You are on page 1of 4

แผนการจัดการเรียนรู้ 23

ชื่อหน่วยการ การแยกสารผสม หน่วย 2


เรียนรู้ ย่อยที่
เรื่อง การสกัดด้วยตัวทำละลาย เวลา 2 ชั่วโมง
วันที่ทำการสอน ผู้สอน นางนิพาพันธ์
ดีโว

1. สาระสำคัญ 2. มาตรฐานชี้วัด
การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็ อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหย
นวิธีทำสารให้บริสุทธิ์ หรือเป็ นวิธี แห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โค
แยกสารออกจากกัน วิธีหนึ่ง รมาโทกราฟี แบบกระดาษ การสกัดด้วย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย อาศัย ตัวทำละลาย โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
สมบัติของการละลายของสารแต่ละ (2.1 ม.2/1)
ชนิด สารที่ต้องการสกัดต้องละลาย แยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การ
อยู่ในตัวทำละลาย ตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโท
ซอลซ์เลต เป็ นเครื่องมือที่ใช้ตัวทำ กราฟี แบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทำ
ละลายปริมาณน้อย การสกัดจะเป็ น ละลาย โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (2.1

ลักษณะการใช้ ตัวทำละลาย ม.2/2)


หมุนเวียนผ่านสารที่ต้องการสกัด นำวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปั ญหาในชีวิต
หลาย ๆ ครั้ง ต่อเนื่องกันไปจน ประจำวัน โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์
กระทั่งสกัดสาร ออกมาได้เพียงพอ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์ (2.1 ม.2/3)
จุดประสงค์
1. อธิบายการแยกสารสารผสมโดยการ
สกัดด้วยตัวทำละลาย(K)
2. แยกสารผสมโดยการสกัดด้วยตัวทำ
ละลาย(P)
3. สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ปั ญหาใน
ชีวิตประจำวัน ไปใช้แก้ปั ญหาในชีวิต
ประจำวัน ได้(A)

3. เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 4. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- ชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำละลาย - สกัดสารสมุนไพรไล่ยุง
อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของ
สาร
- ผลของความดันที่มีต่อสภาพ
ละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ

5. สมรรถนะของผู้เรียน 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 ความสามารถในการคิด 1. มีวินัย
1) ความสามารถในการ 2. ใฝ่ เรียนรู้
คิดแก้ปั ญหา 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
2) ความสามารถคิดอย่าง 4. มีจิตสาธารณะ
มีวิจารณญาณ
5.2 ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
1) กระบวนการทำงาน
กลุ่ม

7. เครื่องมือการสอนคิด กิจกรรมกลุ่ม (Analysis thinking) KWL


8. กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การ
Do now ( 3 นาที) ประเมิน
นักเรียนดูภาพการกรองเพื่อแยกสารผสม ที่ครู
ผล
เตรียมไว้ให้
- เอกสาร -ผลของ
Purpose ( 2 นาที)
ประกอบการ กิจกรรม
วันนี้เราจะเรียน เรื่อง การสกัดด้วยตัวทำ
เรียนและวีดีโอ
ละลาย เพื่อให้นักเรียนออกแบบการทดลองและ
กลุ่ม(Anal
เรื่อง การสกัด
ทดลองในการอภิปรายผลของชนิดตัวละลาย ysis
ด้วยตัวทำ
ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ thinking)
ละลาย (สมุนไพ
ของสาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีต่อ - ตรวจ
รไล่ยุง)
สภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ งานแผ่น
- ใบงาน เรื่อง
Work mode (75 นาที) การสมุนไพรไล่ พับ การ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนความรู้เดิมลงใน ยุง สกัดด้วยตัว
ช่อง K (5 นาที) (ภูมิปั ญญาชาว ทำละลาย
- หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ บ้าน) -การตอบ
ต้องการอยากรู้ในช่อง W คำถาม/
(5 นาที) ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่ม ศึกษาเอกสาร อภิปราย
ประกอบการเรียน และวีดีโอเรื่อง การสกัด และสรุป
สมุนไพรไล่ยุง (15 นาที) ผลในชั้น
- นักเรียนร่วมกันลงมือปฏิบัติทำสมุนไพรลา เรียนของ
ยุง (ภูมิปั ญญาชาวบ้าน) เขียนความรู้ที่ได้จาก นักเรียน
การเรียนการปฏิบัติลงในช่อง L (35 นาที)
- ร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ร่วมกันใน
ชั้นเรียน (15 นาที)
Reflective (20 นาที)
.- “สิ่งที่นักเรียนได้รับจากการเรียนในวันนี้”
ตอบลงในกระดาษที่แจกให้ โดยใช้ Exit Ticket
(รายบุคคล) (10 นาที)
- ตัวอย่างข้อสอบ O-net จำนวน 3 ข้อ
(10 นาที)

You might also like