You are on page 1of 67

Cohort study เป็ นการศึกษาทีเ่ ริม่ จาก “เหตุ” ไปหา “ผล”

• Absolute remission
• Partial remission
• No remission
Identification Measurement Valuation
• Direct costs • Modelling • Unit cost
• Indirect costs • Chart review • Standard cost list
• Patient interview • Reimbursement
list

Cost = Quantity (Q) x Value (V)


Basic Components of a Cost-Effectiveness Analysis

Source: Carmen AA. Pharmacoeconomics: From Theory to Practice, 2010


Course syllabus

• หลักการเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไป
• บทนาสู่เภสัชเศรษฐศาสตร์
• ระบบสุขภาพในประเทศไทย
• หลักการของเภสัชเศรษฐศาสตร์ต่อระบบสุขภาพ
• ต้นทุนทางเภสัชเศรษฐศาสตร์
• ผลลัพธ์ทางเภสัชเศรษฐศาสตร์
• การประยุกต์ใช้หลักเภสัชศาสตร์ในงานเภสัชกรรม
• ต้นทุนฐานกิจกรรม
Activity-based costing
Nattanichcha Kulthanachairojana
แนวคิดระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
• กิจกรรมเป็ นสิ่ งที่ทาให้เกิดต้นทุน
• ผลิตภัณฑ์/บริ การนั้นเป็ นสิ่ งที่ทาให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ
ต้นทุน vs กิจกรรม
• ต้นทุน (Cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Expenses) ที่ใช้ในการเตรี ยม
วัตถุดิบ (Resources) และใช้ในการสนับสนุนกระบวนการ (Process)
กิจกรรมต่างๆ (Activities) เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต/ผลลัพธ์
(Outputs/Outcomes)
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม

• คานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์
• จัดสรรค่าใช้จ่าย
• ตามกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริ ง
• กิจกรรม
• การกระทาที่ทาให้เกิดต้นทุน
• หลักแนวคิด
• เพื่อให้ตน้ ทุนมีความถูกต้อง เหมาะสม
• ใช้หลักความสัมพันธ์ที่เป็ นเหตุและผล
การคานวนต้นทุนฐานกิจกรรม

• กาหนดผลผลิตในการคานวณ
• กาหนดกิจกรรมในกระบวนการผลิต
• กาหนดศูนย์ตน้ ทุนและการจาแนกต้นทุน
• กาหนดเกณฑ์การปั นส่ วนต้นทุนฐานกิจกรรม
กาหนดกิจกรรมในกระบวนการผลิต
• งานเวชระเบียน
• หน่วยเวชระเบียน >> เวชระเบียนที่มีคุณภาพและได้รับการจัดเก็บอย่างเหมาะสม
• ด่านหน้า >> จานวนเวชระเบียนใหม่
• หน่วยจัดเก็บ >> จานวนเวชระเบียนที่หมุนเวียน
• หน่วย scan >> จานวนเวชระเบียนที่ถูก scan
• หน่วยเวชสถิติ >> จานวนข้อมูลสารสนเทศทางเวชระเบียน
• หน่วยจัดการข้อมูลเพื่อการเบิกจ่าย >> จานวนข้อมูลเบิกจ่าย
• หน่วยเวชสารสนเทศ >> จานวนรายงานสถิติ
กาหนดกิจกรรมในกระบวนการผลิต
การวิเคราะห์และกาหนดกิจกรรม
• Top-down approach
• Interview or participative approach
• Recycling approach
การคานวณต้นทุนตามระบบต้นทุนกิจกรรม

• Direct charge
• Indirect charge
การกาหนดกิจกรรม
• โครงสร้างขององค์กร ประกอบด้วยหน่วยอะไรและมี ภารกิจอะไร
• กาหนดกิจกรรมในศูนย์ตน้ ทุนอาจ กาหนดจากจานวนฝ่ าย/งาน/หน่วย
ย่อยภายใต้ศูนย์ตน้ ทุนหรื อกิจกรรมการทางานหลักทีเกิดขึ้นจริ ง
การกาหนดศูนย์ตน้ ทุน
• ศูนย์ตน้ ทุนทางตรง
• ควรมีการระบุผลผลิต/ผลลัพธ์ของ หน่วยงาน กระบวนการ
กิจกรรม ยิง่ ระบุได้มากเท่าใดก็ยงิ่ ทาให้การปั นส่ วนได้ง่าย และ
ข้อมูลต้นทุนจะถูกต้องมากขึ้น
• ศูนย์ตน้ ทุนทางอ้อม
• รายการส่ วนใหญ่จะสามารถระบุเข้าสู่ หน่วยงานย่อย
การกาหนดศูนย์ตน้ ทุน
• หน่วยต้นทุน หมายถึงหน่วยงานที่มีผลผลิตที่วดั ได้
• หน่วยต้นทุนหลัก หมายถึง หน่วยงานที่ทาหน้าที่จดั ทาผลผลิต จัดเป็ น
ต้นทุนทางตรง
• หน่วยสนับสนุน หมายถึง หน่วยงานขององค์กรที่ทาหน้าทีส่ นับสนุน
ผลผลิตสู่ หน่วยงานอื่นให้สามารถจัดทาผลผลิตได้ เช่น งานธุรการ งาน
การเงิน งานบริ หารบุคคล จัดเป็ นต้นทุนทางอ้อม
เกณฑ์การปั นส่ วนต้นทุนฐานกิจกรรม
การประเมินผลลัพธ์ของการดําเนิน
มาตรการสร้างเสริมสุขภาพ
การประเมินผลลัพธ์ของการดาเนินมาตรการสร้างเสริ มสุ ขภาพ

• ศึกษาต้นทุนของ สสส. ที่ใช้ไปในแผนงานต่าง ๆ ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่


ผ่านมา
• นโยบายสนับสนุนการเลิกบุหรี่
• นโยบายสนับสนุนการเลิกบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
• หาจุดคุม้ ทุน ระหว่างต้นทุนที่ใช้ในการดาเนินงานและผลได้ต่อหน่วย
จากการวิเคราะห์ตน้ ทุนความเจ็บป่ วย
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ

• มีหน้าที่ริเริ่ ม ผลักดัน กระตุน้ สนับสนุน และร่ วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ใน


สังคม ในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริ มสุขภาพ
• เงินทุนหลักได้จากเงินบารุ งกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุขภาพซึ่ง
มาจากภาษีที่รัฐจัดเก็บจากผูผ้ ลิตและนาเข้าสุราและยาสูบในอัตรา ร้อยละ
2 ของภาษีที่ตอ้ งชาระ

ต้นทุนในการดาเนินการแต่ละปี
มากกว่า 200 ล้านบาท
การประเมินผลลัพธ์ของการดาเนินมาตรการสร้างเสริ มสุ ขภาพ

• ประเมินต้นทุนและผลได้
• ตัวเปรี ยบเทียบ
• มีโครงการ
• ไม่มีโครงการ output
outcome
impact
การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลได้

• Cost-Benefit Analysis
การวิเคราะห์ตน้ ทุนของการเจ็บป่ วย

• Cost of illness analysis is a way of measuring medical and


other costs resulting from a specific disease or condition.
• For example, heart disease in the United States costs more
than $321 billion each year—$193 billion in direct medical
costs and $128 billion in lost productivity from early death
What inputs are included

• Direct Medical costs, such as the cost of diagnostic tests,


physician office visits, and drugs and medical supplies
• Direct Non-medical costs, such as travel costs for obtaining care
and related childcare costs.
• Indirect cost: Productivity losses include impacts of patient and
caregiver participation in an intervention, such as work or leisure
time lost due to participation in the intervention. These costs are
generally more complicated to measure than direct costs.
Methodology
• ศึกษาต้นทุนของ สสส. ที่ใช้ไปในแผนงานต่าง ๆ ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่
ผ่านมา
• วิเคราะห์ตน้ ทุนความเจ็บป่ วยที่เกี่ยวข้องกับแผนงานด้วยวิธีอิงอุบตั ิการณ์
• การวิเคราะห์ตน้ ทุนความเจ็บป่ วยจากการสูบบุหรี่
• การวิเคราะห์ตน้ ทุนความเจ็บป่ วยจากการบริ โภคเครื่ องดื่ม
แอลกอฮอล์
• หาจุดคุม้ ทุน ระหว่างต้นทุนที่ใช้ในการดาเนินงานและผลได้ต่อหน่วย
จากการวิเคราะห์ตน้ ทุนความเจ็บป่ วย
ต้นทุนจากการดาเนินงาน

• บัญชีตน้ ทุน (Cost accounting)


• แนวทางจากบนลงล่าง (Top-down approach)
• ใช้ขอ้ มูลย้อนหลังร่ วมกับสัมภาษณ์ค่าเสื่ อมราคาประจาทางบัญชี
• คานวณค่าเสื่ อมราคาแบบเส้นตรง (Straight-line method)
• อายุการใช้งานครุ ภณ ั ฑ์คือ 5 ปี
• อายุการใช้งานสิ่ งก่อสร้างคือ 20 ปี
• การกระจายต้นทุนใช้วธิ ีการกระจายโดยตรง (Direct distribution
method) และวิธีการกระจายตามลาดับขั้น (Step-down method)
การวิเคราะห์ตน้ ทุน
• วิเคราะห์โครงสร้างองค์กรและระบบงานเพือ่ จาแนกหน่วยงานเป็ นหน่วยต้นทุนตามลักษณะ
หน้าที่และความสัมพันธ์ที่แท้จริ ง
การวิเคราะห์ตน้ ทุน
• ต้นทุนทางตรงของแผนหลัก (Direct cost)
• หมวดใช้จ่ายเงินอุดหนุนโครงการ
• หมวดค่าใช้จ่ายบริ หารโครงการ
• ต้นทุนทางอ้อม (Indirect cost)
• ต้นทุนจากหน่วยสนับสนุน
การวิเคราะห์ตน้ ทุน
• ต้นทุนค่าแรง (Labor cost)
• ค่าบุคลากร
• ค่าบาเหน็จ
• ค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรม
• ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
• ต้นทุนค่าวัสดุ (Material cost)
• ต้นทุนค่าลงทุน (Capital cost)
Total Direct Cost (TDC) = Labor cost + Material cost + Capital cost
Full Cost = Direct Cost + TDC + IDC
Cost of illness

ต้นทุนจากการสูญเสี ยชีวติ ก่อนวัยอันควร


• อายุส้ นั ลง
• ผลิตผลที่ทาได้ในแต่ละปี
ต้นทุนจากการสูญเสี ยผลิตภาพในการทางาน
• จานวนวันที่ตอ้ งหยุดงาน
• ผลิตผลที่ทาได้ในแต่ละปี
แบบจาลองทางเศรษฐศาสตร์
จุดคุม้ ทุนของการดาเนินงาน

• การป้องกันนักสูบหน้าใหม่ไม่ให้สูบไปตลอดชีวิตในแต่ละปี เป็ นจานวน 920 ราย


(หากคิดเป็ นสัดส่ วนที่ลดลงเท่ากันในทั้งสองเพศ) โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 880 คนและ
เพศหญิง 40 คน
• การทาให้มีผเู้ ลิกสูบที่อายุ 40 ปี ในแต่ละปี เป็ นจานวน 3,520 คน (หากคิดเป็ นสัดส่วน
ที่ลดลงเท่ากันในทั้งสองเพศ) โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 3,340 คนและเพศหญิง 180 คน
• การทาให้มีผเู้ ลิกสูบที่อายุ 35 ปี ในแต่ละปี เป็ นจานวน 2,690 คน (หากคิดเป็ นสัดส่วน
ที่ลดลงเท่ากันในทั้งสองเพศ) โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 2,560 คนและเพศหญิง 130 คน
• การทาให้มีผเู้ ลิกสูบที่อายุ 30 ปี ในแต่ละปี เป็ นจานวน 2,060 คน (หากคิดเป็ นสัดส่วน
ที่ลดลงเท่ากันในทั้งสองเพศ) โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 1,960 คนและเพศหญิง 100 คน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
• สสส. นาข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้ไปใช้ในกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดนักสูบ
หน้าใหม่ในสังคม รวมถึงรณรงค์ให้ผทู้ ี่สูบบุหรี่ เลิกสู บได้ในระยะเวลาที่เร็ วขึ้น
• พัฒนาเป้าหมายและตัวชี้วดั การดาเนินงานให้เป็ นรู ปธรรมมากขึ้น โดยการกาหนด
เป้าหมายเป็ นจานวนนักสูบหน้าใหม่ที่ป้องกันได้และจานวนผูท้ ี่เลิกสูบจากการ
ดาเนินงานของสสส.และภาคีเครื อข่าย
• การกาหนดเป้าหมายของการดาเนินงานของ สสส.ตลอดจนโครงการที่ สสส.
สนับสนุนให้มีความเป็ นรู ปธรรมมากขึ้นซึ่ง สสส.ควรมีการศึกษาวิจยั เพื่อเก็บ
รวบรวมข้อมูลถึงประสิ ทธิ ผลการดาเนินงานของแผนงานทั้งสองในรู ปของจานวน
นักสูบหน้าใหม่ที่ป้องกันและจานวนผูท้ ี่เลิกสูบจากการดาเนินงานของ สสส.ต่อไป
ข้อดีของระบบต้นทุนฐานกิจกรรม

• สามารถบริ หารจัดการกับกิจกรรมที่เป็ นต้นเหตุของต้นทุนที่ทาให้


เกิดการสู ญเปล่าในกิจการได้ตรงจุดมากขึ้น จึงสามารถควบคุม
ต้นทุนได้ดีกว่า
• สามารถนาข้อมูลต้นทุนฐานกิจกรรมมาประยุกต์ใช้ในการปรับ
กระบวนการปฏิบตั ิงานได้ โดยการตัดหรื อลดกิจกรรมที่ไม่เพิ่มมูลค่า
ออกไป
จุดอ่อนของการคิดต้นทุนฐานกิจกรรม
• กระบวนการสารวจและการสัมภาษณ์ใช้เวลามากและมีค่าใช้จ่ายสู ง
• ข้อมูลของระบบ ABC รับรองความถูกต้องได้ยาก
• ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ประมวลผลและรายงานผลข้อมูลมีราคาสู ง
• อาจมองข้ามศักยภาพของกาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้งาน
Time-driven activity-based costing : TDABC
• เป็ นแนวคิดต้นทุนฐานกิจกรรมที่คานึงถึงกาลังการผลิตของทรัพยากร
ที่ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ตามระยะเวลา หากมีทรัพยากรส่ วนใดทีย่ งั ไม่ได้
นาไปใช้ในการทางานก็สามารถคานวณแยกออกมาแสดงให้เห็นได้
อย่างชัดเจน
• ให้ประโยชน์ต่อหน่วยงานเช่นเดียวกับต้นทุนกิจกรรมแบบเดิม ง่ายต่อ
การปรับปรุ งข้อมูลให้ทนั สมัยและใช้ในการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ
และลดต้นทุนของหน่วยงาน เนื่องจากสามารถแสดงทรัพยากรส่ วนที่
ยังไม่ได้ถูกใช้งานได้
ที่มาและความสาคัญของปั ญหา

• โรคเรื้ อรังที่พบบ่อย
• ความดันโลหิ ตสู ง เบาหวาน ไขมันในเลือดสู ง
• ปัญหาจากการใช้ยา จากพฤติกรรมของผูส้ ู งอายุ
• เภสัชกรเริ่ มให้บริ การเภสัชกรรมปฐมภูมิ
• แก้ไขปั ญหา
• สนับสนุนการดูแลสุ ขภาพ
• ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง
วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาต้นทุนของบริ การเภสัชกรรมปฐมภูมิสาหรับ


การเจ็บป่ วยเรื้ อรังในผูป้ ่ วยสู งอายุ ณ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและ
เครื อข่ายบริ การสุ ขภาพ (โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลหรื อ รพสต.
และร้านยา) ณ ตาบลไสไทย อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
วิธีการวิจยั

• ศึกษาต้นทุนในมุมมองของผูใ้ ห้บริ การ


• ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง โรงพยาบาลกระบี่ รพสต.ไสไทย และร้าน
ยาแห่งหนึ่งในจังหวัดกระบี่
• ผูป้ ่ วยสู งอายุต้ งั แต่ 60 ปี ขึ้นไป ที่มีโรคเรื้ อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสู ง และ/หรื อโรคไขมันในเลือดสู ง
• บริ การเภสัชกรรมปฐมภูมิ = การเยีย่ มบ้าน
ขั้นตอนการบริ การเภสัชปฐมภูมิ

• ระบุข้ นั ตอนการให้บริ การ


• ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง
• การสัมภาษณ์ผป
ู ้ ฏิบตั ิงาน
• การสังเกตุการปฏิบตั ิงานจริ ง
ขั้นตอนการบริ การเภสัชปฐมภูมิ
การรวบรวมต้นทุนและเวลา

• การระบุทางตรง (Direct Charging)


• สังเกตจากการทางาน (Direct Observation)
• การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time and motion study)
• การสัมภาษณ์บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ทางานในแต่ละกิจกรรม
โดยตรง
• การประมาณ (Estimation)
• การอาศัยดุลยพินิจ (Arbitrary Allocation)
การคานวณต้นทุนด้วยวิธี TDABC

• ระบุประเภทของต้นทุน
• ต้นทุนจม
• ต้นทุนวัสดุ
• ต้นทุนแรงงาน
การรวบรวมต้นทุนและเวลา

• การระบุทางตรง (Direct Charging)


• สังเกตจากการทางาน (Direct Observation)
• การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time and motion study)
• การสัมภาษณ์บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ทางานในแต่ละกิจกรรม
โดยตรง
• การประมาณ (Estimation)
• การอาศัยดุลยพินิจ (Arbitrary Allocation)

You might also like