You are on page 1of 12

สำเนาสำหรับ

..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -1-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

ผู้จัดทำ : ผู้ทบทวน : ผู้อนุมัติ :

(นางศิริรัตน์ ทับทิมย้อย) (นายจารุวัฒน์ จิตโสภากุล) (นายสุกิจ บรรจงกิจ)


เภสัชกรชำนาญการ หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม ผู้อำนวยโรงพยาบาล
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -2-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

เรื่อง การเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้


ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิด

(Intensive Adverse Drug Reaction


Monitoring)
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -3-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

ประวัติการแก้ไข
จำนวนทั้งหมด
5 หน้า
ครั้งที่วันที่ประกาศใช้รายละเอียดแผ่นที่001 มี.ค. 2557ประกาศใช้เอกสารครั้ง
แรกทุกแผ่น011 มี.ค.2560แก้ไขครั้งที่ 1ทุกแผ่น021 มี.ค.2567แก้ไขครั้งที่ 2ทุกแผ่น

1. ผู้ปฏิบัติ : เภสัชกร
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -4-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

2. วัตถุประสงค์ :
1)เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาชนิด
รุนแรงแบบ Stevens Johnson Syndrome (SJS) และ Toxic Epidermal
Necrolysis (TEN) ในยา Allopurinol
2)เพื่อช่วยให้ผู้ป่ วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาชนิดรุนแรง
สามารถได้รับการรักษาได้ทันท่วงที

3. ขอบข่าย : แนวทางปฏิบัตินี้ใช้สำหรับการเฝ้ าระวังอาการอันไม่พึง


ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิดตั้งแต่เริ่มใช้ยาเป็ นครั้งแรกของผู้
ป่ วยใน และผู้ป่ วยนอกที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลมาบตาพุดทุกราย

4. สิ่งที่เกี่ยวข้อง :
Check list : อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาชนิดรุนแรง (SJS และ
TEN) สำหรับเภสัชกร
บัตรแสดงอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Nevirapine สำหรับผู้ป่ วย

5. นิยาม :
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -5-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

1)อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction; ADR)


หมายถึง การตอบสนองใดๆต่อยาที่เป็ นอันตราย และไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่ง
เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาตามขนาดปกติในมนุษย์ เพื่อใช้ป้ องกัน วินิจฉัยหรือรักษาโรค
หรือเปลี่ยนแปลงผลทางสรีระวิทยาของร่างกาย
2)การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาอย่างใกล้ชิด (Intensive
Adverse Drug Reaction Monitoring) หมายถึง การติดตามเหตุการณ์
อาการผิดปกติหรืออาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้
ป่ วยในกลุ่มที่ได้รับยาที่กำหนดเฝ้ าระวัง อย่างใกล้ชิดตั้งแต่เริ่มใช้ยาเป็ นครั้ง
แรก
3)Stevens Johnson Syndrome (SJS) เป็ นอาการไม่พึงประสงค์จาก
การใช้ยาที่รุนแรง ซึ่งพบรอยโรคไม่เกิน 10% ของ BSA และรอยโรคเป็ นชนิด
flat atypical target หรือ macules with or without blisters ร่วมกับการ
เกิดแผลที่บริเวณเยื่อบุเมือกและมีการหลุดลอกของเยื่อบุ (Erythema
necrolysis) 2-3 ตำแหน่ง ซึ่งใช้ระยะเวลาในการเกิด 2-6 สัปดาห์หรือนาน
กว่า
4)Toxic Epidermal Necrolysis (TEN) เป็ นอาการไม่พึงประสงค์จากการ
ใช้ยาที่รุนแรง ซึ่งพบรอยโรคมากกว่า 30% ของ BSA และเป็ นรอยโรคชนิด
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -6-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

flat atypical หรือ macules with or without blisters ร่วมกับการเกิด


แผลที่บริเวณเยื่อบุเมือกและมีการหลุดลอกของเยื่อบุ (Erythema
necrolysis) 2-3 ตำแหน่ง ซึ่งใช้ระยะเวลาในการเกิด 2-6 สัปดาห์หรือนาน
กว่า
อาการนำ (Prodrome) ของ SJS และ TEN สามารถเกิดอาการได้
ประมาณร้อยละ 50 ของผู้ป่ วย โดยอาการที่เกิดไม่มีลักษณะจำเพาะ ส่วน
ใหญ่จะคล้ายกับอาการของไข้หวัด เช่น ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ไอ
น้ำมูกไหล เจ็บคอ เป็ นต้น จากนั้น 1-14 วันต่อมาจะเกิดผื่น ซึ่งทั้ง SJS และ
TEN เป็ นอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่รุนแรง แต่ SJS มีความรุนแรง
ของโรคน้อยกว่า จึงมีโอกาสพบผู้ป่ วยที่เสียชีวิตที่น้อยกว่า

6. รายละเอียด :
1. บทบาทหน้าที่
เภสัชกร
- ติดตาม ประเมิน และสรุปผลการเกิด ADR ที่รุนแรง (SJS และ TEN)
สำหรับยา Allopurinol หลังได้รับยา 6 เดือน
- บันทึกผลการประเมิน
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -7-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

- ออกบัตรแพ้ยาและให้คำแนะนำแก่ผู้ป่ วย
- บันทึกประวัติแพ้ยาในเวชระเบียนผู้ป่ วย
2. วิธีปฏิบัติ :
2.1 ผู้ป่ วยได้รับยาในกลุ่มที่ทำ Intensive ADR เป็ นครั้งแรก
1)เภสัชกรศึกษาข้อมูลผู้ป่ วยจากประวัติ เพื่อสืบค้นการได้รับยาจากโรง
พยาบาลมาบตาพุดที่ต้องทำ Intensive ADR
2)เภสัชกรสัมภาษณ์ผู้ป่ วยเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาที่ต้องทำ
Intensive ADR เช่น เคยได้รับยาดังกล่าวมาจากที่อื่นหรือไม่ หากเคยได้รับยา
ดังกล่าวแล้วอาจถามระยะเวลาในการรับประทานเพื่อใช้ในการประเมินว่าควร
ติดตามผู้ป่ วยหรือไม่ หรือต้องติดตามอีกเป็ นเวลานานเท่าใด
3)บันทึกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ในส่วน Pharmacist’s note เพื่อแจ้ง
เตือนการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในระยะเวลา 6 เดือน
4)เภสัชกรให้คำแนะนำก่อนส่งมอบยาแก่ผู้ป่ วย
2.2 การติดตามและประเมินการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
1)ผู้ป่ วยมาติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาตามนัด เภสัชกร
สัมภาษณ์และสังเกตอาการต่างๆ
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -8-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

2)หากพบว่าผู้ป่ วยเริ่มเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เภสัชกรผู้


ทำการประเมินต้องส่งผู้ป่ วยพบแพทย์เพื่อร่วมทำการประเมิน พร้อมทั้งดำเนิน
การรักษาและปรับเปลี่ยนการรักษาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่ วย
3)หากผู้ป่ วยไม่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ใดๆ ลงบันทึกข้อมูลลงใน
Pharmacist’s note
หมายเหตุ หากประเมินแล้วพบว่าผู้ป่ วยเกิด SJS หรือ TEN จากยาที่สงสัย
ให้ปฏิบัติตาม Work-Instruction เรื่อง การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จาก
การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -9-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

ภาคผนวก
Check list : อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาชนิดรุนแรง (SJS และ
TEN)

 พบอาการแสดงนำ (Prodrome) โดยอาการที่เกิดไม่มีลักษณะจำเพาะ


ส่วนใหญ่จะคล้ายกับอาการของ
ไข้หวัด เช่น ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ไอ น้ำมูกไหล เจ็บคอ
เป็ นต้น (สามารถเกิดอาการได้
ประมาณร้อยละ 50 ของผู้ป่ วย) note : ต้องไม่ใช่อาการเดิมที่ผู้ป่ วย
เป็ นอยู่แล้ว
 เกิดผื่นกระจายแบบสมมาตร และลามมารวมกัน พบมากที่ใบหน้า ลำ
คอและลำตัว
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -10-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

*สำหรับเภสัชกรเพื่อประเมิน และลงใน Pharmacist’s note

บัตรแสดงอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

อาการที่บ่งบอกว่าท่านอาจเกิดการแพ้ยา
หากเกิดอาการดังต่อไปนี้ควรหยุดยาแล้วรีบมาพบแพทย์
หรือเภสัชกรทันที
1) ผื่น ตุ่มพอง จุดแดงบริเวณผิวหนัง
2) ตุ่มน้ำ หรือแผลในปาก จมูก อวัยวะเพศ
3) เจ็บตา หนังตาบวม ตาแดง เยื่อบุตาอักเสบ
กรณีที่มีอาการไข้สูง ปวดเมื่อยเนื้อตัว เจ็บคอ หรือมีอาการ
ไข้หวัดที่ไม่ใช่อาการเดิม อาจเป็ นอาการเริ่มต้นของการแพ้
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -11-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

บัตรเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เพื่อสอดลงในซองยาในกลุ่มที่ต้องเฝ้ าระวังการใช้

ตารางนัดติดตาม
ครั้งที่วันที่ผู้ติดตาม บัตรเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ควรนำบัตรนี้แสดงให้เภสัชกรทุกครั้งเพื่อติดตามการใช้ยาของ
ผู้ป่ วยอย่างต่อเนื่อง ชื่อ-นามสกุล…………………………………………
HN…………………………………………………..
ชื่อยาที่เฝ้ าระวัง……………………………………..
วันที่เริ่มใช้ยา………………………………………..
ชื่อโรงพยาบาล………………………………………
สำเนาสำหรับ
..
วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ) รหัส : WI-PHA-
21
โรงพยาบาล ชื่องาน : การเฝ้ าระวังอาการไม่พึง หน้า -12-
เฉลิมพระเกียรติ ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่ วยอย่างใกล้
สมเด็จพระเทพรัตน ชิด (Intensive Adverse Drug
ราชสุดาฯ สยาม Reaction Monitoring)
บรมราชกุมารี
ระยอง

อาการที่บ่งบอกว่าท่านอาจเกิดการแพ้ยา 3) เจ็บตา หนังตาบวม ตาแดง เยื่อบุตาอักเสบ


หากเกิดอาการดังต่อไปนี้ควรหยุดยาแล้วรีบมาพบแพทย์หรือ
เภสัชกรทันที กรณีที่มีอาการไข้สูง ปวดเมื่อยเนื้อตัว เจ็บคอ หรือมีอาการไข้
ผื่น ตุ่มพอง จุดแดงบริเวณผิวหนัง หวัดที่ไม่ใช่อาการเดิม อาจเป็นอาการเริ่มต้นของการแพ้ยาที่
รุนแรงได้ ควรรีบมาพบแพทย์หรือเภสัชกร
ตุ่มน้ำ หรือแผลในปาก จมูก อวัยวะเพศ อาการแพ้ยาเป็นอาการที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่สามารถ
ป้ องกันและลดความรุนแรงได้ เนื่องจากยาที่ท่านได้รับเป็น
ประโยชน์ต่อการรักษาของท่านเอง เพียงท่านใส่ใจ เฝ้ าสังเกต
อาการของตัวท่าน เพื่อความปลอดภัยในระหว่างการใช้ยา
(โดยเฉพาะในช่วง 6 เดือนแรกของการรักษา)

You might also like