plastic Deformation of Metals

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 8


Stress-Strain Diagram
ultimate
tensile necking
strength 3
 UTS
Strain
yield Fracture
strength Hardening
y 5
2
Plastic Elastic region
Region slope=Young’s(elastic) modulus
yield strength
Plastic region
Elastic ultimate tensile strength
Hook law’s
Region strain hardening
fracture
σ Eε 4

σ 1
EEngineering E
Materials

σy
ε 2  ε1 Chapter 3 Mechanical Properties
Strain (  ) =(e/Lo) 9
ε
Stress and Strain
In order to compare materials, we must have measures.

• Average Stress : load per unit Area

F   dA F    dA  A σ
F
A

F : load applied in Newton(N)


A : cross sectional area in mm2
 : stress in N/mm2
A
F F

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 10


Stress and Strain

l0

F F l f  l0

F
l0
F

lf

l0 เป็ นความยาวเริ่มต้น,
lf - l0 เป็ นความยาวที่เปลี่ยนไป

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 11


Stress and Strain
• Deformation
– Elastic: temporary
– Plastic: permanent

Engineering stress:()

F
 
(units: Pa = N/m2)
A0
F = แรงกระทาเฉลีย ้ ทีห
่ ต่อพืน ิ้ งาน มีหน่วยเป็นนิวต ัน (N), และ
่ น้าต ัดชน
้ ทีห
A0 = พืน ่ น้าต ัดเดิมของชน ิ้ งาน มีหน่วยเป็น ตารางมิลลิเมตร (mm2)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 12


Stress and Strain
Engineering strain:

l  l0

l0

Geometric quantity (units: 1 = m/m)


l0 = ความยาวเดิมทีก
่ าหนดขนาดความยาวเกจ(mm.)
l = ความยาวสุดท้ายเมือ่ ผ่านการดึง(mm.)

Hooke’s Law:
E is the modulus of elasticity   E

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 13


• Percent elongation at fracture, % เป็นค่าความ
สามารถในการยืดได้ของว ัสดุภายใต้แรงดึง คานวณได้จาก

l f  l0
%   100
l0
• Percent reduction in area at fracture, %RA เป็นการว ัด
ค่าความเหนียวของว ัสดุอก ี วิธห
ี นึง่ รวมทงสามารถช
ั้ ี้ งึ

คุณภาพของว ัสดุนนๆด้ั้ วย กล่าวคือ ถ้าชน ิ้ งานมีจด
ุ บกพร่อง
เชน่ รูโพรง, สงิ่ ปลอมปน จะทาให้คา่ %RA น้อยลง

A0  A f
% RA   100
A0

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 14


Modulus of Elasticity

Metal Forming&
Metal Working

Engineering Design

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 15


0.2% Yield Strength
1. plastic deformation of 0.2%

2. Permanent when the force is


released

3. Material (or part) has a defined


elastic-plastic transition

4. Renewed application of a load


less than the yield stress
creates no further plastic
deformation

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 16


Stress and Strain: Tensile Test

• Tensile test measures the resistance of a material to a static of slowly


applied load
• A strain gage measures the amount of stretching of a part
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 17
Exercises
1. วัสดุชนิดหนึ่ งมีค่า yield stress เท่ากับ 200 MPa เรา
ต้องให้แรงดึงอย่างน้ อยเท่าใดจึงจะสามารถดึงชิ้นงาน
ชนิดนี้ ที่มีพืน้ ที่หน้ าตัด 100 mm2 ให้เกิดการเสียรูปแบบ
ถาวรได้
yield force = yield stress x area
= (200 x 106 N/ m2) x (100 x 10-6 m2)
= 20,000 N

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 18


2. วัสดุชนิดหนึ่ งมีค่าเปอร์เซ็นต์การยืด 10% ถ้าวัสดุนี้เริ่มต้น
ยาว 200 mm เราจะต้องดึงวัสดุนี้ให้มีความยาวเพิ่มอีก
เท่าใดจึงจะขาด
l f  l0
%  100
l0
%  lo
l f  lo 
100
10  200
l f  lo   20mm
100

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 19


Mode of Fracture

Moderately Brittle
Ductility Cast Iron ,Ceramic
Mild steel ,Cu
Au ,Ag ,Al

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 20


Ductile fracture
• The material exhibits substantial plastic deformation
in the vicinity of an advancing crack with high energy
absorption before fracture. There is evidence of
appreciable gross deformation at fracture surfaces (e.g.,
twining and tearing).

• It proceeds relatively slowly as the crack


length is extended
•Crack is stable, i.e., resists any further extension
unless there is an increase in applied stress.
•Cup-and-cone facture type.

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 21


Ductile fracture (Cons.)
• Ductile fracture preferred due to:

– Ductile fracture gives warning


(due to associated plastic deformation).
This allows preventive measures to be taken.

–More strain energy is required to induce


ductile facture (Ductile materials are tougher).

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 22


Ductile fracture (Moderately)
• Evolution to failure:
void void growth shearing
necking fracture
nucleation and linkage at surface

• Resulting mm
50mm
50
fracture
surfaces
(steel)
particles 100 mm
serve as void
nucleation
sites. Materials
Engineering Chapter 3 Mechanical Properties 23
Brittle fracture
•The material experiences little or no plastic deformation
with low energy absorption.

• Cracks may spread extremely rapidly.

• Crack is unstable, i.e., crack propagation,


once started, will continue spontaneously without
an increase in applied stress.

• Direction of crack propagation is nearly


perpendicular to direction of applied tensile
stress and yields relatively flat fracture surface.
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 24
กลไกการแตกแบบเปราะ
แรงดึง ิ้ งานจะแตกห ักโดยมีการแปรรูป
• ชน
ถาวรเล็ กน้อยหรือไม่มเี ลย ทาให้ม ี
ค่าความเหนียวตา ่
ระนาบ
ผิวหน้า
• ผิวรอยแตกค่อนข้างตรง และ
ค่อนข้างวาวเมือ
่ มองด้วยตาเปล่า

• โลหะทีแ่ ตกแบบเปราะค่อนข้างทีจ ่ ะ
อ ันตรายเพราะสามารถเกิดการ
แตกห ักได้งา่ ยในบริเวณทีม่ ค
ี วาม
เค้นสะสมสูง และถ้ามีรพู รุนมากๆ

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 25


Brittle fracture (Cont.)
• Cleavage: In brittle fracture, crack propagation corresponds
to successive and repeated breaking of atomic bonds
along specific crystallographic planes.

• Cleavage is Trangranular since cracks pass


through the grains.

• Crack surface may have grainy or faceted texture due to


changes in orientation of cleavage planes from one
grain to another.

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 26


เปรียบเทียบผิวรอยแตกเมือ ้ ล้อง
่ ใชก
จุลทรรศน์อเิ ลคตรอน

แตกแบบเปราะ แตกแบบเหนียว

หลุมทีเ่ กิดจาก particles

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 27


(3)
(3) Brittle fracture
(2) with no elongation
(1)
(2) Ductile fracture
(1) Ductile fracture with with necking
uniform elongation

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 28


Effect of Temperature

• Yield strength, tensile strength, modulus of elasticity, and fracture


point decrease or relocate with higher temperature
• Vibrational energy of individual atoms increases with temperature
– slip becomes easier
– ductility increases

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 29


Anisotropies

• Highest strength parallel to


the rolling direction

• Ductility is highest at a 45o


angle to rolling direction.

• Compressive stress

• Shot peening

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 30


Microstructure change

• Cold deformation

• Anisotropic properties
depend on direction

• Highest strength is achieved


in axial direction

• Sheet texture is produced


with cold rolling

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 31


อิทธิพลของกระบวนการผลิต

1. Composition
2. Heat Treatment
3. Strain Rate

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 32


2.ความแข็ง (Hardness)
Performance of the material property to resist
indentation ,abrasion and wear.

• This property is tested by subjecting the metal to


an instrument that measures depth of penetration
by a penetrator.
• Common instruments include ;
– Rockwell Hardness test
– Brinell Hardness test
– Vickers Hardness test
– Micro Hardness test

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 33


ตารางเปรียบเทียบความแข็ง

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 34


การทดสอบความแข็งแบบร๊อคเวล(Rockwell Hardness)
หล ักการทดสอบ
ิ้ งานขึน
ความแข็งของชน ้ อยูก
่ ับ
ความลึกของรอยกด

• เลือกชนิดห ัวกด(ห ัวเพชร,บอล)


• กาหนดแรงกด(F)
• กดชน ิ้ งาน(30 วินาที)
• อ่านค่าความแข็ง

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 35


Rockwell Hardness Scales
สเกล หัวกด แรงกด(กิ โลกรัม) การใช้งาน

A หัวเพชรมุม 120 60 วัสดุที่มีความแข็งมาก ๆ เช่น ทังสเตนคาร์ไบด์ มีดเล็บ โลหะซิ นเตอร์

B หัวบอล  1/16” 100 วัสดุแข็งปานกลาง เหล็กกล้าคาร์บอนตา่ -ปานกลาง ทองเหลือง ทองเหลืองผสม


C หัวเพชรมุม 120 150 เหล็กที่มีความแข็งมาก ๆ เช่นเหล็กที่ผ่านการชุบแข็ง และอบคืนตัว

D หัวเพชรมุม 120 100 เหล็กผ่านการชุบผิ วแข็ง (Surface Hardening)


E หัวบอล  1/8” 100 เหล็กหล่อ อลูมิเนี ยม และแมกนี เซียมผสม
F หัวบอล  1/16” 60 ทองเหลือง ทองแดงที่ผ่านการอบอ่อน
G หัวบอล  1/16” 150 ทองแดง-เบอริ เลียม ฟอสฟอรัส-บรอนซ์
H หัวบอล  1/8” 60 อลูมิเนี ยมแผ่น
K หัวบอล  1/8” 150 เหล็กหล่อ และอลูมิเนี ยมผสม
L หัวบอล  1/4” 60 พลาสติ ก โลหะอ่อน เช่นตะกัว่ ดีบกุ
M หัวบอล  1/4” 100
P หัวบอล  1/4” 150
R หัวบอล  1/2” 60 ใช้ได้เช่นเดียวกับสเกล L ขึ้นอยู่กบั ขนาดและความหนาของชิ้ นงานทดสอบ
S หัวบอล  1/2” 100
V หัวบอล  1/2” 150
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 36
ความสามารถในการทดสอบความแข็ง แบบร๊อคเวล
ข้อควรระว ังในการทดสอบ

• ในการทดสอบแบบร๊อคเวลกรณีใชห ้ ัวกดเป็นห ัวบอลจะต้องมน ่ ั ใจว่าเหล็ก


ทีน
่ าทดสอบเป็นเหล็กกล้าคาร์บอนตา ่ – ปานกลางถ้าไม่มน่ ั ใจให้ใชห ้ ัว
เพชรกดก่อนเสมอ เพือ่ ป้องก ันความเสย ี หายของห ัวกด

• การทดสอบต้องทดสอบอย่างน้อย 3-5 จุด เพือ


่ หาค่าเฉลีย
่ ความแข็งของ
ชนิ้ งาน

• กรณีกดด้วยห ัวเพชร ระยะห่างระหว่างรอยกดแต่ละรอยต้องไม่ตา


่ กว่า 3
้ ผ่านศูนย์กลางรอยกด(หรือประมาณ 3 มิลลิเมตร)
เท่าของเสน

้ ัวบอลกด ระยะห่างระหว่างรอยกดควรมีไม่นอ
• ถ้าใชห ้ ยกว่า 4 เท่าของ
รอยกด

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 37


การทดสอบความแข็งแบบบริเนล(Brinell Hardness)
หล ักการทดสอบ
ิ้ งานขึน
ความแข็งของชน ้ อยูก
่ ับขนาด
ของรอยกด

• กาหนดแรงกด(F)
• กาหนดขนาดห ัวกด(D)
• กดชน ิ้ งาน(30 วินาที)
• ว ัดรอยกด(d)
• กาหนดค่าความแข็งแบบบริเนล
• คานวณ
• เปิ ดตาราง

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 38


การทดสอบความแข็งแบบบริเนล(Brinell Hardness)
ั ันธ์ของแรงกด ห ัวกด และชนิดของว ัสดุ
ความสมพ

แรงกด(กิโลกรัม)
เส้นผ่าศูนย์ เหล็กกล้า ทองแดง อะลูมิเนี ยม ตะกัว่
กลางหัวกด เหล็กหล่อ ทองแดงผสม บริสทุ ธ์ ิ ดีบกุ ผสม
(มิลลิเมตร)
F/D2 = 30 F/D2 = 10 F/D2 = 5 F/D2 = 1
1 30 10 5 1
2 120 40 20 4
5 750 250 125 25
10 3000 1000 500 100

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 39


การทดสอบความแข็งแบบบริเนล(Brinell Hardness)
การกาหนดความแข็ง
120 HB 5 250 30

120 (5 .) (250 ) (30 )

1. คานวณจากสูตรหาค่าความแข็ง

2F
BHN 
d

D D - D 2  d 2 
2. เปิ ดตาราง
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 40
การทดสอบความแข็งแบบบริเนล(Brinell Hardness)
ข้อควรระว ังในการทดสอบ

Pile up
d

Depression
(a) (b)

• สาหร ับการทดสอบแบบบริเนลในกรณีทวี่ ัสดุออ ี


่ นอาจจะทาให้เกิดการเสย
รูปของรอยกดในล ักษณะ Pile up คือมีการยืดต ัวออกของขอบรอยกดทา
ให้การว ัดค่าขนาดรอยกดอาจจะคลาดเคลือ ่ นได้งา
่ ย

•เชน่ เดียวก ับว ัสดุทมี่ อ


ี ัตราการเกิดความเครียดแข็งสูง ได้แก่
เหล็กออสเตนนิตก ิ อาจจะทาให้เกิด Depression รอบรอยกดซงึ่ จะทาให้
การว ัดค่าขนาดรอยกดเพือ ่ กาหนดค่าความแข็งคาดเคลือ ่ ก ัน
่ นได้เชน

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 41


การทดสอบความแข็งแบบบริเนล(Brinell Hardness)
ข้อควรระว ังในการทดสอบ
3D 3D


• รอยกดทีเ่ ห็นได้อย่างชดเจนน น ้ ดโลหะทีม
ั้ จะต้องใชก ่ ค
ี วามหนาไม่ตา
่ กว่า
สามเท่าของเสน ้ ผ่าศูนย์กลางของห ัวกด

• จุดทดสอบจะต้องอยูห ้ ผ่าศูนย์กลางของ
่ า่ งก ันอย่างน้อยสามเท่าของเสน
ห ัวกดเพือ
่ ไม่ให้ขอบของรอยบุม ๋ มาชนก ัน

ิ้ ทดสอบทีอ
• สาหร ับชน ่ อ่ นมากหรือเล็กมาก ต้องใช ้ Load น้อยลง และ
ขนาดของห ัวกดก็ตอ ้ งเล็กลงด้วย แต่ตอ
้ งให้ได้ตามมาตรฐานการทดสอบด้วย

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 42


การทดสอบความแข็งแบบจุลภาค นูป(Knoop)
หล ักการทดสอบ ค่าความแข็งของชน ิ้ งานจะ
้ อยูก
ขึน ่ ับขนาดของรอยกด
Knoop test methods are
defined in ASTM E384

450HK0.5
Where 450 is the calculated hardness
and 0.5 is the test force in kg.
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 43
การทดสอบความแข็งแบบจุลภาค นูป(Knoop)
• แรงกด 10-1000 กร ัม
• เวลากด 10 - 15 วินาที.
้ ทแยงมุมเสน
• ว ัดรอยกดเสน ้ ยาว(l)
• กาหนดค่าความแข็งโดยการคานวณค่าจากสูตร

F
HK  14.230  2
l l
450HK0.5
Where 450 is the calculated hardness and 0.5 is the test force in kg.

• เป็นวิธก
ี ารทดสอบทีม ่ ง
ุ่ เน้นการว ัดความแข็งของโครงสร้างจุลภาค เชน ่ เกรน
ขอบเกรน รวมทงเฟสต่
ั้ าง ๆ ได้แก่เฟอร์ไรท์ ซเี มนไตต์ คาร์ไบด์ หรือ
โครงสร้างของ งานเชอ ื่ ม เชน่ HAZ , WM หรือโครงสร้างเกรนยาว Columnar
, Fine Grain เป็นต้น
• ต้องเตรียมผิวหน้างานให้เรียบเหมือนการเตรียมเพือ ึ ษาโครงสร้างจุลภาค
่ ศก
•การให้แรงกดต้องให้อย่างสมา ่ เสมอ
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 44
การทดสอบความแข็งแบบวิกเกอร์(Vickers)
หล ักการทดสอบ ค่าความแข็งของชน ิ้ งานจะ
้ อยูก
ขึน ่ ับขนาดของรอยกด

d
ใชห ้ ัวกดเพชร (Diamond indenter) แบบ
Vickers หรือ Knoop กดลงบนผิวว ัสดุท ี่
ต้อ งการว ดั ค่า ความแข็ ง ด้ว ยแรงกดคงที่
(1-1,000 กร ม ั ) ชว ่ ั ระยะเวลาหนึง่ จะเกิด
รอยกดบนผิว ว ส ั ดุ ว ด ้ ทแยงมุ ม
ั ขนาดเส น
ของรอยกดเพือ ่ ใช ้ค านวณค่า ความแข็ ง
ด ังนี้
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 45
การกาหนดค่าความแข็งแบบวิกเกอร์
(Vickers Hardness Test)
การอ่า นค่า ความแข็ ง ของ
วิ ก เ ก อ ร์ ส า ม า ร ถ อ่ า น ไ ด้

ด ังนี้ เชน

650 HV 30
• 650 คือ ค่าความแข็ง
แบบวิกเกอร์
• ใชแ้ รงกด 30 กิโลกร ัม
• เวลากด 10-15 วินาที
(เป็นการกาหนดค่า
มาตรฐาน)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 46


Hardness test

Black
scale

Red scale

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 47


แบบฝึ กห ัด
• สมบ ัติทางกลคืออะไร? • ความแข็งแรงของ
• ประกอบด้วยสมบ ัติ ว ัสดุคอ ื ? ว ัดได้
อะไรบ้าง? อย่างไร?
• มีความสาค ัญอย่างไร? • วิธเี พิม
่ ความ
• และสมบ ัติทางกลได้ร ับ แข็งแรงให้ก ับว ัสดุ
อิทธิพล หรือมีผลมา
สามารถทาได้โดย?
จากอะไร? ให้เหตุผล
พร้อมยกต ัวอย่าง • ความแข็งของว ัสดุ
ประกอบ? คือ? ว ัดได้อย่างไร?
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 48
“TITANIC”
“Unsinkable Ship หรือ
เรือทีไ่ ม่มวี ันจม"

แล้วเกิดเหตุการณ์น ี้
ได้อย่างไร?

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 49


3. Toughness (ความทนทาน)
• เป็ นความทนทานของวัสดุต่อการแตกหัก เมื่อมีแรง
มากระทาอย่างเฉี ยบพลัน ณ ที่อณุ หภูมิหนึ่ ง
• สามารถวัดได้จาก พลังงานที่ชิ้นงานสามารถซับไว้
ได้ในระหว่างที่ถกู แรงกระทา
• ค่า Toughness จะขึน้ กับอุณหภูมิ โดยเฉพาะ เหล็ก
จะมีช่วงของการเปลี่ยนจาก brittle ไปเป็ น ductile
ชัดเจน

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 50


Impact Test
ความสามารถในการดูดซบพล ั ังงาน
เพือ
่ ต้านทานต่อการเกิดรอยร้าวและ
การแตกห ักจากการกระแทก

Method
• Sudden intense force
applied to specimen
• Evaluates brittleness of
a material
• Toughness
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 51
พารามิเตอร์ทม
ี่ ผ
ี ลกระทบต่อความเหนียว
1. Strain Rate

• ความเร็วในการให้แรงกระแทก

•นา้ หน ักของค้อนตีกระแทก

• Izod Test
V
• Charpy Test
W=mg

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 52


พารามิเตอร์ทม
ี่ ผ
ี ลกระทบต่อความเหนียว
2. Stress Concentration
•รูปร่าง ล ักษณะของรอยบาก

3. Temperature

•Transition Temperature

•Ductile & Brittle Factrue

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 53


หล ักการทดสอบด้วยแรงกระแทก

• Charpy V-Notch Test (continued)


- The potential energy of the pendulum before and after
impact can be calculated form the initial and final location
of the pendulum.
- The potential energy difference is the energy it took to
break the material.  absorbed during the impact.
- Charpy test is an impact toughness measurement test
because the energy is absorbed by the specimen very
rapidly.
- Purpose : to evaluate the impact toughness as a function of
temperature

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 54


ผลการทดสอบด้วยแรงกระแทก

• Charpy V-Notch Test (continued)


Brittle Ductile Transition Temperature

Ductile Facture
Charpy Toughness(lb·in)

Ductile High impact Energy


Brittle
Behavior Behavior
Brittle Facture
Transition
Temperature
Low impact Energy

Temperature (°F)
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 55
ผลการทดสอบว ัสดุชนิดต่าง ๆ

FCC

BCC
( )

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 56


ผลการทดสอบด้วยแรงกระแทก

• Charpy V-Notch Test (continued)

- At low temperature, where the material is brittle and


not strong, little energy is required to fracture the material.
- At high temperature, where the material is more ductile
and stronger, greater energy is required to fracture the
material
-The transition temperature is the boundary between brittle
and ductile behavior.
The transition temperature is an extremely important
parameter in selection of construction material.
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 57
Facture

แบบเหนียว แบบเปราะ
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 58
Facture

1. Brittle Facture
A
D Ductile Facture C
C % Brittle  100
Brittle Facture A
2. Ductile Facture
D Ductile Facture D
C % Ductile  100
Brittle Facture A
A
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 59
Transition temperature

• Transition temperature average impact strength of a fully brittle


and fully ductile specimen.

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 60


Charpy Test
High Carbon Steel Stainless Steel

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 61


Brittle Facture
Liberty ships

Problem: Used a type of steel with a DBTT ~ Room temp.


Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 62
4. การล้า (FATIGUE)
• มีก าร ค าด กา ร ณ์ ก นั ว่ า กว่ า 90 % ข อง คว า ม
ี หายทีเ่ กิด ขึน
เส ย ้ กบ
ั ชนิ้ ส ่ว นเป็ นความเส ย
ี หายที่
เกิดจากการล้า

• คือ เมือ
่ โลหะได้ร ับแรงทีต ่ า
่ กว่า Yield Strength
เป็นรอบติดต่อก ันเป็นเวลานาน การแตกห ักจะเริม ่
จากรอยร้า วเล็ ก ๆทีผ่ วิ นอกของช น ิ้ งานซ ง
ึ่ ม กั จะ
มองด้วยตาเปล่าไม่เห็ น จากนน ั้ ทุกๆรอบของแรง
เค้นทีก
่ ระทา จะทาให้ร อยร้า วขยายต ัวเพิม ่ ขึน ้ ไป
ในทิศทางทีต ่ งฉาก
ั้ ก ับทิศทางของแรง

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 63


• การขยายของรอยร้า วจะเกิดขึน ้ อย่า งชา ้ ๆ จน
เมือ ิ้ งานส ่ว นทีย
่ ชน ่ งั ติด ก น
ั ไม่ส ามารถรองร บ ั
แรงเค้นได้อกี ต่อไป ทาให้เกิดการห ักขึน ้ อย่าง
รวดเร็ว

• การล้าเป็นสาเหตุของ Failure ทีพ ่ บมากทีส


่ ุด
ของโลหะทีใ่ ชใ้ น aircraft, I-beams cranes,
bridges and ships และใน crankshaft

• ด ังนนั้ จาเป็ นต้องมีการทดสอบเพือ


่ ว ัดอายุการ
ใชง้ านของว ัสดุ

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 64


Fatigue

• A form of failure that occurs in structures


subject to dynamic and fluctuating
stresses.
• Failure occurs at stress levels lower than
yield or tensile stresses for static loads.
• It occurs after a lengthy period of
repeated stress of strain cycling.
• Comprise approximately 90% of metallic
failures.

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 65


Fatigue Rotating Beam Test

• The repeated application of stress typically produced by


an oscillating load such as vibration.

• Sources of ship vibration are engine, propeller and waves.

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 66


Fatigue Test
• มีว ัตถุประสงค์ในการทานายอายุการใชง้ าน และความทนทานของ
ว ัสดุ (Endurance limit หรือ Fatigue limit)

• ทุกการทดสอบจะเป็นการให้แรงเป็นคาบในล ักษณะ Sinusoidal


โดยมีคา่ ความเค้นสูงสุดคงที่ (Stress amplitude, a ) และม ักจะ
ให้คา่ Mean stress, m เป็น 0 ด ังรูป

a


Time m

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 67


• ชนิ้ งานจะร ับแรงกระทาเป็นแบบ sinusoidal ตงแต่
ั้
1,000-10,000 รอบ/นาที จนกว่าชน ิ้ งานจะแตกห ัก
• ได้กราฟ Stress-Cycle (ความเค้น-จานวนรอบ)

(a)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 68


• Fatigue strength เป็นแรงเค้นดึงทีว่ ัสดุสามารถร ับได้
ก่อนการแตกห ัก ณ จานวนรอบทีก่ าหนด

Mild Steel

Fatigue limit
Copper

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 69


ที่ผ ิว งานแตกจะมีล ก ั ษณะพิเ ศษของการเกิด การล้า
กล่า วคือ จะเห็ น เป็ นเส น ้ โค้ง ออกไปจากจุด ก าเนิด และ
รศ ั มีเ พิม
่ ขึน ้ ตามการเจริญ เติบ โตของรอยแยก จะเป็ น
ด้านทีม ่ ผี วิ ค่อนข้างเรียบ ความถีข ้ จะขึน
่ องเสน ้ ก ับขนาน
ของแรงดึง สว ่ นทีเ่ กิดการแตกห ักขนสุ
ั้ ดท้ายจะเห็ นเป็น
ผิวหยาบ ด ังรูป

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 70


จุดเริ่มต้ น

บริเวณแตกหัก

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 71


จุดกาเนิดของ Crack
– จุดทีม
่ กี ารสะสมของ ความเค้น
– บริเวณทีม ่ จ
ี ด
ุ บกพร่อง, Dislocations or
grain boundaries, สารมลทิน
– มุมทีแ่ หลมคม จากการผลิต หรือแบบ

ด ังนน ั้ Fatigue Strength ของว ัสดุสามารถเพิม ่


ให้สง ู ขึน ้ ได้โดย
– เพิม ่ ความแข็งผิว เชน ่ Nitriding,
Carburizing
– เพิม ่ ความเรียบผิว ข ัดเงาเพือ ่ ลดรอยร้าวเล็ กๆ
– เลือกใชว้ ัสดุทม ี่ ส
ี ารเจือปนน้อย
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 72
5. การคืบ (CREEP)
• ทีอ
่ ุ ณ หภู ม ต ี รู ป ถาวร (Plastic
ิ ่า การเส ย
deformation) จะเกิดขึน ้ เมือ
่ ว ัสดุร ับแรง
สูงเกินค่า yield strength ของว ัสดุนนๆ ั้

• สว่ นทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ ง
ู ถึงแม้วา
่ โลหะจะร ับแรง
ทีต่ า
่ กว่า Yield strength แต่เมือ
่ เวลา
ผ่า นไปก็ ส ามารถท าให้เ กิด การเปลีย ่ น
รูปทรงได้

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 73


การเกิด Plastic deformation ของว ัสดุท ี่
อุ ณ หภู ม ส
ิ ูง ซงึ่ จะเกิด จากการทีไ ่ ด้ร บ ั แรง
กระท าที่ไ ม่ สู ง แต่ อ ยู่ ภ ายใต้แ รงน น ั้ เป็ น
เวลานาน(ขึน ้ กบ ั เวลา) ท าให้โ ลหะเกิด การ
เคลือ่ นต วั หรือ บิด จนเส ย ี รู ป การเส ยี รู ป นี้
เรียกว่า “Creep” (การคืบ)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 74


ล ักษณะของการเกิดการคืบ
้ ได้ทงว
• การคืบสามารถเกิดขึน ั้ ัสดุทม
ี่ ผ
ี ลึกและไม่มผ
ี ลึก
กล่าวคือสามารถเกิดได้ใน โลหะ, โพลิเมอร์ และ เซรามิกส ์

• อ ัตราการเกิดการคืบจะเพิม ่ มากขึน้ ทีอ


่ ณ
ุ หภูมส ิ ง
ู กว่า ~
0.5Tm สาหร ับ เซรามิกส ์ สว ่ น โลหะ จะเพิม ้ ที่ อุณหภูมส
่ ขึน ิ ง

กว่า ~ 0.3-0.4Tm

• ด ังนนว
ั้ ัสดุทม
ี่ จ
ี ด
ุ หลอมเหลวตา
่ จะเกิดการคืบง่ายกว่า ว ัสดุท ี่
มีจดุ หลอมเหลวสูง

• การคืบ เป็นสาเหตุของการแตกห ักแบบเหนียวทีอ


่ ณ
ุ หภูมต
ิ า

และแบบเปราะทีอ ่ ณ
ุ หภูมส
ิ ง

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 75
Strain () กับ เวลา (t) Strain rate( ) กับ เวลา (t)

3
2
ε 1  1 2 3

time time
ุ หภูมิและความเค้นคงที่
ที่อณ
1 Strain จะสูงขึน ้ โดย Strain rate ณ จุดเริม ่ ต้นจะ Stage 3 Strain ของว ัสดุจะสูงขึน ้ ใน
สูงสุดแต่จะเพิม
่ สูงขึน้ ในอ ัตราทีล
่ ดลง เนือ่ งจากมีความ อ ัตราทีส
่ ง ้ เนือ
ู ขึน ่ งจากว ัสดุเริม
่ มีความ
ต้านทานจากการเกิดและการเคลือ ่ นทีข
่ อง ต้านทานน้อยลง ด ังนน ั้ ทาให้ว ัสดุ
dislocations ในเนือ ้ ว ัสดุ แตกห ักอย่างรวดเร็ว

2 Strain rate จะเข้าสูภ ่ าวะคงที่ หรือ steady state


เพราะอ ัตราการจ ัดเรียงต ัวใหม่ของอะตอม=การเกิด
และการเคลือ ่ นทีข
่ อง dislocations Strain ของว ัสดุ
จะเพิม ้ ในอ ัตราทีเ่ กือบคงที่
่ สูงขึน
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 76
Strain rate ในช่วงที่ 2 ที่ภาวะ steady state
สามารถคานวณได้จาก

  A exp( Q RT )
m

A =ค่าคงที,่ m ~1 หรือ 4, Q = พลังงานกระตุ้น,


R =ค่าคงที่ของกาซเฉื่ อย, T = อุณหภูมิ Kelvin

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 77


ตัวอย่างกราฟการเกิดการคืบของตะกัวที ุ หภูมิห้อง
่ ่ อณ

Stress คงที่

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 78


อิทธิพลของแรงเค้นก ับการคืบ

High Temp or High Stress

Strain Medium Temp or


Medium Stress

Low Temp or Low Stress, <0.4Tm, Metals show


primary creep but negligible secondary creep
เวลา
อัตราการเกิดการคืบจะสูงขึน้ เมื่อปริมาณแรงเค้นเพิ่มขึน้
Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 79
กลไกการแตกห ักเนือ
่ งมาจากการคืบ
(CREEP RUPTURE Mechanism)
โลหะทีม่ ค
ี วามต้านทานการเกิดการคืบ เมือ ่ ได้ร ับแรงเป็น
เวลานานๆ ทีอ ่ ณ
ุ หภูมส
ิ ง
ู ก็สามารถแตกห ักได้กอ ่ นเวลา
อ ันควร เนือ
่ งจาก จะมีพล ังงานกระตุน
้ ในการเกิด
กระบวนการด ังนี้

1. Vacancy creep (การย้ายต ัวของชอ ่ งว่าง) การย้ายต ัว


ของ vacancy จะสวนทางก ับ การย้ายต ัวของโลหะ
อะตอม ทาให้เกรนเกิดการเปลีย
่ นรูปร่าง

2. Grain boundary sliding (การเลือ


่ นต ัวของขอบเกรน)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 80


กลไกการแตกห ักเนือ
่ งมาจากการคืบ
(CREEP RUPTURE Mechanism)
• ทีอ
่ ณ
ุ หภูมส ิ ง
ู ~0.5Tm และ low stress จะเกิดการ
เคลือ่ นต ัวของขอบเกรนแบบสุม่ (Randomly) และมี
Creep rate ทีต ่ า

• ถ้าเกรนมีความแข็ งแรง จะทาให้เกิดความเค้นสะสมที่
Triple point สง ่ ผลให้เกิดชอ
่ งว่างทีร่ อยต่อระหว่าง
เกรน และขยายต ัว ทาให้อ ัตราการเกิดการคืบสูงขึน ้
อย่างรวดเร็ว (state 3 of Creep rate vs Time)
่ ผลให้ชน
สง ิ้ งานเกิดการห ักแบบเปราะได้

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 81


กลไกการแตกห ักเนือ
่ งมาจากการคืบ
(CREEP RUPTURE Mechanism)

การเลื่อนตัวของขอบเกรน
σ
การไหลของ
σ อะตอม เกรน
σ
การไหลของ
σ vacancy
ช่องว่างที่ triple point
Vacancy creep Grain boundary sliding

รูพรุนตามขอบเกรน เกิดและขยายเพิม ้
่ ขึน
ในชว ่ งต้นของ state 3 ของการคืบ
ซงึ่ จะขยายเชอ ื่ มก ันเมือ
่ ร ับแรง และอุณหภูมส ิ ง ู
และสง ่ ผลให้เกิดการแตกห ักแบบเปราะในทีส ่ ดุ

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 82


Creep voids

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 83


สรุป Creep
• Materials ทีจ ้ านทีอ
่ ะใชง ่ ุณหภูมสิ ูงจาเป็นต้องมีความ
เหนียว และความแข็ งแรงสูง ไม่มสี ารเจือปนในเนือ ้ ว ัสดุ
และมีความต้านทานต่อการเกิด Creep and Oxidation
่ high strength aluminium alloy, superalloys
เชน
(Ni-based alloys) and titanium เป็นต้น

• Microstructure จะต้องมี สารประกอบทีเ่ พิม่ ความแข็ ง


(hardening precipitate) ทีม่ ค
ี ณ
ุ สมบ ัติกดี ขวางการ
เคลือ
่ นทีข
่ อง dislocations และไม่ส ลายต ัว ณ ที่
อุณหภูมใิ ชง้ าน

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 84


6. กลไกการแตกห ักของโลหะ
(Fracture Mechanism)

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 85


6. กลไกการแตกห ักของโลหะ
(Fracture Mechanism)
การแตกแบบเปราะ

• เกิดจากรอยร้าวในโครงผลึก
• ไม่มก ี ารยืดต ัวของชน ิ้ งาน
• รอยแตกจะเป็นเสน ้ ตรงผ่าเกรน
• ไม่มกี ารเลือ่ นของโครงผลึก
• ม ักจะเกิดทีอ ่ ณ
ุ หภูมติ า ่
• ม ักเกิดก ับว ัสดุจาพวก
เซอร์รามิก, โลหะ เชน ่ เหล็กหล่อ

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 86


สรุปสมบ ัติทางกล
1. เมือ่ ว ัสดุมแ ี รงทางกลมากระทา ก็จะตอบสนองต่อ
แรงนนโดยมีั้ ความเค้นเกิดขึน ้ ภายในว ัสดุเพือ

ต้านทานการเสย ี รูป โดยแรงเค้นจะกระจาย
สมา ่ เสมอทงหน้ ั้ าต ัด แต่เมือ
่ ว ัสดุไม่สามารถต้าน
แรงนนได้ ั้ ก็จะเกิดการเสย ี รูป
2. การเสย ี รูปแบ่งได้ 2 แบบ คือ แบบยืดหยุน ่ และ
แบบถาวร
3. ว ัสดุทม ี่ โี ครงสร้างผลึกแบบ hcp จะเปราะ เพราะ
มี slip system น้อย
4. ว ัสดุทม ี่ โี ครงสร้างผลึกแบบ Fcc จะเหนียว เพราะ
มี slip system มาก

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 87


สรุปสมบ ัติทางกล
5. การแตกห ักแบบเหนียวเกิดก ับว ัสดุทม ี่ เี ปอร์เซนต์การ
ยืดสูง และม ักมีคอคอดก่อนแตกห ัก
6. ว ัสดุทเี่ ปราะจะมีเปอร์เซนต์การยืดตา ่ ผิวรอยแตกแบบ
เปราะม ักเรียบ ม ันวาว
7. การล้าม ักเกิดก ับว ัสดุทใี่ ชเ้ ป็นเวลานาน เกิดโดยมีรอย
ร้าวทีผ่ วิ และลึกลงไปในผิว
8. ว ัสดุทใี่ ชใ้ นงานทีอ
่ ณ
ุ หภูมส ิ ง
ู ต้องมีคณุ สมบ ัติตา้ นทาน
การคืบ

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 88


Check lists
1. อธิบายคุณสมบ ัติของทางกลของว ัสดุ
2. Elastic deformation คือ
3. Plastic deformation คือ
4. Strength คือ
5. Toughness คือ
6. Creep คือ
7. Fatigue คือ
8. ความสมพั ันธ์ระหว่างโครงสร้างจุลภาคก ับสมบ ัติ
ทางกล
9. การแตกห ักแบบเปราะ และการแตกห ักแบบ
เหนียว

Engineering Materials Chapter 3 Mechanical Properties 89

You might also like