You are on page 1of 7

บทนำ

อารยธรรมโบราณที่ล่มสลายกลายเป็ นอดีตมาหลายพันปี แม้ผคู ้ นในปั จจุบนั ไม่เคยพบเห็นแต่หาได้ทิ้ง


ความใคร่ อยากรู้ไว้ในอดีตดัง่ อารยธรรม แม้กาลเวลาจะผ่านมาเนิ่นนานผูค้ นก็ยงั คงให้ความสนใจกับอารยธรรม
ที่ไม่มีวนั กลับคืนมา ไม่วา่ จะเป็ นอารยธรรมกรี ก อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมโรมัน อารยธรรมเหล่านี้
แทบไม่หลงเหลืออะไรให้ผคู้ นได้คน้ พบอีกแล้ว แต่หากจะกล่าวถึงอารยธรรมโบราณที่ยงั คงหลงเหลือหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์มากมาย อีกทั้งยังมีความเชื่อที่ลึกลับ โดดเด่น เต็มไปด้วยปริ ศนาที่ส่งต่อกันมาถึงปั จจุบนั ให้
ศึกษาเพิ่ม แม้นจะล่มสลายมา 3,000 ปี แล้ว สิ่ งเหล่านี้กห็ าได้หายไปตามกาลเวลานัน่ คือ อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ
อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ หรื อ ไอยคุปต์ เป็ นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก อีกทั้งยังเป็ นหนึ่ง
ในอารยธรรมที่รุ่งโรจน์ในหลาย ๆ ด้านไม่วา่ จะเป็ น ภูมิปัญญาด้านอักษรศาสตร์ที่ประดิษฐ์อกั ษรภาพ หรื อ
ภูมิปัญญาด้านดาราศาสตร์ที่สร้างปฏิทินสุ ริยคติแบ่งวันเป็ น 365 วันได้ แม้อารยธรรมภูมิปัญญาเหล่านี้จะถูก
พัฒนาและไม่ค่อยกล่าวถึงอีกแล้วแต่มีภูมิปัญญาหนึ่งของชาวไอยคุปต์ที่ไม่วา่ จะผ่านไปนานแค่ไหนก็ยงั คงถูก
กล่าวถึง และเป็ นที่รู้จกั กันในทุกคน และทำให้ผคู ้ นนึกถึงอารยธรรมนี้ มากที่สุดนัน่ คือ ภูมิดา้ นสถาปั ตยกรรม
และ ภูมิดา้ นศาสนา ไม่เพียงแต่สร้างความฉงนให้กบั ผูค้ นในปั จจุบนั เรื่ องการสร้างปี ระมิด แต่ยงั ทำให้ผคู ้ น
พิศวงกับความเชื่อเรื่ องเทพเจ้าและการทำมัมมี่
มัมมี่ คือ การรักษาร่ างในรู ปแบบนึงของชาวไอยคุปต์ เมื่อตายไปแล้ว จะทำการผ่าตัดนำอวัยวะภายใน
ออกจากร่ างและเก็บใส่ ขวดโหล ส่ วนร่ างนั้นจะทำการทาน้ำมันสนและสารนาตรอนก่อนห่อด้วยผ้าลินิน โดย
การทำมัมมี่น้ นั ถือเป็ นหัวใจสำคัญของอารยธรรมอียปิ ต์โบราณ เพราะชาวไอยคุปต์มีความเชื่อว่า วิญญาณ เป็ น
อมตะ เมื่อตายไปแล้วจะจากร่ างไปเพียงชัว่ คราวเพื่อไปพบกับพระเจ้าในโลกหน้าแต่เมื่อกลับมาก็จะกลับเข้าร่ าง
เดิม จึงทำให้ชาวไอยคุปต์คิดค้นวิธีการรักษาร่ างหรื อการทำมัมมี่นนั่ เอง นอกจากนี้ยงั มีความเชื่อที่วา่ ร่ างเหล่านี้
ต้องได้รับการปกป้ องคุม้ ครองจากเทพเจ้าอนูบิส หรื อ เทพเจ้าแห่งความตายเป็ นเทพผูช้ ้ ีทางเดินไปสู่ นครแห่งผู ้
วายชนม์ให้กบั เหล่าดวงวิญญาณผูล้ ่วงลับ โดยมีลกั ษณะรู ปร่ างหัวเป็ นสุ นขั จิ้งจอก สี ด ำ โดยชาวไอยคุปต์เชื่อว่า
พระองค์ “ทรงเป็ นผูช้ ่วยในการดองศพให้ถูกต้อง และสร้างองค์ประกอบขึ้นมาใหม่ และ ทรงเป็ นสื่ อกลางใน
การนำวิญญาณไปที่สนามแห่ งของขวัญจากฟ้ า โดยใช้มือปกป้ องมัมมี่” (“The complete gods and goddesses of
ancient Egypt”, 2560)
ความเชื่อและอารยธรรมที่กล่าวมานั้นล้วนมีเสน่ห์ ดึงดูดใจให้ “อเล็กซ์ เคิร์ตซ์แมน” ผูก้ ำกับภาพยนต์
ชาวอเมริ กนั หยิบยกประเด็นเหล่านี้ไปสร้างเป็ นภาพยนต์ที่ถึงแม้จะผ่านมา 24 ปี แล้วก็ยงั อยูใ่ นความทรงจำของ
ใครหลายคน และน้อยคนนักที่จะไม่เคยได้ยนิ ชื่อของภาพยนต์เรื่ อง “The Mummy (1999)”

บทนำ
หากจะกล่าวถึงอารยธรรมโบราณอันเก่าแก่ที่เปี่ ยมล้นไปด้วยความเชื่อและภูมิปัญญา ที่ยงั คงเหลือหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ไม่นอ้ ยไปกว่าอารยธรรมกรี ก โรมัน รวมถึงเมโสโปเตเมีย ที่มีท้ งั ภาษา สถาปั ตยกรรม
ปติมากรรม รวมทั้งวิศวกรรมให้คน้ คว้า อีกทั้งยังมีความเชื่อที่ลึกลับ โดดเด่น เต็มไปด้วยปริ ศนาที่ส่งต่อกันมา
ถึงปั จจุบนั ให้ศึกษาเพิม่ นั้นคงหนีไม่พน้ อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ ที่ถึงแม้จะล่มสลายมานานกว่า 3,000 ปี แล้ว
ทว่าภูมิปัญญาเหล่านี้กห็ าได้หายไปตามกาลเวลา
อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ หรื อ ไอยคุปต์ เป็ นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก อีกทั้งยังเป็ นหนึ่ง
ในอารยธรรมที่รุ่งโรจน์ในหลาย ๆ ด้านไม่วา่ จะเป็ น ภูมิปัญญาด้านอักษรศาสตร์ที่ประดิษฐ์อกั ษรภาพ หรื อ
ภูมิปัญญาด้านศาสนาที่สร้างพิธีกรรมน่าพิศวงเฉกเช่นการทำมัมมี่ อีกทั้งยังมีภูมิปัญญาด้านสถาปั ตยกรรมและ
วิศวกรรมที่โด่งดังไปทัว่ โลกเพราะนอกจะจากจะสร้างสิ่ งที่มีขนาดใหญ่แล้วยังใช้ภูมิปัญญาในการสร้างเกินกว่า
ที่มนุษย์ในปั จจุบนั จะจินตนาการได้นนั่ คือพีระมิด ซึ่ งภูมิปัญญาเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นตามความเชื่อของชาวอียปิ ต์ที่
มีต่อเทพเจ้าและโลกหลังความตาย
มัมมี่ หรื อ ศพอาบน้ำยากันเน่าเปื่ อยของชาวอียปิ ต์โบราณ คือ ภูมิปัญญาหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นตามความเชื่อ
ของชาวอียปิ ต์เกี่ยวกับโลกแห่งความตาย ชาวอียปิ ต์เชื่อกันว่าวิญญาณเป็ นอมตะและสามารถกลับชาติมาเกิดใหม่
โดยเข้าอาศัยร่ างเดิม จึงจำเป็ นต้องเก็บรักษาสภาพศพให้อยูไ่ ด้นานที่สุดเพื่อรอคอยการกลับมาของวิญญาณผู ้
เที่ยวไปในดินแดนแห่งผูว้ ายชนม์ ชาวอียปิ ต์จึงคิดค้นวิธีการรักษาสภาพร่ างเพื่อรอวิญญาณโดยการทำมัมมี่ โดย
เมื่อตายไปแล้ว จะเข้าพิธีการทำมัมมี่โดยการนำอวัยวะภายในมาบรรจุใส่ ขวดโหล รวมถึงชโลมน้ำมันสนและ
สารนาตรอนบนร่ างก่อนห่อด้วยผ้าลินิน โดยชาวอียปิ ต์โบราณเชื่อกันว่าร่ างเหล่านี้จะได้รับการปกป้ องคุม้ ครอง
จากเทพอนูบิส หรื อ เทพเจ้าแห่งความตาย โดยเทพเจ้าอนูบิสมีลกั ษณะโดดเด่นรู ปร่ างเป็ นสุ นขั จิ้งจอก สี ด ำ ซึ่ ง
ชาวอียปิ ต์มีความเชื่อกันว่าสี ด ำเปรี ยบเสมือนความตาย เป็ นผูช้ ้ี ทางเดินไปสู่ นครแห่งผูว้ ายชนม์ให้กบั เหล่าดวง
วิญญาณที่ล่วงลับ
ความเชื่อและอารยธรรมที่กล่าวมานั้นล้วนมีเสน่ห์ ดึงดูดใจให้ “อเล็กซ์ เคิร์ตซ์แมน” ผูก้ ำกับภาพยนต์
ชาวอเมริ กนั หยิบยกประเด็นเหล่านี้ไปสร้างเป็ นภาพยนต์ที่ถึงแม้จะผ่านมา 24 ปี แล้วก็ยงั อยูใ่ นความทรงจำของ
ใครหลายคน และน้อยคนนักที่จะไม่เคยได้ยนิ ชื่อของภาพยนต์เรื่ อง “The Mummy (1999)” ในภาพยนตร์เรื่ องนี้
มีหลายส่ วนที่ตรงกับประวัติศาสตร์ โดยบทความนี้ จะกล่าวถึงประเด็นต่างๆ ที่ภาพยนตร์เรื่ องนี้ ได้น ำความเชื่อ
และ ภูมิปัญญาต่าง ๆ ที่พบในภาพยนตร์

พีก่ ะเทย approved


ความเชื่อของชาวอียปิ ต์ โบราณผ่ านภาพยนตร์ The Mummy (1999)
ภาพยนตร์ The Mummy (1999) มีเรื่ องราวเกิดขึ้นเมื่อ 3,000 ปี ก่อน ณ เมืองธีบส์ ประเทศ
อียปิ ต์ มหาปุโรหิ ตของฟาโรห์เซติที่ 1 ได้ลกั ลอบมีความสัมพันธ์กบั อนัคซูนามุน พระสนมของ
ฟาโรห์เซติที่ 1

เอเวอลีนและโอคอลเนลต้องร่ วมมือกันหาทางกำจัดวิญญาณชัว่ ร้ายนี้ก่อนที่โลกจะถูกภัยพิบตั ิ


บทนำ
หากกล่าวถึงอารยธรรมโบราณอันเก่าแก่ที่เปี่ ยมล้นไปด้วยความเชื่อและภูมิปัญญา อารยธรรมเหล่านั้นก็
มีอยูม่ ากมายหลากหลายอารยธรรม ยกตัวอย่างเช่น อารยธรรมเมโสโปเตเมีย กรี ก หรื อโรมัน หากแต่หลักฐานาง
ประวัติศาสตร์ของอารยธรรมเหล่านั้นสูญหายไปเกือบจะทั้งหมด เหลือก็เพียงแต่อารายธรรมที่มีลกั ษณะโดด
เด่น เต็มไปด้วยปริ ศนา มนต์ขลัง และมีพลังความยิง่ ใหญ่ ที่ยงั คงมีหลักฐานหลงเหลือให้ศึกษา นัน่ คือ
อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ
อียปิ ต์โบราณ หรื อ ไอยคุปต์ เป็ นหนึ่งในช่วงเวลาที่อารยธรรมของชาวอียปิ ต์ก ำลังรุ่ งเรื อง นอกเหนือ
จากสถาปั ตยกรรมแล้วก็ยงั มีความเชื่อต่าง ๆ ที่ ณ ปั จจุบนั นี้ นักวิชาการก็ยงั คงให้ความสนใจและต้องการศึกษา
ไม่วา่ จะเป็ น ตัวอักษรเฮียโรกลิฟิก และเฮียราติก ที่กว่าจะหาคำตอบไม่ได้กใ็ ช้เวลาไปไม่นอ้ ย นอกจากนี้ ยงั มี
พีระมิด สถาปัตยกรรมที่โด่งดังไปทัว่ โลกเพราะนอกจากจะเป็ นสิ่ งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่แล้วยังใช้ภูมิปัญญาใน
การสร้างที่เกินกว่ามนุษย์ในปัจจุบนั จะจินตนาการได้ ถึงแม้วา่ ในเวลาต่อมาสิ่ งก่อสร้างนี้จะเป็ นหนึ่งในปั จจัยที่
ทำให้อียปิ ต์ในยุคสมัยนั้นเสื่ อมอำนาจลงแต่กแ็ สดงให้เห็นถึงความเชื่อเรื่ องชีวิตหลังความตายของชาวไอยคุปต์
อีกด้วย สิ่ งก่อสร้างชนิดนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เป็ นที่อยูข่ องศพฟาโรห์และบุคคลสำคัญซึ่ งศพเหล่านั้นจำเป็ นจะ
ต้องทำเป็ นมัมมี่
มัมมี่ หรื อ ศพอาบน้ำยากันเน่าเปื่ อยของชาวอียปิ ต์โบราณ เป็ นอีกหนึ่งอารยธรรมที่แสดงให้เห็นถึง
ความเชื่อในชีวิตหลังความตายของชาวอียปิ ต์ ชาวอียปิ ต์เชื่อกันว่าวิญญาณเป็ นอมตะและสามารถกลับมาเกิด
ใหม่ได้ จึงจำเป็ นจะต้องเก็บรักษาสภาพศพให้อยูไ่ ด้นานที่สุดเพื่อรอคอยการ กลับมาของวิญญาณผูเ้ ที่ยวไปใน
ดินแดนแห่งผูว้ ายชนม์ และแน่นอนว่ามัมมี่เหล่านั้นจะได้รับการอารักขาโดยเทพผูไ้ ด้รับหน้าที่ปกป้ องศพที่ถูก
รักษาสภาพเอาไว้ และเป็ นเทพผูช้ ้ี ทางเดินไปสู่ นครแห่งผูว้ ายชนม์ให้กบั เหล่าดวงวิญญาณผูล้ ่วงลับ เทพเจ้าที่
กล่าวถึงคือ อนูบิส เทพเจ้าแห่งความตาย “โดยชาวอียปิ ต์เชื่อกันว่าพระองค์ทรงเป็ นผูช้ ่วยในการดองศพให้ถูก
ต้อง และสร้างองค์ประกอบขึ้นมาใหม่รวมถึงทรงเป็ นสื่ อกลางในการนำวิญญาณไปที่สนามแห่งของขวัญจากฟ้ า
โดยใช้มือปกป้ องมัมมี่” (“The complete gods and goddesses of ancient Egypt”, 2560) อนูบิสเป็ นสุ นขั สี ด ำ
หรื อบางที่กอ็ ธิบายว่าเป็ นสุ นขั จิ้งจอก มีหวั เป็ นสุ นขั ส่ วนร่ างกายนั้นเป็ นคน มีสีด ำ เนื่องจากสี ด ำนั้นเป็ น
สัญลักษณ์ของความตาย
ความเชื่อและอารยธรรมทั้งหมดทั้งมวลที่ได้กล่าวมานั้นมีเสน่ห์เย้ายวน ดึงดูดให้ “อเล็กซ์ เคิร์ตซ์แมน”
ผูก้ ำกับภาพยนต์ชาวอเมริ กนั หยิบยกประเด็นเหล่านี้ไปสร้างเป็ นภาพยนต์ที่ถึงแม้จะผ่านมา 24 ปี แล้วก็ยงั อยูใ่ น
ความทรงจำของใครหลายคน และน้อยคนนักที่จะไม่เคยได้ยนิ ชื่อของภาพยนต์เรื่ อง “The Mummy”
การทำมัมมี่ถือว่าเป็ นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่ งของอารยธรรมอียิปต์ เพราะ ชาวอียิปต์เชื่อว่า เมื่อตายไปแล้ว วิญญาณจะจาก
ร่ างไปเพียงชัว่ คราว เพื่อไปพบกับพระเจ้าในโลกหน้า เมื่อวิญญาณกลับมาแล้วยังต้องมีร่างกายอยู่ และต้องเป็ นร่ างกาย
ของตนเองเท่านั้น จึงเป็ นที่มาของการทำมัมมี่

ประดิษฐ์อกั ษรภาพ ไฮโรกลิฟฟิ กด้านสถาปั ตยกรรมอย่างมาก

อารยธรรมเหล่านี้ไม่เพียงหลงเหลือไว้เพียงแต่ความทรงจำ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
แต่ยงั หลงเหลือความเชื่อที่ส่งต่อมาถึงปัจจุบนั อีกด้วย แต่หากจะกล่าวถึงอารยธรรม
โบราณที่ยงั คงหลงเหลือหลักฐานทาง

หากจะกล่าวถึงอารยธรรมโบราณที่ผา่ นมานานหลายพันปี ผ

You might also like