You are on page 1of 10

บทความวิจยั

การวิเคราะห์ ฟังก์ ชันความสัมพันธ์ ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิง


และการหาสัมประสิทธิ์การแพร่ ของอนุภาคคอลลอยด์
The Analysis of Time Correlation Function of Light Scattering Intensity and Evaluate
the Diffusion Coefficient of Colloid Particle
รัฐธนินท์ วัฒนะศิริโกศล หัสยา จุ้ยสกุล และ คเชนทร์ แดงอุดม*
Ruttanin Wattanasirikoson, Hassaya Juisakul and Kachain Dangudom*
ภาควิ ชาฟิ สิ กส์ คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยนเรศวร
Department of Physics, Faculty of Science, Naresuan University
Received : 12 June 2017
Accepted : 1 September 2017
Published online : 7 September 2017

บทคัดย่ อ
ในงานวิ จัย นี ไ้ ด้ ท าการจั ด ตัง้ ระบบเพื่ อ ศึ ก ษาการแพร่ ข องอนุ ภ าคคอลลอยด์ จ ากการวิ เ คราะห์ ฟั ง ก์ ชัน
ความสัมพันธ์ ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิง โดยอาศัยหลักการกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์จากสารคอลลอยด์ โดยใช้
แหล่งกาเนิดแสงเลเซอร์ ความยาวคลืน่ เดียว ที่มีความยาวคลืน่ 650 นาโนเมตร ผู้วิจยั วัดความเข้ มแสงกระเจิงโดยใช้ หวั วัด
แสงโฟโตไดโอด ที่มมุ กระเจิง 90 องศากับระนาบของลาแสงที่มาจากแหล่งกาเนิดแสง ใช้ เครื่ องดิจิตอลออสซิลโลสโคป
ในการบันทึกและเก็บข้ อมูล ทาการวิเคราะห์ฟังก์ ชันความสัมพันธ์ ในเวลา และหาค่าสัมประสิทธิ์ การแพร่ กระจายของ
อนุภาคคอลลอยด์ ผลการศึกษาสารคอลลอยด์ ตวั อย่างซึ่งเป็ น นา้ :นา้ นม อัตราส่วน 200:0.3 และ คอลลอย์ ของ T iO 2

ในน ้า ที่อตั ราส่วน 2.5 ppm 5.0 ppm และ 25 ppm ได้ สมั ประสิทธิ์การแพร่ ดงั นี ้ 8.69, 71.89, 70.52 และ 59.61  m / s 2

ตามลาดับ ดังนันระบบที
้ ่จดั ตังขึ
้ ้นสามารถทาการศึกษาการแพร่ของอนุภาคคอลลอยด์ได้

คาสาคัญ: การกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์ สัมประสิทธ์การแพร่ ฟั งก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลา

Abstract
In this research has been established on the system of dynamics light scattering and time correlation
function analysis in order to study the diffusion of particles. The light source is usage laser diode with wavelength
of 650 nm. We measured the scattered light from the sample by using a photodiode detector and a digital
oscilloscope to record the signal. The colloidal samples are milk colloid in water with ratio 200:0.3 and T iO in 2

water with proportion 2.5 ppm, 5.0 ppm and 25 ppm. We analyze time correlation function and the diffusion
coefficient of the particles. Base on experimental results, we obtain that the diffusion coefficient of colloidal
samples were 8.69, 71.89, 70.52 and 59.61  m / s , respectively. There for the light scattering system can be used
2

for analyze time correlation function of scattered light and diffusion coefficient of colloidal samples.
Keywords: dynamic light scattering / correlation function / diffusion coefficient

*Corresponding author. E-mail: kachaind@nu.ac.th

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 450


บทความวิจยั

บทนา
การกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์ (dynamic light scattering; DLS) (Brown, 1993) เป็ นหนึ่งในเทคนิคที่นิยมมาก
ที่สดุ ในการวิเคราะห์ ลักษณะของระบบสารคอลลอยด์ สารแขวนลอย ซึ่ง DLS วัดความผันผวนของแสงกระเจิ งพร้ อมกับ
ช่วงเวลาที่เกิดขึ ้นจากแสงที่ผ่านดัชนีหกั เหของสารประกอบเชิงซ้ อนที่นามาวิเคราะห์ และหัววัดความเข้ มแสงกระเจิงที่ได้
จะขึ ้นกับส่วนกลับของเวกเตอร์ แสงกระเจิง ในกรณีของอนุภาคคอลลอย์ความเข้ มความผันผวนของแสงกระเจิงจะเกิดขึ ้น
อย่างเด่นชัดเนื่องจากการเคลือ่ นที่แพร่กระจายตัวของอนุภาคคอลลอยด์ หรื อขนาดของอนุภาคนันขึ ้ ้นอยูก่ บั ความสัมพันธ์
ในเวลา (time correlation function) ระหว่างสัมประสิทธิ์การกระจายตัวและขนาดของอนุภาค DLS เป็ นเทคนิคที่ใช้ กนั
อย่างแพร่ หลายเนื่องจากมีความสะดวกสบายและเป็ นวิธีที่ไม่ทาลายหรื อเปลี่ยนแปลงขนาดของอนุภาค ซึ่งเทคนิคนี ้
มีความเหมาะสมสาหรับการวิเคราะห์ลกั ษณะของอนุภาคคอลลอยด์ที่ครอบคุมขนาดในช่วงกว้ างจากขนาดไม่กี่นาโน
เมตรไปจนถึงขนาดหลายไมโครเมตร ยิ่งไปกว่านัน้ DLS ถูกใช้ บอ่ ยครัง้ สาหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมที่มกี ารเปลีย่ นแปลง
ตลอดเวลาของความเข้ มข้ น ความเป็ นคอลลอยด์ หรื อความเป็ นแขวนลอยที่เปลีย่ นแปลงของสารตัวอย่าง และยังสามารถ
ใช้ สัง เกตการรวมตัวหรื อ การกลายเป็ นเจลได้ อย่า งไรก็ ตามเทคนิ คนี ย้ ัง สามารถประยุก ต์ ใช้ กับ ระบบอื่น ได้ อีกมาก
ในทางด้ านอุตสาหกรรมที่มีความสัมพันธ์ และมีความซับซ้ อนมากขึ ้นเนื่องจากความเข้ มแสงกระเจิงในสารละลายที่ไม่เจือ
ปนการวิเคราะห์
เทคนิคหนึ่งที่สาคัญสาหรับการหาการกระจายตัวของอนุภาคในของเหลวคือ การกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์
ซึง่ เป็ นเทคนิคที่วดั ได้ อย่างรวดเร็ ว ใช้ สารตัวอย่างในปริ มาณที่น้อย และค่าความคาดเคลือ่ นมีคา่ ต่าในการทดลองซ ้าหลาย
ครัง้ เทคนิคนี ้จะใช้ ในการวัดการกระเจิงแสงของอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่า 5 ไมคอนที่มีการเคลือ่ นที่อย่างอิสระ (randomly
diffuse) ไปทั่วทัง้ ตัวกลาง ในขณะเดียวกันอนุภาคเหล่านีก้ ็จะทาให้ เกิ ดการกระเจิงแสงซึ่งอนุภาคที่มีขน าดใหญ่กว่า
จะเคลื่อนที่ช้ากว่าจะสามารถกระเจิงแสงออกมาได้ นานกว่าอนุภาคขนาดเล็กซึง่ จะเคลื่อนที่เร็ วกว่าแสงที่กระเจิงออกมา
จะมีความรวดเร็ วกว่า ทังนี ้ ้อนุภาคทัง้ 2 นี ้ต้ องอยูใ่ นสภาวะเดียวกันจึงจะเปรี ยบเทียบกันได้
ตัวอย่างการศึกษาวิจยั ของ (Zimbone et al., 2012) โดยใช้ เทคนิคการกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์นี ้ มีศึกษาทัง้
การแพร่ ของอนุภาคในสารประกอบต่างๆ รวมไปถึงเทคนิคนี ้ยังสามารถหาขนาดอนุภาคของสารประกอบนันๆ ้ ซึ่งได้ มี
ศึกษาการเคลือ่ นที่ของอนุภาคนาโนของทอง และหาขนาดของอนุภาคนาโนของทองออกมาได้ โดยใช้ แหล่งกาเนิดแสงเป็ น
เลเซอร์ ค วามยาวคลื่น เดี ย วที่ มี ค วามยาวคลื่น 650 นาโนเมตร และใช้ เ ครื่ อ ง correlator ในการค านวณหาฟั ง ก์ ชัน
ความสัมพันธ์ ในเวลา (Yecang Tang et al., 2012) ได้ ทาการศึกษาการเกิ ดสารประกอบเชิ งซ้ อนระหว่าง soybean
peroxidase and poly (N-isopropylacrylamide-co-sodium styrene sulfonate) โดยใช้ วิธีการวิเคราะห์เชิงสถิติและใช้
เทคนิคการวัดการกระเจิงแสงของเลเซอร์ He-Ne ความยาวคลื่น 632 นาโนมตร ที่เป็ นผลเนื่องมากจากอุณหภูมิ ค่า pH
และความแข็งแรงของพันธะไอออนิก ต่อมา (Li et al., 2014) ได้ มีการศึกษาลักษณะของการแพร่และหาขนาดของอนุภาค
ซึ่งพัฒนาระบบโดยการใช้ เครื่ องนับโฟตอน (photon counter) มาแทนเครื่ อง correlator ที่มีราคาสูง ซึ่งช่วยลดต้ นทุนการ
จัดตังระบบวั
้ ดขนาดอนุภาคลงได้ และได้ ใช้ ระบบหัววัดเป็ น photo multiplier tube (PMT) แต่อย่างไรก็ตามหัววัด PMT
และเครื่ องนับโฟตอนนีก้ ็ ยังมีราคาที่สูงอยู่ (Chengze Xu et al., 2014) ศึกษาและจัดตัง้ ระบบเพื่อวิเคราะขนาดของ
อนุภาค (27, 80, และ 352 นาโนเมตร) โดยใช้ เลเซอร์ เป็ นต้ นกาเนิดแสง แต่ใช้ กล้ องดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ บนั ทึกภาพ
และวิเคราะห์ผลแทนหัววัดเป็ น photo multiplier tube (PMT)
งานวิจยั นี ้จึงได้ นาเทคนิคการกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์มาใช้ ในการศึกษาการแพร่ ของอนุภาค (Dalgleish และ
Hallett, 1995) โดยใช้ ระบบหัววัดเป็ นโฟโตไดโอด (photo diode) และเครื่ องออสซิลโลสโคปในการวัดและบันทึกความ

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 451


บทความวิจยั

เข้ มแสงกระเจิงจากสารตัวอย่าง ซึ่งนามาวิเคราะห์หาฟั งก์ชนั ความสัมพันธ์ ในเวลา (Bhattarai และ Wilczura-Wachnik,


2015) ของความเข้ มแสงกระเจิงเพื่อนาไปสู่การหาสัมประสิทธิ์ การแพร่ และการหาขนาดของอนุภาคได้ ซึ่งเครื่ องมือ
สาเร็ จรู ปในการวิเคราะห์หาสัมประสิทธิ์การแพร่ และขนาดของอนุภาคนันมี ้ ราคาที่คอ่ นข้ างสูงและสามารถใช้ งานได้ เพียง
ด้ านเดียวแต่สาหรับงานวิจยั นี ้เก็บจากข้ อมูลการกระเจิงแสงโดยตรงจึงสามารถนาไปประยุกต์ใช้ งานได้ หลายด้ านเช่น
สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ทงทางด้
ั้ านการวิเคราะห์สภาพน ้า อุตสาหกรรมสี หรื อแม้ กระทัง่ การวิเคราะห์เกี่ยวกับยาและ
เครื่ องสาอาง รวมไปถึงช่วยลดต้ นทุนในการจัดซื ้อเครื่ องมือสาเร็ จรูปได้

วิธีดาเนินการวิจัย
ระบบตรวจวัด แสงกระเจิ ง แบบไดนามิ ก ส์ ข องการแพร่ ข องอนุ ภ าคคอลลอยด์ โดยใช้ แหล่ ง ก าเนิ ด แสง
เลเซอร์ ไดโอดความยาวคลืน่ 650 นาโนเมตร ขนาดกาลังไฟฟ้ า 5 มิลลิวตั ต์ ซึง่ จัดตังให้
้ อยูใ่ นระนาบเดียวกันกับเลนส์ตวั ที่
1 เพื่อรวมลาแสงเลเซอร์ ไปยังกึ่งกลางของหลอดบรรจุสารตัวอย่างที่วางห่างเป็ นระยะ 37.75 มิลลิเมตร และใช้ หวั วัดแสง
เป็ นโฟโตไดโอดที่สามารถต่อเข้ ากับอุปกรณ์จ่ายไฟขนาด 2.7 ถึง 36 โวลต์ วางทามุม 90 องศากับแนวลาแสงซึ่งเป็ นมุม
ของแสงกระเจิง โดยมีเลนส์ตวั ที่ 2 วางอยู่หน้ าหัววัดโฟโตไดโอด เพื่อรวมแสงกระเจิงจากสารตัวอย่างมายังหัววัด ซึ่งวาง
ห่างจากกึ่งกลางของหลอดบรรจุสารตัวอย่างเป็ นระยะ 75.5 มิลลิเมตร และใช้ เครื่ องดิจิตอลออสซิลโลสโคป ในการบันทึก
และเก็บข้ อมูลความเข้ มของแสงที่กระเจิงออกมา การจัดตังอุ ้ ปกรณ์ทงหมดแสดงดั
ั้ งภาพ 1(a) และอุปกรณ์ที่จดั ตังทั
้ งหมด

เหล่านี ้ยกเว้ นเครื่ องดิจิตอลออสซิลโลสโคป อยูภ่ ายในกล่องทึบแสงเพื่อลดแสงรบกวนจากภายนอก แสดงดังภาพ 1(b)

(a) (b)
ภาพที่ 1 การจัดตังระบบตรวจวั
้ ดแสงกระเจิง (a)ไดอะแกรม (b) ภาพจริ ง

การเตรี ยมคอลลอยด์ของน ้านม ในอัตราส่วน 200:0.3 ซึ่งใช้ น ้าสะอาด 200 มิลลิลิตร และนม 0.3 มิลลิลิตร และ
โดยเก็บข้ อมูลเป็ นค่าความเข้ มแสงกระเจิง สาหรับการเตรี ยมคอลลอยด์ของ T iO โดยเริ่ มจากการบดให้ เป็ นผงละเอียดและ
2

นามาเตรี ยมที่อตั ราส่วน 2.5 ppm 5.0 ppm และ 25 ppm (ใช้ ผง T iO 0.1 กรัมละลายในน ้า 4000 มิลลิลิตร และนาสาร
2

คอลลอยด์ที่ได้ มา 10 มิลลิลิตรเจือจางกับน ้า 100 มิลลิลิตร) โดยสารคอลลอยด์ทงหมดใช้ ั้ กาหนดค่าเวลาที่เก็บ 500,000


ข้ อมูลต่อ 1.25 มิลลิวินาที ซึ่งแต่ละจุดข้ อมูลความเข้ มแสงกระเจิงที่บนั ทึกได้ จากเครื่ องมีความต่างของเวลาที่ 2.5 นาโน
วินาที
นาข้ อมูลที่ได้ จากเครื่ องดิจิตอลออสซิลโลสโคปไปหาฟั งก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลาโดยใช้ ชุดคาสัง่ ของโปรแกรม
แมทแลปเป็ นตัวช่วยวิเคราะห์ และทาการหาสัมประสิทธิ์การแพร่กระจายของอนุภาค

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 452


บทความวิจยั

สร้ างฟั ง ก์ ชัน ความสัม พัน ธ์ ในเวลา G ( ) โดยการน าข้ อ มูลจาการทดลองมาผ่านการวิ เคราะห์ โดยการใช้
(2)

กระบวนการทางสถิติ ซึง่ ค่า G ( ) แสดงดังสมการ (1)


(2)

G
(2)
( )   I ( t ) I ( t   )  (1)

โดยที่ I (t ) คือ ความเข้ มแสงกระเจิงที่วดั ได้ ณ เวลา t


I (t   ) คือ ความเข้ มแสงแสงกระเจิง ณ เวลา t  
ฟั งก์ชนั ความเข้ มแสงกระเจิงสัมพัทธ์สมั พันธ์กบั ฟั งก์ชนั สนามไฟฟ้ าสัมพัทธ์ g 1    แสดงดังสมการ (2)

G
2
   A 1  

g
1
  
2


(2)

โดยที่ A คือ ค่าตัวประกอบในการทาให้ เป็ นมาตรฐาน


 คือ ค่าตัวประกอบเครื่ องมือ
1 
สาหรับตัวอย่างที่มีการกระจายตัวฟั งก์ชนั g   สัมพันธ์กบั อัตราการเสือ่ มสลาย  แสดงดังสมการ (3)

g
(1 )
( )
2
 e
2
(3)

อัตราการเสือ่ มสลาย  สัมพันธ์กบั ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาคทรงกลมแสดงดังสมการ (4)

2
  D k (4)

โดยที่ k คือ เวคเตอร์ การกระเจิง (Scattering Vector)


ดังนันฟั
้ งก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิงสามารถเขียนแสดงได้ ดงั สมการ (5)

2
 
2 
G  A  Be

2 2 D k
2

(5)
G    A  Be

โดยที่ A และ B คือ ค่าตัวประกอบในการทาให้ เป็ นมาตรฐานของระบบ

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 453


บทความวิจยั

เส้ นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคทรงกลม คานวณได้ จากการเปลีย่ นรูปสมการสโตกสและไอน์สไตน์แสดงดัง


สมการ (6) โดยตังอยู
้ บ่ นสมมติฐานว่าสารตัวอย่างประกอบด้ วยอนุภาคทรงกลมที่ไม่ทาปฏิกิริยาต่อกัน

d 
K BT
(6)
3  D

โดยที่ D คือ สัมประสิทธิ์การแพร่


 คือ ความหนืดของตัวกลาง
d คือ เส้ นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคทรงกลม
KB คือ ค่าคงที่ของโบลทซ์มนั น์ (Boltzmann constant)
T คือ อุณหภูมิ (องศาเคลวิน)

ผลการวิจัยและวิจารณ์ ผล
1. ตัวอย่ างข้ อมูลความเข้ มแสงกระเจิงที่ได้ จากเครื่องออสซิลโลสโคป
ข้ อมูลความเข้ มแสงกระเจิ งที่ ได้ จากเครื่ องออสซิ ลโลสโคป เมื่อให้ แสงเลเซอร์ ผ่านสารตัว อย่างซึ่งเป็ นสาร
คอลลอยด์คือน ้า:นม ที่มีอตั ราส่วน 200:0.3 โดยเก็บข้ อมูลเป็ นค่าความเข้ มแสงกระเจิง โดยกาหนดค่าเวลาที่เก็บ 500,000
ข้ อมูลต่อ 1.25 มิลลิวินาที ผลการทดลองแสดงดังภาพ 2 ซึ่งแต่ละจุดข้ อมูลความเข้ มแสงกระเจิงที่บนั ทึกได้ จากเครื่ องมี
ความต่างของเวลาที่ 2.5 นาโนวินาที
0.1
0.09
0.08
Intensity (Arbitrary Unit)

0.07
0.06
0.05
0.04
0.03
0.02
0.01
0
0.00E+002.00E-07 4.00E-07 6.00E-07 8.00E-07 1.00E-06 1.20E-06 1.40E-06 1.60E-06 1.80E-06 2.00E-06
Time (s)

ภาพที่ 2 แสดงค่าความเข้ มแสงที่เก็บได้ จากเครื่ องออสซิลโลสโคป

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 454


บทความวิจยั

2. การหาฟั งก์ ชนั ความสัมพันธ์ ในเวลาด้ วยโปรแกรมแมทแลป


นาชุดข้ อมูลที่บันทึกได้ จากเครื่ องดิจิตอลออสซิลโลสโคปวิเคราะห์ หาฟั งก์ ชันความสัมพัน ธ์ ในเวลา โดยใช้
ชุดคาสัง่ ของโปรแกรมแมทแลปในการช่วยคานวณ เพื่อนาไปสูก่ ารหาสัมประสิทธิ์การแพร่ตอ่ ไป
ใช้ โปรแกรมแมทแลปในการเขียนคาสัง่ เฉลีย่ ความเข้ มแสงกระเจิงในช่วงจุดข้ อมูลที่กาหนดจากข้ อมูลทังหมด
้ ซึง่
สามารถเขียนได้ ดงั ตัวอย่างคาสัง่ ที่แสดงดังต่อไปนี ้

for I = 1:10000;
YY = Y(I+((I-1)*49):I*50);
WB(I,ii) = mean(YY)*max(XB);
End

จากคาสัง่ สามารถวิเคราะห์ได้ ว่า ให้ โปรแกรมแมทแลปเฉลี่ยความเข้ มแสงกระเจิงครัง้ ละ 50 จุด จากข้ อมูล


ทังหมด
้ 500,000 จุด เป็ นจานวน 10,000 ครัง้ จากนันได้ ้ ชดุ ข้ อมูลที่มีขนาด 10000 จุด ในเวลาเท่าเดิมที่ 1.25 มิลลิวินาที
และวิเคราะห์หาความเหมาะสมในการเฉลีย่ โดยกาหนดการหาค่าเฉลีย่ ต่อจานวนข้ อมูลที่ 25, 50, 75, 80 และ 100 จุด
คาสัง่ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิงที่วดั และบันทึกได้ จากดิจิตอลออสซิลโลสโคป
ซึง่ สามารถเขียนได้ ดงั ตัวอย่างคาสัง่ ที่แสดงดังต่อไปนี ้

for i = 1:2000;
X = WBB(1:498000);
W = WBB(i:i+497999);
V(i,iii) = (X*W.');
End

3.3 การหาค่ าสัมประสิทธิ์การแพร่ กระจายของอนุภาค


หลังจากได้ ข้อมูลที่ผา่ นการวิเคราะห์ฟังก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลา นาข้ อมูลที่ได้ มาพล๊ อตกราฟเพือ่ หาสมการ
ความสัมพันธ์ในเวลาด้ วยโปรแกรม Tablecurve ดังแสดงดังภาพที่ 3

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 455


บทความวิจยั

29.999

C o rre la tio n fu n c tio n (A rb itra ry U n it)


x

y  2 9.9 9 5 + 0 .0 0 4 1 e 0 .0 0 0 1 7 3

29.998
 0 .9 8 2 5 7 9 6 9
2
R

29.997

29.996

29.995

0 0.00025 0.0005 0.00075 0.001 0.00125


Delayed Time (s)

ภาพที่ 3 ฟั งก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลาจากการกระเจิงแสงของคอลลอยด์น ้านม 200:0.3

สมการที่ได้ จากการวิเคราะห์ ฟังก์ ชันความสัมพันธ์ ในเวลาสามารถเขียนได้ ดังสมการที่ 7 ซึ่ง นาไปเทียบกับ


สมการที่ 5 สาหรับหาสัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาค โดยที่ G      คือ ฟั งก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลา
2

x

y  A  Be c
(7)
2 2

 
2 DK 
G  A  Be

 4 n   
K    s in  
    2 

โดยที่ D คือ สัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาค


n คือ ดัชนีหกั เหของสารตัวอย่าง คือ น ้ามีคา่ 1.33

 คือ ความยาวคลืน ่ ของแหล่งกาเนิดแสง มีคา่ 650 นาโนเมตร


 คือ มุมของแสงกระเจิง มีคา่ 90 องศา

เมื่อทาการคานวณจากการเทียบสมการที่ 5 และสมการที่ 7 จะได้ คา่ สัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาคสามารถ


เขียนได้ ดงั สมการที่ 8 เมื่อกาหนดให้ x  

D 
1
2
(8)
2K c

จะได้ คา่ สัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาคโดยใช้ สารตัวอย่างเป็ นสารคอลลอยด์มคี า่ เท่ากับ 8.69  m


2
/s

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 456


บทความวิจยั

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิงจากการพล็อตกราฟ โดยกาหนดการหาค่าเฉลีย่


ต่อจานวนข้ อมูลที่ 25, 50, 75, 80 และ 100 จุดได้ สมั ประสิทธ์ของสมการและค่า R ดังตารางต่อไปนี ้ 2

ตารางที่ 1 แสดงสัมประสิทธ์และค่า R-Squared ของสมการ


จานวนจุดข้ อมูลที่นามาเฉลี่ย 25 50 75 80 100
R-Squared ( R ) 2
0.96 0.97 0.98 0.96 0.96
A 29.99 29.99 29.99 29.99 29.99
B 0.0041 0.0042 0.0042 0.0043 0.0043
c 0.00016 0.00016 0.00017 0.00019 0.00016

จากตารางแสดงสัมประสิทธ์ และค่า R-Squared ของสมการ แสดงให้ เห็นว่าการกาหนดการหาค่าเฉลี่ยต่อ


จานวนข้ อมูลที่ 75 จุด และนามาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิงให้ ค่า R-Squared สูงที่สดุ
ซึง่ แสดงถึงการกระจายตัวของข้ อมูลรอบค่าเฉลีย่ ตามหลักกาลังสองน้ อยสุดได้ ใกล้ เคียงมากที่สดุ ดังนันการก
้ าหนดการหา
ค่าเฉลีย่ ต่อจานวนข้ อมูลที่ 75 จุด จึงมีความเหมาะสมที่สดุ
4. การหาค่ าสัมประสิทธิ์การแพร่ กระจายของอนุภาคคอลลอยด์ T iO 2

ในสารตัวอย่างที่อตั ราส่วน 2.5 ppm 5.0 ppm และ 25 ppm จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ในเวลาของความ
เข้ มแสงกระเจิง จากการกาหนดการหาค่าเฉลี่ยต่อจานวนข้ อมูลที่ 75 จุด และข้ อมูลที่บนั ทึกได้ จากเครื่ องดิจิตอลออสซิล
โลสโคป ซึ่ง สามารถพล็อ ตกราฟด้ ว ยโปรแกรม Tablecurve แสดงดัง ภาพที่ 4(a) 4(b) และ 4(c) ตามลาดับ และได้
ความสัมพันธ์เป็ นไปดังสมการที่ 7
C o rre la tio n fu n c tio n (A rb itra ry U n it)

C o rre la tio n fu n c tio n (A rb itra ry U n it)

29.38 29.918
C o rre la tio n fu n c tio n (A rb itra ry U n it)

28.815

28.785 29.34 29.912

28.755 29.3 29.908

28.725 29.26 29.902

28.695 29.22 29.898

0 3e-05 6e-05 9e-05 0.00012 0.00015 0 3e-05 6e-05 9e-05 0.00012 0.00015 0 3e-05 6e-05 9e-05 0.00012 0.00015
Delayed Time (s) Delayed Time (s) Delayed Time (s)

(a) (b) (c)


ภาพที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ในเวลาของความเข้ มแสงกระเจิงจาก T iO ที่อตั ราส่วนต่างๆ (a) 2.5 ppm 2

(b) 5.0 ppm และ (c) 25 ppm

จากฟั งชันก์ ความสัมพันธ์ ในเวลาซึ่งสามารถเขียนแสดงค่าคงที่ของสมการ ซึ่ง A และ B คือ ค่าตัวประกอบ


ในการทาให้ เป็ นมาตรฐานของระบบ ค่า R-Squared ของสมการ และสัมประสิทธ์ c ซึง่ นาไปสูก่ ารหาสัมประสิทธิ์การแพร่
ของอนุภาค D ได้ ดังแสดงในตารางที่ 2 และจากผลการทดลองพบว่าเมื่ออัตราส่วนของคอลลอยด์เพิ่มมากขึ ้นทาให้

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 457


บทความวิจยั

อนุภาคมีอัตราการแพร่ กระจายที่ช้าลง ซึ่งเมื่อเทียบกับการคานวณหาสัมประสิทธิ์ การแพร่ ของอนุภาคนาโนทองคา


(Chengze Xu et al,, 2014) อยูใ่ นระดับ 1 0 c m / s เช่นเดียวกับค่าที่ผ้ วู ิจยั คานวณได้
8 2

ตารางที่ 2 แสดงค่าคงทีใ่ นฟั งก์ชนั ก์ความสัมพันธ์ในเวลาและสัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาค D

อัตราส่ วน (ppm) A B
c (10 )
5
R-Squared ( R )
2
D (m / s )
2

2.5 28.69 0.201 2.13 0.98 71.89


5.0 29.20 0.250 2.52 0.99 70.52
25.0 29.89 0.035 2.09 0.99 59.61

สรุ ปผลการวิจัย
จากการจัดตังระบบการศึ
้ กษาการแพร่ ของอนุภาคคอลลอยด์จากการวิเคราะห์ฟังก์ชนั ความสัมพันธ์ในเวลาของ
ความเข้ มแสงกระเจิง โดยอาศัยหลักการกระเจิงแสงแบบไดนามิกส์จากสารคอลลอยด์ โดยใช้ แหล่งกาเนิดแสงเลเซอร์
ความยาวคลื่นเดียวที่มีความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ใช้ หวั วัดแสงโฟโตไดโอดวัดแสงกระเจิงที่มมุ 90 องศา ใช้ เครื่ อง
ดิจิตอลออสซิลโลสโคปในการบันทึกและเก็บข้ อมูลความเข้ มของแสงที่กระเจิง นามาวิเคราะห์หาฟั งชันความสัมพันธ์ ใน
เวลาด้ วยชุดคาสัง่ ในโปรแกรมแมทแลป และพล็อตกราฟจากโปรแกรม Tablecurve โดยใช้ คอลลอยด์น ้านม 200:0.3
วิเคราะห์ความเหมาะสมในการกาหนดการหาค่าเฉลี่ยต่อจานวนข้ อมูลได้ ดีที่สดุ ที่ 75 จุด และหาสัมประสิทธิ์การแพร่ของ
อนุภาคน า้ นมได้ 8.69  m / s และ หาค่า สัม ประสิท ธิ์ ก ารแพร่ ก ระจายของอนุภ าคคอลลอยด์ T iO ในสารตัว อย่า งที่
2
2

อัตราส่วน 2.5 ppm 5.0 ppm และ 25 ppm ได้ เท่ากับ 71.89, 70.52, และ 59.61  m / s ตามลาดับ ซึง่ พบว่าเมื่ออัตราส่วน
2

ของคอลลอยด์เพิ่มมากขึ ้นทาให้ อนุภาคมีอตั ราการแพร่ กระจายที่ช้าลง ดังนันระบบที


้ ่จดั ตังขึ
้ ้นสามารถทาการศึกษาการ
แพร่ ของอนุภาคคอลลอยด์ได้ และในอนาคตอาจสามารถนาไปใช้ เป็ นระบบเพื่อ หาขนาดของอนุภาคได้ ซึ่งเครื่ องมือ
สาเร็ จรู ปในการวิเคราะห์หาสัมประสิทธิ์การแพร่ และขนาดของอนุภาคนันมี ้ ราคาที่คอ่ นข้ างสูงและสามารถใช้ งานได้ เพียง
ด้ านเดียวแต่สาหรับงานวิจยั นี ้เก็บจากข้ อมูลการกระเจิงแสงโดยตรงจึงสามารถนาไปประยุกต์ใช้ งานได้ หลายด้ าน เช่น
สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ทงทางด้
ั้ านการวิเคราะห์สภาพน ้า อุตสาหกรรมสี หรื อแม้ กระทัง่ การวิเคราะห์เกี่ยวกับยาและ
เครื่ องสาอางรวมไปถึงช่วยลดต้ นทุนในการจัดซื ้อเครื่ องมือสาเร็ จรูปได้

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิจยั นี ้สาเร็ จลุลว่ งไปด้ วยดี ผู้วิจยั ขอขอบคุณ ภาควิชาฟิ สกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่
ให้ การสนับสนุนการวิจยั อีกทังสนั ้ บสนุนทางด้ านวัสดุอปุ กรณ์และสถานที่ในการทาวิจยั รวมถึงคาปรึกษาที่เป็ นประโยชน์
จากบุคลากรของภาควิชาทุกท่านและขอขอบคุณโครงการพัฒนากาลังคนด้ านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรี ยนดีวิทยาศาสตร์ แห่ง
ประเทศไทย) ของนายรัฐธนินท์ วัฒนะศิริโกศล ที่ให้ การสนับสนุนทุนวิจยั

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 458


บทความวิจยั

เอกสารอ้ างอิง
Bhattarai, A., & Wilczura-Wachnik, H. (2015). Size and diffusion phenomena of AOT/alcohol/water system in
the presence of morin by dynamic light scattering. International Journal of Pharmaceutics, 478(2),
610-616.
Brown, W. (1993).,Edit., Dynamic Light Scattering, Oxford Science Publications.
Chengze Xu, Xiaoshu Cai, Jie Zhang, Lili Liu. (2014). Fast nanoparticle sizing by image dynamic light
scattering. Particuology, 19, 82-85.
Dalgleish, D. G., & Hallett, F. R. (1995). Dynamic light scattering: applications to food systems. Food
Research International, 28(3), 181-193.
Li, Z., Wang, Y., Shen, J., Liu, W., & Sun, X. (2014). The measurement system of nanoparticle size distribution
from dynamic light scattering data. Optics and Lasers in Engineering, 56(1), 94-98.
Yecang Tang, Jixiong Duan, Jianhua Wu. (2012). A laser light scattering study of complex formation between
soybean peroxidase and poly (N-isopropylacrylamide-co-sodium styrene sulfonate). Colloids and
Surfaces A: Physicochemical and Engineering Aspects, 395, 82-87.
Zimbone, M., Calcagno, L., Baeri, P., Messina, G. C., & Compagnini, G. (2012). Dynamic light scattering in
gold colloids prepared by laser ablation in water. Applied Surface Science, 258(23), 9246-9249.

วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา ปี ที่ 22 (ฉบับพิเศษ) การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์ วิจยั ครัง้ ที่ 9” 459

You might also like