You are on page 1of 60

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อน


และหลักฐานสนับสนุน

นางมงคล จันทราภรณ์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ก

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสริมได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย นของผู้ เ รี ย นกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็น นวั ต กรรมที่ ช่ ว ยลดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซึง่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่ อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้

มงคล จันทราภรณ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ข

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
ลาดับความคิดต่อเนื่อง 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน 7
บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การสารวจหลักฐานสนับสนุนว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกัน 26
บัตรกิจกรรมที่ 2.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 31
บัตรกิจกรรมที่ 2.3 ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 32
แบบฝึกหัด เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน 33
แบบทดสอบหลังเรียน 34
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 37
บรรณำนุกรม 38
ภำคผนวก 39
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การสารวจหลักฐานสนับสนุนว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกัน 40
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 47
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.3 ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 48
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน 49
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 50
ประวัติย่อผู้จัดทำ 51

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ค

คำชี้แจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 2 เรื่ อ ง กระบวนการ


เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการ
จั ดการเรี ย นรู้ รายวิช าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหั ส วิช า ว30104 ชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 6
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับ
และวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ
ส่ งเสริ มเจตคติที่ ดี นั กเรี ย นจะได้ พัฒ นากระบวนการคิ ด กระบวนการตั ดสิ น ใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสารวจตรวจสอบข้อมูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 4 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชุดที่ 7 เรื่อง แผ่นดินไหว
ชุดที่ 8 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ เป็น ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อน
และหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศึกษาขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรี ย นและผู้ส นใจที่จ ะน าไปใช้ส อนและฝึ กเด็กในปกครองในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ง

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

เสริมพื้นฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพื้นฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามขั้นตอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดกิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐำนสนับสนุน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน จ

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิด


ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะ
ได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการ
สืบ ค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดังนี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนี้
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏิบัติกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่รบกวนผู้อื่น และไม่ชักชวนเพื่อนให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิ้นให้เรียบร้อย
4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัติตนอย่างตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขั้นตอน ดังนี้
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
5.2 ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความสนใจ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ฉ

5.3 ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา


5.4 ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
5.5 ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมิน
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ช

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิด


ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐำนสนับสนุน ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปั ญหา ผ่ านทาง
กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคาชี้แจง ดังต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อน
และหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวิธีดาเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 11

ชุดที่ 2

แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและความสั ม พั น ธ์ ข องระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณี วิทยาที่สนับสนุน การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
โดยใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุ ส าเหตุ และอธิ บ ายรู ป แบบแนวรอยต่ อ ของแผ่ น ธรณที่ สั ม พั น ธ์
กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยา
ที่พบ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 22

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด

1. อธิบายแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี (K)


2. อธิบายหลักฐานทางธรณีที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี (K)
3. สร้างแบบจาลองและอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของรอยต่อของแผ่นธรณีภาคของโลก (P)
4. ทดลองและอธิบายสาเหตุที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ (P)
5. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐาน
สนับสนุน ในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)
6. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่นได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนือ่ ง

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ธรณี ภ าคซึ่งเป็น ชั้น นอกสุดของโครงสร้ า งโลก แบ่งออกเป็น แผ่น ธรณี (plate)
หลายแผ่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนฐานธรณีภาคทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีอยู่ตลอดเวลา

ทฤษฎีทวีปเลื่อน คือ แนวความคิดที่กล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ


ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปัจจุบัน แต่เคยอยู่รวมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพียงแผ่นดินเดียวที่
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)

หลักฐานที่สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซาก


ดึกดา บรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครูดบนหินที่เกิด
จากการเคลื่อนตัวของธารน้า แข็งบรรพกาล

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 33

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ได้แ ก่ สัน เขากลางสมุทร อายุของหิน บะซอลต์บนพื้น มหาสมุทร
ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่


ขยายพื้นสมุทร นา มาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่น ธรณี อัน เนื่องมาจากวงจรการพาความร้ อนของแมกมา
ภายในเนื้อโลก

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ


แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณีต่าง ๆ บนโลก

สาระสาคัญ

แผ่นธรณีต่าง ๆ ของโลกมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและตาแหน่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
มีหลักฐานปรากฏให้เห็น ซึ่งอธิบายการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ตามทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่น
ธรณี โดยมี แนวคิ ด มาจาก ทฤษฎี ท วี ป เลื่ อ น และทฤษฎี ก ารแผ่ ข ยายพื้ น สมุ ท ร ซึ่ ง มี ห ลั ก ฐาน
ที่ส นับ สนุ น ได้แก่ รูป ร่างของขอบทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกันได้ ความคล้ายคลึ งกันของกลุ่มหิ น
และแนวเทือกเขา ซากดึกดา บรรพ์ ร่องรอยการเคลื่อนที่ของตะกอนธารน้า แข็ง ภาวะแม่เหล็ก
บรรพกาล อายุหินของพื้นมหาสมุทร รวมทั้งการค้นพบสันเขากลางสมุทร และร่องลึกก้นสมุทร
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีอธิบายการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี เนื่องจากการพา
ความร้อน ของแมกมา ภายในโลก โดยแนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ ได้แก่ แนวแผ่นธรณี
แยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน และแนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน ในแนวราบ ซึ่งทา ให้เกิดธรณี
สัณฐาน ได้แก่ ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง แนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุด
และสันเขากลางสมุทร และ โครงสร้างทางธรณี เช่น เขตรอยเลื่อน นอกจากนี้ยังทา ให้เกิดธรณี
พิบัติภัยต่าง ๆ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 44

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. ในการศึกษาเรื่องใด ๆ อาจมีแนวคิดหรือทฤษฎีในเรื่องนั้น ๆได้มากกว่าหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
อะไร
ก. เวลาที่ค้นพบ
ข. ผู้ทาการค้นคว้า
ค. ข้อมูลที่ถูกค้นพบ
ง. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

2. บุคคลใดที่เป็นผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเลื่อน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

3. โครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆประกอบไปด้วยชั้นใดบ้าง
ตามลาดับ
ก. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นผิวโลก, ชั้นเนื้อโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นเนื้อโลก, ชั้นแก่นโลก
ค. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นใน, ชั้นแก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นนอก, แก่นโลกชั้นใน

4. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเกิดจากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของชิ้นหิน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 55

5. ธรณีภาคแผ่นอินเดียเคลื่อนเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผ่นยูเรเซียทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

6. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหนึ่งทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งใด

7. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดได้แก่แผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคลื่อนที่ตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคที่อยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

8. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับทวีปเลื่อน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเลื่อนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเริ่มค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน
ค. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเลื่อนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ง. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเลื่อนออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่งเกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภู เขา
ไฟใต้ทะเลเกิดจากอะไร
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนที่มุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ค. แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ง. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 66

10. ธรณีภาค เกิดจากอะไร


ก. เปลือกโลกส่วนที่เป็นแผ่นดิน
ข. การหลอมละลายของชั้นหิน
ค. เนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 77

บัตรเนื้อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

ในต้น ศตวรรษที่ 19 มีนักวิทยาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดว่า ในอดีต ณ ช่ว งเวลาหนึ่งทวีป


ต่าง ๆ ของโลกไม่ได้มีตาแหน่งเหมือนเช่นปัจจุบัน แต่เคยเชื่อมต่อเป็นผืนแผ่นดินเดียวกันมาก่อน
นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งที่เสนอแนวคิดข้างต้น คือ อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener)

รูปที่ 2.1 แผนภาพแสดงหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ กลุ่มหินและแนวเทือกเขาในทวีปต่าง ๆ


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 117)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดยเริ่มจากการสังเกตรูปร่างทวีปต่าง ๆ บนโลกและพบว่าบางทวีปมีขอบที่ต่อกันได้
ดังรูปที่ 2.2 จึงนาไปสู่การศึกษาหาหลักฐานและข้อมูลเพื่อสนับสนุนแนวคิดดังกล่าว

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 88

รูปที่ 2.2 แสดงรอยต่อของทวีปในอดีต


ที่มา http://508 star.blogspot.com

รูป ที่ 2.2 แสดงให้ เห็น ว่าเมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา
อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมี
หลักฐานเป็นร่องรอยของธารน้าแข็งในอดีต ในขณะที่ตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย
มีหลักฐานบ่งชี้ว่า เคยเป็นเขตร้อนแถบศูนย์สูตรมาก่อน เนื่องจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ามัน
ซึ่งเกิดจากการทับถมของพืชในอดีต และหลักฐานจากฟอสซิล
นั ก ธรณี วิ ท ยาเชื่ อ ว่ า เปลื อ กโลกมี ก ารเคลื่ อ นที่ ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้ อ ธิ บ าย
ปรากฏการณ์ของการที่มหาทวีป 2 แห่ง ซึ่งเคยวางตัวอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือและใต้แตกแยกออกเป็น
ทวีปขนาดเล็กกว่าและเคลื่อนที่ มาทางเส้นศูนย์สูตร นั่นคือมหาทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซึ่งอยู่ทาง
เหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซึ่งอยู่ทางใต้ โดยเป็นการเคลื่อนที่เฉพาะของ
เปลือกโลกไซอัล และผลักดันตะกอนทาให้เกิดแนวเทือกเขาทางด้านหน้าที่ทวีปเคลื่อนที่ไปประกอบ
กับ ร่ องรอยการแตกแยกของทวีปทางด้านหลัง ส าหรับแรงที่ทาให้ เกิดการเคลื่ อนที่ของทวีปนั้น
อธิบายว่า มาจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์ซึ่งเข้ามาอยู่ใกล้ชิดโลกมาก ในยุคครีเทเชียส
ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegener ได้สร้างแผนที่มหาทวีปใหม่เพียงแห่งเดียว โดยอาศัย
รูปร่างแผนที่ของ Snider และตั้งชื่อว่ามหาทวีปพันเจีย ล้อมรอบอยู่ด้วยมหาสมุทรแพนธาลาสซา
(Panthalassa) แล้วจึงแตกออกและเคลื่อนที่ไปอยู่ ณ ตาแหน่งที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 99

ขณะเคลื่อนที่ก็เกิดเทือกเขาด้านหน้า การแตกแยกด้านหลังเหมือนคาอธิบายของ Taylor


นอกจากนี้ยังอธิบ ายว่ารอยชิ้นทวีป ที่ข าดหล่ นปรากฏเป็นเกาะแก่ง หรือรอยฉีกที่พบเป็นร่องลึ ก
ยังปรากฏอยู่บนพื้นมหาสมุทร ขณะเดียวกับที่มีการแทรกดันขึ้นมาของเปลือกโลก ที่มีมวลตั้งต้น
มาจากชั้นเนื้อโลก

รูปที่ 2.3 ภาพแสดงแผ่นทวีปต่าง ๆ


ที่มา : http://www.baanjomyut.com

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 10
10

ในอดีตทปเคยอยู่ติดกันมาก่อน โดยใช้หลักฐานต่าง ๆ มาสนับสนุน เช่น รูปร่างของขอบ


ทวีป ซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา การเคลื่อนที่ของธารน้าแข็ง
บรรพกาลสาหรับเวเกเนอร์ หลักฐานแรกที่นามาใช้อธิบายแนวคิดเรื่อง "ในอดีตทวีปทั้งหมดเคยเป็น
แผ่นดินเดียวกันมาก่อน" คือ รูปร่างของขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบที่ต่อกันได้ เช่น ทวีป
อเมริกา แอฟริกา และยุโรป ซึ่งคาดว่าทวีปเคยอยู่ติดกัน ทั้งนี้จากกิจกรรมจะเห็นว่าการต่อรูปร่าง
ของทวีปโดยพิจารณาจากแนวชายฝั่งในปัจจุบันอาจต่อกันได้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากการกร่อนและการ
สะสมตัวของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบของลาดทวีปจะ
พบว่าทวีปต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อกันได้สมบูรณ์มากขึ้น ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 การเชื่อมต่อขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกโดยพิจารณาจากขอบของลาดทวีปเป็นเกณฑ์


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 118)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 11
11

รูปที่ .5 การกระจายตัวของซากตึกดาบรรพ์พืชและสัตว์ชนิดต่าง ๆ
ที่ค้นพบในแต่ละทวีป แสดงถึงการเชื่อมต่อของแผ่นดินในอดีต
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 119)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

นอกจากหลั ก ฐานเรื่ อ งขอบทวี ป แล้ ว เวเกเนอร์ ไ ด้ พ ยายามหาค าอธิ บ ายแนวคิ ด


โดยการศึกษาและหาหลักฐานด้วยตนเอง ร่วมกับข้อมูลจากงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ ดังนี้
(1) หลักฐานซากดึกดาบรรพ์ จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ เช่น กลอส
โซพเทรีส (Glossopteris มีโซซอรัส (Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทรซอรัส
(Lystrosaurus) บนทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอพริกา ทวีปแอนตาร์กติกา ทวีปออสเตรเลีย และประเทศ
อินเดีย ซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างกันมากและมีมหาสมุทรคั่นอยู่ ดังนั้นโอกาสที่พืชและสัตว์
ดังกล่าวจะข้ามถิ่นฐานระหว่างทวีปนั้นเป็นไปได้ยาก จึงเป็นหลักฐาน ที่อธิบายได้ว่าในอดีตทวีป
ดังกล่าวเคยอยู่ติดกันมาก่อนดังรูป 2.5
(2) หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา เมื่อพิจารณาหลักฐานทางด้านธรณีวิทยา
และธรณีก าล นั กวิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ศึ ก ษาชนิด หิ น และกลุ่ ม หิ น ตามแนวเทื อ กเขาแอปพาเลเชี ย น
(Appalachian mountains) ในทวีปอเมริกาเหนือ และแนวเทือกเขาคาเลโดเนียน (Caledonian
mountains) ในประเทศนอร์เวย์ กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ ซึ่งอยู่บนสองฝั่งของมหาสมุทร
แอตแลนติกดังรูป 2.6 (ก) พบว่าแนวเทือกเขาทั้งสองมีกลุ่มหินที่คล้ายคลึงกันและมีช่วงอายเดียวกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 12
12

ประมาณ 200 ล้ านปี และเมื่อนาขอบของลาดทวีปมาเชื่อมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขาทั้งสอง


วางตัว อยู่เป็ น แนวเทือกเขาเดีย วกัน ดังรูป 2.6 (ข) จึงเป็นอีกหลักฐานหนึ่งที่นามาใช้ส นับสนุน
แนวความคิดที่ว่าในอดีตทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันมาก่อน

รูปที่ 2.6 หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 120)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษากลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีป


ออสเตรเลียและประเทศอินเดีย พบว่าต่างก็มีกลุ่มหินที่มีช่วงอายุระหว่าง 359-146 ล้านปี และมี
สภาพแวดล้อมการเกิดของหินคล้ายคลึงกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 13
13

(3) หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล จากการที่นักวิทยาศาสตร์ได้


ศึกษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ และประเทศ
อินเดียซึ่งในปัจจุบันอยู่ในเขตร้อนขึ้นหรือเขตอบอุ่น พบว่าในบางบริเวณของทวีปเหล่านั้นมีหลักฐาน
รอยครูดถูแสดงการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลในช่วงอาย 280 ล้านปี ดังรูป 2.7 และเมื่อนา
ขอบทวีปมาต่อกัน พร้อมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถูบน
หินฐานที่ธารน้าแข็งเคลื่อนที่ผ่าน พบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสู่บริเวณอื่น 1 ซึ่งคล้ายคลึงกับลักษณะการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา
ในปัจจุบันจึงเป็นสมมุติฐานว่าทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันใกลับริเวณขั้วโลกใต้และมีพืดน้าแข็งปกคลุม
ดังรูป 2.8

รูปที่ 2.7 ทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลและพื้นที่ที่ถูกปกคลุมด้วยธารน้าแข็ง


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 121)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 14
14

รูปที่ 2.8 ทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล


และทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันบริเวณขั้วโลกใต้
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 122)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ทุกทวีปในโลกเคยเป็นแผ่นดินเดียวกัน
นักธรณีวิทยาพบว่าเปลือกโลกมิได้รวมติดกันเป็นแผ่นเดียวโดยตลอด มีรอยแยกอยู่ทั่วไป
ซึ่งรอยแยกเหล่านี้อยู่ ลึกลงไปจากผิว โลก เปลือกโลกแบ่งเป็นแผ่ นเปลือกโลกขนาดใหญ่ 6 แผ่ น
และแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กอีกหลายแผ่น

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 15
15

รูปที่ 2.9 แผ่นเปลือกโลกแสดงรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก


ที่มา http://www.baanjomyut.com
จากรูปที่ 2.9 แผ่นเปลือกโลก จะเห็นว่าเปลือกโลกประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่
6 แผ่น ดังนี้
1. แผ่นยูเรเซีย เป็นแผ่นโลกที่รองรับทวีปเอเซียและทวีปยุโรป และพื้นน้าบริเวณใกล้เคียง
2. แผ่นอเมริกา แผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้และพื้นน้า
ครึ่งซีกตะวันตกของมหาสมุทรแอนแลนติก
3. แผ่นแปซิฟิก เป็นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับมหาสมุทรแปซิฟิก
4. แผ่นออสเตรเลีย เป็นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย และพื้น
น้าระหว่างประเทศออสเตรเลียกับประเทศอินเดีย
5. แผ่นแอนตาร์กติกา เป็นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปแอนตาร์กติกา และพื้นน้าโดยรอบ
6. แผ่นแอฟริกา เป็นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปแอฟริกา และพื้นน้ารอบๆ ทวีป
นอกจากนี้ ยังมีแผ่ นเปลือกโลกขนาดเล็ก อีกด้วย เช่น แผ่ นฟิลิปปินส์ ซึ่งรองรับประเทศ
ฟิลิปปินส์ เป็นต้น
ซึ่งมีทฤษฎีและหลักฐานต่างๆ มากมาย เพื่อพิสูจน์ว่าโลกเคยเป็นแผ่นดินเดียวกัน แล้วแยก
ออกจากกันจนเป็นรูปร่างที่เห็นในปัจจุบัน
ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป เป็นทฤษฎีที่เสนอโดย อัลเฟรด เวเกเนอร์ ชาวเยอรมัน
ซึ่งมีใจความว่า เมื่อ 180 ล้านปี ผิวโลกส่วนที่เป็นแผ่นดินซึ่งโผล่พ้นผิวน้าที่ติดกันเป็นทวีปเดียว เรียก
ทวีปใหญ่นี้ว่า แพงเจีย (pangea) ซึ่งแปลว่า all land หรือ แผ่นดินทั้งหมด เมื่อเลาผ่านไปแพงเจีย

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 16
16

เริ่มแยกเป็นหลายส่วน แต่ละส่วนขยับเขยื้อนเคลื่อนที่แยกจากกันไปเป็นทวีปต่างๆ ดังปรากฏใน


ปัจจุบัน

ภาพที่ 2.10 ทวีปเดียวตามแนวคิดของ อัลเฟรด เวเกเนอร์


ที่มา http://www.baanjomyut.com

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของอัลเฟรด เวเกเนอร์

1. หลักฐานสภาพรูปร่างของทวีป
สาหรับเวเกเนอร์หลักฐานแรกที่นามาใช้อธิบายแนวคิดเรื่อง“ ในอดีตทวีปทั้งหมดเคย
เป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน” คือรูปร่างของขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบที่ต่อกันได้เช่น
ทวีปอเมริกาแอฟริกาและยุโรปซึ่งคาดว่าทวีปเคยอยู่ติดกันทั้งนี้จากกิจกรรมจะเห็นว่าการต่อรูปร่าง
ของทวีปโดยพิจารณาจากแนวชายฝั่งในปัจจุบันอาจต่อกันได้ไม่สมบูรณ์เนื่องจากการกร่อนและการ
สะสมตัวของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบของลาดทวีป
จะพบว่าทวีปต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อกันได้สมบูรณ์มากขึ้นดังรูป 2.11

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 17
17

รูปที่ 2.11 การเชื่อมต่อขอบทวีปต่าง ๆ บนโลก โดยพิจารณาจากขอบของลาดทวีปเป็นเกณฑ์


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 37)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
รูปร่างของทวีปต่างๆ สวมกันได้อย่างพอเหมาะโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทวีปแอฟริกากับทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 18
18

รูปที่ 2.12 ทวีปเดียวตามแนวคิดของ อัลเฟรด เวเกเนอร์


ที่มา http://www.baanjomyut.com

ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมชาวเยอรมัน ชื่อ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ได้ตั้งสมมติฐานว่า


แผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันเรียกว่าพันเจียซึ่งเป็นภาษากรีกแปลว่าแผ่นดิน
ทั้งหมด
พันเจีย เป็นมหาทวีปที่คลุ มพื้นที่จากขั้ว โลกเหนือ -ขั้วโลกใต้ ล้ อมรอบด้วยมหาสมุทรพัน
ทาลัสซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตร คือลอเรเซีย และส่วนใต้เส้นศูนย์สูตร
คือกอนด์วานา เวเกเนอร์และคณะได้อธิบายสมมติฐานโดยใช้หลักฐาน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 19
19

รูปที่ 2.13 แสดงขั้นตอนการเลื่อนของแผ่นธรณีภาคจากอดีตถึงปัจจุบัน


ที่มา http://khanaporn.exteen.com

1. หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวภูเขา
3. หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
4. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
และหลักฐานข้อมูลทางธรณีวิทยาอื่นๆที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป

2. หลักฐานสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์

มีการอ้างหลักฐานการพบซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์และชั้นของหิน
ชนิดเดียวกันในสองทวีปแถบที่อยู่ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียง
เวเกเนอร์ได้เสนอแนะให้ลองพิจารณารูปร่างของทวีปต่างๆ บนแผนที่โลก เวเกเนอร์ยัง
ได้ศึกษาซากฟอสซิลของพืชและสัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง (Coastline) ทั้งทวีปอเมริกาใต้และ
ทวีปแอฟริกา ซึ่งพบว่าบริเวณที่แนวชายฝั่งทวีปทั้งสองต่อตรงกันนั้น ซากฟอสซิลที่พบก็เหมือนกัน
ทุกอย่างด้วยซึ่ง หมายความว่าพืชและสัตว์ที่กลายเป็นฟอสซิลนั้นเป็นชนิดเดียวกัน หากทวีปทั้งสอง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 20
20

อยู่แยกกันมาอย่างในปัจจุบัน โดยมีมหาสมุทรคั่นระหว่างทวีปเช่นนี้ แล้วพวกพืชและสัตว์ในอดีต


เหล่านี้จะเดินทางจากทวีปหนึ่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปสู่อีกทวีปหนึ่งได้อย่างไร ข้ อสังเกตนี้
สนับสนุนสมมติฐานของเวเกเนอร์ที่ว่า ทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาเดิมเป็นผืนดินเดียวกัน

รูปที่ 2.14 แสดงหลักฐานรอยต่อของทวีปและหลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์


ที่มา : http://khanaporn.exteen.com

ทฤษฎีนี้เกิดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการศึกษาแผนที่โลกของ ฟรานซิส เบคอน


(Francis Bacon) โดยคาดเดาว่า ทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกา หากดันเข้ามาประกอบกัน
สามารถเชื่อมต่อกันได้พอดี
ต่อมาในปี ค.ศ.1915 อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) ได้นาเสนอเกี่ยวกับทฤษฎี
ทวีปเลื่อนว่า เมื่อประมาณ 200 - 300 ล้านปีที่ผ่านมา แผ่นดินทั้งหมดในโลกรวมเป็นผืนเดียวกัน
เรี ย กว่า “แพงเจี ย ” (Pangea : แปลว่า ผื นแผ่ นดินทั้งหมด) ซึ่ งประกอบด้ว ยทวีปอเมริกาเหนื อ
อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย อินเดีย และหมู่เกาะมาดากัสการ์ มากล่าวไว้ โดยกล่าวว่า ในยุค
ไตรแอสสิก ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเริ่มค่อย ๆ มีการแยกตัวออกจากกัน โดยทวีปอเมริกา

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 21
21

เหนือและอเมริกาใต้จะค่อย ๆ แยกจากทวีปแอฟริกา และทวีป ยุโรป จึงทาให้ขนาดของมหาสมุทร


แอตแลนติกกว้างยิ่งขึ้น เราเรียกการเคลื่อนไหวดังกล่าวว่า “ทวีปเลื่อน” (Continental Drift)
ทฤษฎีเลื่อนนี้เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปี ค.ศ.1960 จากทฤษฎีดังกล่าว กล่าวถึงการที่ทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้รวมเป็นแผ่นเดียวกันเรียกว่า “แผ่นอเมริกา” และมักพบว่าส่วน
บริเวณที่เป็นขอบของแผ่นทวีป เช่น แผ่นทวีปแปซิฟิก จะพบแนวการเกิดภูเขาไฟและแผ่นดินไหวอยู่
เสมอ เนื่องจากการเคลื่อนที่ของ แผ่นทวีป (plate) อยู่ตลอดเวลา สันนิษฐานว่าการเคลื่อนที่ของหิน
หลอมละลายและกระบวนการพาความร้อนภายในโลก เนื่องมาจากความแตกต่างของอุณหภูมิและ
ความหนาแน่นทาให้เกิดการหมุนเวียน
โดยเมื่อ 200 ล้ านปี ก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลี ย
เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเป็นร่องรอย
ของธารน้าแข็งในอดีต
ในขณะที่ตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย มีหลักฐานบ่งชี้ว่า เคยเป็นเขตร้อน
แถบศูนย์สูตรมาก่อน เนื่องจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ามัน ซึ่งเกิดจากการทับถมของพืช
ในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิล แสดงให้เห็นว่า เมื่อครั้งก่อนแผ่นดินเหล่านี้เคยอยู่ชิด
ติดกัน พืชและสัตว์บางชนิดจึงแพร่ขยายพันธุ์บนดินแดนเหล่านี้ในอดีต
แผ่นเทคโทนิกยูเรเชีย และแผ่นเทคโทนิกออสเตรเลียมีรอยเชื่อมกันอยู่ที่บริเวณอินโดนีเซีย
ไปจนถึงทะเลอันดามัน (เส้นสีเทา ) ซึ่งเกิดการเลื่อนเบียดกัน ณ บริเวณเส้นวงกลม ใต้ท้องทะเล
จึงเกิดเหตุคลื่นยักษ์
แผ่ น ดิ น ไหวเริ่ ม ที่ เ กาะสุ ม าตรา เนื่ อ งแผ่ น เทคโทนิ ก 2 แผ่ น คื อ แผ่ น ออสเตรเลี ย
และยูเรเซียเคลื่อนที่จนทาให้เกิดการเบียดกันและมุดเข้าหากับอีกแผ่นที่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของ
เกาะสุมาตรา ทาให้เกิดคลื่นใต้น้าขนาดใหญ่เข้าสู่ชายฝั่ง
แนวความคิดที่สนั บ สนุ น ทฤษฎีทวีปเลื่อน ได้แก่ ทฤษฎีการขยายตัว ของพื้นทะเล (Sea
Floor Spreading Theory) และยังมีหลักฐานสนับสนุนอื่นๆ อีก เช่น หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ที่พบบริเวณสองฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ได้แก่ ฝั่งทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกาใต้ มีลักษณะ
คล้ายกัน
นอกจากหลักฐานเรื่องขอบทวีปแล้วเวเกเนอร์ได้พยายามหาคาอธิบายแนวคิดโดยการศึกษา
และหาหลักฐานด้วยตนเองร่วมกับข้อมูลจากงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ ดังนี้
(1) หลักฐานจากซากดึ กด าบรรพ์จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ เช่น
กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) มีโซซอรัส (Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทร
ซอรั ส (Lystrosaurus) บนทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีปแอนตาร์กติกาทวีปออสเตรเลียและ
ประเทศอินเดียซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ต่าง ๆ ดังกล่าวอยู่ห่างกันมากและมีมหาสมุทรคั่นอยู่ดังนั้นโอกาสที่

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 22
22

พืช และสั ตว์ ดั งกล่ าวข้ ามถิ่ น ฐานระหว่ า งทวี ปนั้ น เป็ น ไปได้ย ากนั ก วิท ยาศาสตร์ จึง น ามาใช้ เ ป็ น
หลักฐานประกอบว่าในอดีตทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันมาก่อนดังรูป 3.9

รูปที่ 2.15 การกระจายตัวของซากดึกดาบรรพ์พืชและสัตว์ชนิดต่าง ๆ


ที่ค้นพบในแต่ละทวีป แสดงถึงการเชื่อมต่อของแผ่นดินในอดีต
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 38)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

(2) หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา เมื่อพิจารณาหลักฐานทางด้านธรณีวิทยาและ


ธรณี ก าลนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ ศึ ก ษาชนิ ด หิ น และกลุ่ ม หิ น ตามแนวเทื อ กเขาแอปพาเลเชี ย น
( Appalachian mountains) ในท วี ป อ เมริ กาเ หนื อ แ ละ แ น ว เ ทื อ ก เ ข า ค า เ ล โ ด เ นี ย น
(Caledonian mountains) ในประเทศนอร์เวย์กรีนแลนด์ไอร์แลนด์และอังกฤษซึ่งอยู่บนสองฝั่ง
ของมหาสมุทรแอตแลนติกดังรูป 2.10 (ก) พบว่าแนวเทือกเขาทั้งสองมีกลุ่มหินเดียวกันและมีช่วง
อายุเดียวกันประมาณ 200 ล้านปีและเมื่อนขอบของลาดทวีปมาเชื่อมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขา
ทั้ ง สองวางตั ว อยู่ เ ป็ น แนวเทื อ กเขาเดี ย วกั น ดั ง รู ป 2.10 (ข) จึ ง เป็ น อี ก หลั ก ฐานหนึ่ ง ที่ น ามาใช้
สนับสนุนแนวความคิดที่ว่าในอดีตทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันมาก่อน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 23
23

รูปที่ 2.16 หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา


(ก) แนวเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป ในปัจจุบัน
(ข) แนวเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป ที่เคยเชื่อมต่อกันในอดีต
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 39)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 24
24

นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ ยังได้ศึกษากลุ่ มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีป


ออสเตรเลียทวีปแอนตาร์กติกาและประเทศอินเดียพบว่าต่างก็มีกลุ่มหินที่มีช่วงอายุระหว่าง 359-
146 ล้านปี และมีสภาพแวดล้อมการเกิดของหินคล้ายคลึงกัน
(3) หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล จากการที่นักวิทยาศาสตร์ได้
ศึกษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวีปออสเตรเลียทวีปแอฟริกาทวีปอเมริกาใต้และประเทศอินเดีย
ซึ่งในปัจจุบันอยู่ในเขตร้อนชื้นหรือเขตอบอุ่นพบว่าในบางบริเวณของทวีปเหล่านั้นมีหลักฐานรอย
ครูดแสดงการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลในช่วงอายุ 280 ล้านปี ดังรูป 2.17 (ก) และเมื่อน้า
ขอบทวีปมาต่อกันพร้อมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถูบน
หินฐานที่ธารน้าแข็งเคลื่อนที่ผ่านพบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสู่บริเวณอื่นซึ่งคล้ายคลึงกับลักษณะการเคลื่อนที่ ของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา
ในปัจจุบันจึงเป็นสมมุติฐานว่าทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันใกล้บริเวณขั้วโลกใต้และมีพืดน้าแข็งปกคลุม
ดังรูป 2.17 (ข)

รูปที่ 2.17 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล


(ก) บริเวณที่พบหลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 40)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 25
25

รูปที่ 2.17 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล


(ข) ทวีปต่าง ๆ เคยต่อกันบริเวณขั้วโลกใต้
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 41)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 26
26

บัตรกิจกรรมที่ 2.1
เรื่อง การสารวจหลักฐานสนับสนุนว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกันมาก่อน

จุดประสงค์กิจกรรม
อธิบายและสร้างแบบจาลองหลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน

วัสดุ-อุปกรณ์
1. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ (รูป 1)
2. หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา (รูป 2)
3. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล (รูป 3)
4. โครงร่างแผนที่โลกปัจจุบัน (ภาคผนวก ก)
5. รูปแผ่นทวีปต่าง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อัน
7. ปากกาสี/ดินสอสี 1 ชุด

รูป 1 หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 27
27

รูป 2 หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา

รูป 3 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 28
28

สถานการณ์
"ถ้านักเรียนต้องการนาเสนอแนวคิดเรื่อง "ในอดีตทวีปทั้งหมดเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมา
ก่อน" โดยใช้หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ กลุ่มหินและแนวเทือกเขา และการเคลื่อนที่ของธารน้า
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปต่าง ๆ ทั่วโลก" นักเรียนจะมีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและ นาเสนอให้
คนทั่วไปยอมรับแนวคิดดังกล่าวได้อย่างไร

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ เกี่ยวกับสถานการณ์และหลักฐานที่กาหนดให้ดังต่อไปนี้
- หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
- หลักฐานความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
- หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
2. สื บ ค้ น และรวบรวมข้ อ มู ล จากหลั ก ฐานต่ า ง ๆ น าผลที่ ไ ด้ ม าบั น ทึ ก ลงในตารางที่
กาหนดให้
3. วิเคราะห์ข้อมูลจากตารางมาจัดทาแผนที่แสดงการเชื่อมต่อกันของแผ่นทวีป โดยใช้ โครง
ร่างแผนที่ที่กาหนดให้
4. นาเสนอแผนที่ที่แสดงการเชื่อมต่อกันของแผ่นทวีป
5. รวบรวมความคิดเห็นที่ได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ตารางบันทึกข้อมูล
ทวีปประเทศ
แอนตาร์กติกา
อเมริกาเหนือ

ออสเตรเลีย
อเมริกาใต้

หลักฐานที่ใช้สนับสนุน
แอฟริกา
อินเดีย
เอเชีย
ยุโรป

มีโซซอรัส
ไซโนเนทัส
ซากดึกดาบรรพ์
ลิสโทซอรัส
กลอสโซพเทริส
แอปพาเลเชียน
แนวเทือกเขา
คาเลโดเนียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 29
29

ทวีปประเทศ

แอนตาร์กติกา
อเมริกาเหนือ

ออสเตรเลีย
อเมริกาใต้
หลักฐานที่ใช้สนับสนุน

แอฟริกา
อินเดีย
เอเชีย
ยุโรป
ธารน้าแข็ง
พบ/ไม่พบ
บรรพกาล

สรุปผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

คาถามท้ายกิจกรรม
1. จากกิจกรรมมีทวีปใดบ้างที่เคยอยู่ติดกันมาก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. มีหลักฐานใดบ้างที่นามาใช้สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 30
30

3. หลั ก ฐานใดบ้ า งที่ ส ามารถน ามาใช้ ร ะบุ ช่ ว งเวลาที่ ท วี ป ต่ า ง ๆ เคยอยู่ ติ ด กั น มาก่ อ น


และหลักฐานดังกล่าวนามาใช้อธิบายได้ว่าอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 31
31

บัตรกิจกรรมที่ 2.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน”


เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 32
32

บัตรกิจกรรมที่ 2.3
ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นถอดบทเรี ย นที่ เ กี่ ย วกั บ “แนวคิ ด ของทฤษฎี ท วี ป เลื่ อ นและหลั ก ฐาน
สนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอ
ผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 33
33

แบบฝึกหัด
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

1. เพราะเหตุใด อัลเฟรด เวเกเนอร์ จึงเชื่อว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันเคยติดกันเป็นแผ่นเดียวกันมา


ก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ลักษณะของทวีปในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกับทวีปเมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อนอย่างไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. ลักษณะของทวีปในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกับทวีปเมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อนอย่างไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 34
34

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. บุคคลใดที่เป็นผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเลื่อน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

2. โครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆประกอบไปด้วยชั้นใดบ้าง
ตามลาดับ
ก. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นผิวโลก, ชั้นเนื้อโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นเนื้อโลก, ชั้นแก่นโลก
ค. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นใน, ชั้นแก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นนอก, แก่นโลกชั้นใน

3. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเกิดจากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของชิ้นหิน

4. ธรณีภาคแผ่นอินเดียเคลื่อนเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผ่นยูเรเซียทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 35
35

5. ธรณีภาค เกิดจากอะไร
ก. การหลอมละลายของชั้นหิน
ข. เปลือกโลกส่วนที่เป็นแผ่นดิน
ค. เนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

6. ในการศึกษาเรื่องใด ๆ อาจมีแนวคิดหรือทฤษฎีในเรื่องนั้น ๆได้มากกว่าหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ


อะไร
ก. เวลาที่ค้นพบ
ข. ผู้ทาการค้นคว้า
ค. ข้อมูลที่ถูกค้นพบ
ง. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

7. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหนึ่งทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งใด

8. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับทวีปเลื่อน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเลื่อนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเลื่อนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ค. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเลื่อนออกจากกัน
ง. ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเริ่มค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดได้แก่แผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคลื่อนที่ตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคที่อยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 36
36

10. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่งเกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภู เขา


ไฟใต้ทะเลเกิดจากอะไร
ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ข. แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนที่มุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 37
37

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 38
38

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม
2542. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.
กรมทรัพยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
http://508 star.blogspot.com
http://www.baanjomyut.com
http://khanaporn.exteen.com
https://sites.google.com/site/worldandchange56/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 39
39

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 40
40

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1
เรื่อง การสารวจหลักฐานสนับสนุนว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกันมาก่อน

จุดประสงค์กิจกรรม
อธิบายและสร้างแบบจาลองหลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน

วัสดุ-อุปกรณ์
1. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ (รูป 1)
2. หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา (รูป 2)
3. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล (รูป 3)
4. โครงร่างแผนที่โลกปัจจุบัน (ภาคผนวก ก)
5. รูปแผ่นทวีปต่าง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อัน
7. ปากกาสี/ดินสอสี 1 ชุด

รูป 1 หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 41
41

รูป 2 หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา

รูป 3 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 42
42

สถานการณ์
"ถ้านักเรียนต้องการนาเสนอแนวคิดเรื่อง "ในอดีตทวีปทั้งหมดเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมา
ก่อน" โดยใช้หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ กลุ่มหินและแนวเทือกเขา และการเคลื่อนที่ของธารน้า
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปต่าง ๆ ทั่วโลก" นักเรียนจะมีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและ นาเสนอให้
คนทั่วไปยอมรับแนวคิดดังกล่าวได้อย่างไร

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ เกี่ยวกับสถานการณ์และหลักฐานที่กาหนดให้ดังต่อไปนี้
- หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
- หลักฐานความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
- หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
2. สื บ ค้ น และรวบรวมข้ อ มู ล จากหลั ก ฐานต่ า ง ๆ น าผลที่ ไ ด้ ม าบั น ทึ ก ลงในตารางที่
กาหนดให้
3. วิเคราะห์ข้อมูลจากตารางมาจัดทาแผนที่แสดงการเชื่อมต่อกันของแผ่นทวีป โดยใช้ โครง
ร่างแผนที่ที่กาหนดให้
4. นาเสนอแผนที่ที่แสดงการเชื่อมต่อกันของแผ่นทวีป
5. รวบรวมความคิดเห็นที่ได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ตารางบันทึกข้อมูล
ทวีปประเทศ
แอนตาร์กติกา
อเมริกาเหนือ

ออสเตรเลีย
อเมริกาใต้

หลักฐานที่ใช้สนับสนุน
แอฟริกา
อินเดีย
เอเชีย
ยุโรป

มีโซซอรัส  
ไซโนเนทัส  
ซากดึกดาบรรพ์
ลิสโทซอรัส  
กลอสโซพเทริส     
แอปพาเลเชียน 
แนวเทือกเขา
คาเลโดเนียน 

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 43
43

ทวีปประเทศ

แอนตาร์กติกา
อเมริกาเหนือ

ออสเตรเลีย
อเมริกาใต้
หลักฐานที่ใช้สนับสนุน

แอฟริกา
อินเดีย
เอเชีย
ยุโรป
ธารน้าแข็ง
พบ/ไม่พบ
บรรพกาล    

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 44
44

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 45
45

สรุปผลการทากิจกรรม

จากหลักฐานรูปร่างของขอบทวีปทาให้ทราบว่าทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อนในอดีต
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ ทาให้ทราบว่า ทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา
แอนตาร์กติกา ออสเตรเลียและอินเดีย ซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ต่าง ๆ ดังกล่าว อยู่ห่างกันมาก
และมีมหาสมุทรคั่นอยู่นั้นเคยอยู่ติดกันมาก่อน เนื่องจากโอกาสที่พืชและสัตว์ดังกล่าวจะอพยพ
ข้ามถิ่นฐานระหว่างทวีปนั้นเป็นไปได้ยาก
นอกจากนี้ หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็ง ทาให้ทราบว่าทวีปข้างต้นเคย
อยู่ติดกันใกล้บริเวณขั้วโลกใต้ และมีพืดน้าแข็งปกคลุม หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
ทาให้ทราบว่าบางทวีป เช่น อเมริกา ยุโรป มีแนวเทือกเขาวางตัวในแนวเดียวกัน
และมีกลุ่มหินเดียวกันที่มีช่วงอายุเดียวกัน จึงเป็นหลักฐาน ว่าทวีปนั้น ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 46
46

คาถามท้ายกิจกรรม
1. จากกิจกรรมมีทวีปใดบ้างที่เคยอยู่ติดกันมาก่อน
แนวคาตอบ
ทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา แอนตาร์กติกา ออสเตรเลียและอินเดีย เคยอยู่ติดกัน
ใกล้บริเวณขั้วโลกใต้ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป-เอเชีย และเกาะกรีนแลนด์ เคยอยู่ติดกัน
มาก่อน

2. มีหลักฐานใดบ้างที่นามาใช้สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน
แนวคาตอบ
รอยต่อของขอบทวีป หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหิน
และแนวเทือกเขา หลักฐานจากหินที่สะสมตัวจากตะกอนธารน้าแข็ง

3. หลักฐานใดบ้างที่สามารถนามาใช้ระบุช่วงเวลาที่ทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อน และ


หลักฐานดังกล่าวนามาใช้อธิบายได้ว่าอย่างไร
แนวคาตอบ
กลุ่มหินในแนวเทือกเขาแอปพาเลเชียน ในทวีปอเมริกาเหนือ และแนวเทือกเขา
คาเลโดเนียนในประเทศนอร์เวย์ กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ มีช่วง อายุเดียวกันประมาณ
200 ล้านปี หลักฐานนี้อธิบายได้ว่าประเทศและทวีปข้างต้นเคยอยู่ติดกันมาก่อนในช่วงเวลา
ดังกล่าวและกลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กติกา
และประเทศอินเดีย พบว่ามีกลุ่มหินที่มีช่วงอายุระหว่าง 359-146 ล้านปี หลักฐานนี้อธิบาย
ได้ว่าประเทศและทวีปข้างต้น เคยอยู่ติดกันมาก่อนในช่วงเวลาดังกล่าว

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 47
47

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน”


เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 48
48

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.3
ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นถอดบทเรี ย นที่ เ กี่ ย วกั บ “แนวคิ ด ของทฤษฎี ท วี ป เลื่ อ นและหลั ก ฐาน
สนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอ
ผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 49
49

เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

1. เพราะเหตุใด อัลเฟรด เวเกเนอร์ จึงเชื่อว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันเคยติดกันเป็นแผ่นเดียวกันมาก่อน


แนวคาตอบ
อัลเฟรด เวเกเนอร์สังเกตรูปร่างของทวีปและพบว่ารูปร่างของบางทวีป เช่น ทวีป
อเมริกาใต้และทวีปแอฟริกา มีส่วนที่ต่อกันได้เหมือนจิ๊กซอว์ จึงสันนิษฐาน ว่าทวีปต่าง ๆ
อาจเคยอยู่ติดกันมาก่อน จากนั้นเวเกเนอร์ได้ศึกษาหาหลักฐานต่าง ๆ มาเพิ่มเติม ได้แก่
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากการเคลื่อนที่
ของธารน้าแข็งบรรพกาล

2. ลักษณะของทวีปในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกับทวีปเมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อนอย่างไร


แนวคาตอบ
ทวีปในปัจจุบันแยกออกจากกันไม่ได้อยู่ติดกันเป็นแผ่นดินเดียวเหมือนเมื่อ 200 ล้านปีก่อน

3. ลักษณะของทวีปในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกับทวีปเมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อนอย่างไร


แนวคาตอบ ทฤษฎีเลื่อนนี้เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปี ค.ศ.1960 จากทฤษฎีดังกล่าว
กล่าวถึงการที่ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้รวมเป็นแผ่นเดียวกันเรียกว่า “แผ่นอเมริกา”
และมักพบว่าส่วนบริเวณที่เป็นขอบของแผ่นทวีป เช่น แผ่นทวีปแปซิฟิก จะพบแนวการเกิดภูเขาไฟ
และแผ่นดินไหวอยู่เสมอ เนื่องจากการเคลื่อนที่ของ แผ่นทวีป (plate) อยู่ตลอดเวลา
สันนิษฐานว่าการเคลื่อนที่ของหินหลอมละลายและกระบวนการพาความร้อนภายในโลก
เนื่องมาจากความแตกต่างของอุณหภูมิและความหนาแน่นทาให้เกิดการหมุนเวียน
โดยเมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย
เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเป็น
ร่องรอยของธารน้าแข็งในอดีตในขณะที่ตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย
มีหลักฐานบ่งชี้ว่า
เคยเป็นเขตร้อนแถบศูนย์สูตรมาก่อน เนื่องจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ามัน
ซึ่งเกิดจากการทับถมของพืชในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิล แสดงให้เห็นว่า
เมื่อครั้งก่อนแผ่นดินเหล่านี้เคยอยู่ชิดติดกัน พืชและสัตว์บางชนิดจึงแพร่ขยายพันธุ์บนดินแดน
เหล่านี้ในอดีต

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 50
50

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1  1 
2  2 
3  3 
4  4 
5  5 
6  6 
7  7 
8  8 
9  9 
10  10 

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน 51
51

ประวัติย่อผู้จัดทา

ชื่อ นางมงคล จันทราภรณ์


วันเกิด วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
สถานที่เกิด อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 164 หมู่ 9 ตาบลหัวนา
อาเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี 34170
ตาแหน่งหน้าที่การงาน ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
สถานที่ทางานปัจจุบัน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ตาบลแก้งเหนือ
อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี 34170
สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2535 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพังเคนพิทยา ตาบลพังเคน
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนพังเคนพิทยา
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วิชาเอกฟิสิกส์ สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี
พ.ศ. 2553 ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
(เน้นฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

You might also like