You are on page 1of 3

สวั สดีคะ่

กลั บมาพบกันอีกแลว้ นะคะในบทเรี ยนที่ 2


จ ำไดไ้ หมคะวา่ บทเรี ยนแรก
เราไดเ้ รี ยนเรื่ องอะไรไป
ก็คือเรื่ องของการทั กทายใชไ่ หมคะ
จากนั น ้
เราจะตอ ้ งมาเรี ยนรู้
เรื่ องของการแนะนำตัวเองคะ่
เป็ นเรื่ องปกติอยา่ งมากเลยนะคะ
ที่เราจะตอ ้ งมีการพบปะ
กับผูค ้ นใหมๆ่ อยูเ่ สมอ
และเราจะตอ ้ งมีการแนะนำตัวเอง
แตว่ า่ เราจะมีวธิ ีการพูดอยา่ งไร
จะพูดอะไรบา้ ง
ถา้ เกิดวา่ เราเป็ นรุ ่นๆ เดียวกัน
แลว้ ก็ดูทา่ ทางวา่ จะเป็ นเพื่อนกันได้
การพูดวา่
Hi, I’m Pat. เฮห ้ วั ดดีน่ี แพทนะ
ก็สามารถที่จะท ำได้คะ่
แตถ ่ า้ เกิดวา่ เราจะตอ ้ งเจอคนอื่น
ในสถานการณ์อืน ่
ที่ตอ ้ งมีความเป็ นทางการมากขึ้น
เชน ่ จะตอ ้ งแนะนำตัวเอง
กับผูท ้ ำธุรกิจด้วยกัน
หรื อจะตอ ้ งพบเจอลูกคา้ ใหมๆ่
การแนะนำตัวเองแบบขา้ งตน ้ ถือวา่
ไมเ่ หมาะสมเป็ นอยา่ งยิง่ เลยนะคะ
ในสถานการณ์ดังกลา่ ว
จะมีส ำนวนหรื อวา่ มีวลีภาษาอั งกฤษ
มากมายเลยคะ่ ที่เหมาะสม
ในการที่ผูเ้ รี ยนจะสามารถใชแ ้ นะนำตัวเองได้
มากกวา่ การใช้ Hi คะ่
เราลองมาดูกันนะคะ
วา่ มีส ำนวนใดบา้ งที่ไดร้ ั บความนิ ยม
ที่ใชใ้ นการแนะนำตัวเอง
เริ่ มตน ้ แบบงา่ ยๆ เลยนะคะ
ก็คือ
My name is …
ก็คือ ฉั นชื่อวา่ แลว้ ก็ตามด้วยชื่อของทา่ นเองคะ่
หรื อวา่ ทา่ นอาจจะใชค ้ ำวา่
I’m หรื อ I am
จากนั น ้ ตามด้วยชื่อ
หรื อวา่ นามสกุลของทา่ นเองได้คะ่
ตัวอยา่ งเชน ่
My name is Pat. I’m Pat. I am Pat.
หรื อผูเ้ รี ยนอาจจะมีการทั กทาย
เกริ่ นนำกอ ่ นที่จะแนะนำตัวเองอยา่ งเป็ นทางการ
เดี๋ยวเราลองมาดูนะคะวา่ มีอะไรกันบา้ ง
Nice to meet you. I’m Derek.
Pleased to meet you. I’m Derek.
จากประโยคตัวอยา่ ง
ที่ผูเ้ รี ยนไดย้ ินไปเมื่อสั กครู ่ นะคะ
ก็จะแปลวา่
ยินดีท่ีได้รู้จักครั บผมชื่อเดเร็ค
แตว่ า่ ในบางกรณี นะคะ
ผูเ้ รี ยนสามารถใชส ้ ำนวนเกริ่ นนำ
ในการแนะนำตัวเอง
อยา่ งเป็ นทางการได้คะ่
เดี๋ยวเราลองไปฟัง
จากเจา้ ของภาษากันนะคะ
Let me introduce myself; I’m …
I’d like to introduce myself; I’m …
Let me introduce myself to you. I am…
Allow me to introduce myself to you. My name is
คะ่ ส ำนวนที่ผูเ้ รี ยนได้ยินไปเมื่อสั กครู ่ นะคะ
ก็จะแปลวา่
ผมขออนุ ญาตแนะนำตัวเองอยา่ งเป็ นทางการครั บ
ผมชื่อเดเร็ค
ส ำนวนแนะนำตัวเหลา่ นี้ นะคะ
มั กจะใชบ ้ อ่ ยกอ ่ นการนำเสนองาน
หรื อวา่ การนำเสนอตนเองตอ่ หน้าชุมชนคะ่
นอกจากจะบอกวา่ ตัวเองชื่ออะไรแลว้
ผูเ้ รี ยนยั งสามารถสอดแทรกขอ ้ มูลอื่นๆ
ในการแนะนำตัวเอง
เพื่อที่จะใหค ้ ูส่ นทนา
ได้รู้จักเรามากยิง่ ขึ้นคะ่
เราลองมาเริ่ มตน ้ ที่ การบอกอายุ
และวั นเกิดกันนะคะ
โครงสร้างประโยคงา่ ยมากๆ เลยละ่ คะ่
ทา่ นสามารถใช้
I’m หรื อ I am
บวกดว้ ยอายุ หรื ออาจจะพูดวา่
I just turned แลว้ ก็บวกด้วยอายุ
และอาจจะแอบเพิ่มขอ ้ มูลนะคะวา่
last week หรื อวา่ last month
เราลองไปฟังตัวอยา่ งจากเจา้ ของภาษากันคะ่
I am 26 years old.
I just turned 26 last month.
เราลองมาดูค ำแปลกันนะคะ
I am 26 years old.
ผมอายุ 26 ปี ครั บ
หรื อ I just turned 26 last month.
ผมเพิ่งจะมีอายุครบ 26 ปี เมื่อเดือนที่แลว้
เห็นมั ยคะว ้ า่ งา่ ยมากๆ เลย
ในการพูดถึงอายุในภาษาอั งกฤษ
ที่ไมต ้ งการระบุตัวเลขที่ชัดเจน
่ อ
ก็มีเหมือนกันนะคะ
ผูเ้ รี ยนสามารถ
ที่จะใชส ้ ำนวนตอ่ ไปนี้ ไดค ้ ะ่
เราลองมาดูตัวอยา่ งกันนะคะ
I am in my late twenties.
ดิฉันมีอายุย่ีสบ ิ ปลาย ๆ คะ่
ค ำวา่ ปลายๆ ก็คือค ำวา่ late นั ่ นเอง
สว่ นค ำที่ระบุวา่ อยูใ่ นชว่ งตน ้ ๆ
ก็ใหใ้ ชค ้ ำวา่ early ไดน ้ ะคะ
ตัวอยา่ งเชน ่
I am in my early twenties.
ดิฉันอายุย่ีสบ ิ ตน ้ ๆ คะ่
สว่ นค ำที่ระบุวา่
อยูใ่ นชว่ งกลางๆ
ก็ใหใ้ ชค ้ ำวา่ mid ตัวอยา่ งเชน ่ นะคะ
คะ I am in my mid twenties.
ดิฉันอายุย่ีสบ ิ กลางๆ คะ่
นอกจากนี้ นะคะ
ผูเ้ รี ยนอาจจะพูดถึงปี ที่เกิด
เพราะวา่ สามารถบอกอายุได้เชน ่ กันคะ่
ตัวอยา่ งเชน ่ นะคะ
I was born on January 22, 1999
ซึ่งก็แปลวา่ ดิฉันเกิดในเดือนมกราคม วั นที่ 22 ปี 1999
ซึ่งโครงสร้างประโยคก็งา่ ยมากเลยคะ่
เพราะวา่ ผูเ้ รี ยนสามารถที่จะใชโ้ ครงสร้าง
I was born on
จากนั น ้ ตามด้วยเดือน วั นที่ แลว้ ก็ปีคะ่
แตถ ่ า้ เกิดวา่ ผูเ้ รี ยนตอ ้ งการจะบอกแคป่ ี ที่เกิด
ก็จะมีการใช้ preposition ที่ตา่ งออกไปนะคะ
เราจะใชค ้ ำวา่ in แทนค ำวา่ on คะ่
ตัวอยา่ งเชน ่ นะคะ่
I was born in 1999.
ซึ่งก็จะแปลวา่
ดิฉันเกิดในปี 1999 คะ่
ตอ่ ไปนะคะ
เราลองมาดูการอา่ นวั นที่
และปี คริ สตศ ์ ั กราชในภาษาอั งกฤษกันคะ่
การพูดถึงวั นที่
จะเป็ นการอา่ นแบบเลขล ำดับ
เชน ่ ที่ 1 ที่ 2
ซึ่งสว่ นใหญก ่ จ็ ะเป็ นการเติมเสียง /th/
ไวข้ า้ งหลั งตัวเลขนั ่ นเองคะ่
แตว่ า่ ยกเวน ้ เลข 1,2,3 และ 5 นะคะ
เรามาดูตัวอยา่ งกันคะ่
ที่หนึ่ งเราจะพูดวา่ First
ที่สองก็คือ Second
ที่สาม Third
ที่ส่ี Fourth
และที่ห้าอา่ นวา่ Fifth
ล ำดับที่หก Sixth
ที่เจ็ด Seventh
และที่สบ ิ ก็คือ Tenth
แตก ่ ร็ ะวั งนะคะ
เพราะวา่ ล ำดับที่อยา่ งยี่สบ ิ เอ็ด
ไมใ่ ช้ Twenty-oneth นะคะ่
คะซึ่งผิดมาก ตอ ้ งเป็ น Twenty-first คะ่
ผูเ้ รี ยนลองมาอา่ นตัวเลขเหลา่ นี้
เป็ นภาษาอั งกฤษกันดูนะคะ
เชิญคะ่
Eighth
Fifteenth
Twenty-ninth
Thirty-fourth
Ninety-sixth
เป็ นยั งไงกันบา้ งคะ
อา่ นออกเสียงกันถูกมั ยคะ ้
ถา้ ยั งไงกลั บไปฝึกเพิ่มเติมเยอะๆ นะคะ

You might also like