You are on page 1of 43

คาชีแ ้ จง จงเลือกข้อที่ถก ู ที่สด ุ เพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมายกากบาท ( ) ลงในช่อง ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ๑. ข้อใดเป็ นความหมายของคาประสม ก. คาที่นามารวมกันแล้วมีความหมายใหม่หรือมีความหมายชัดเจนขึน ้ ข.

คาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตตัง ้ แต่สองคาขึน ้ ไปมารวมกันเป็ นคาเดียว ค. คาที่เกิดจากการนาคามูลตัง ้ แต่สองคาขึน ้ ไปมารวมกันและมีความหมายใหม่ ง. คาที่เกิดจากการรวมศัพท์ของภาษาบาลีและสันสกฤตตัง ้ แต่สองคาขึน ้ ไปมาเชือ ่ มต่อกันเป็ นคาเดียว ๒. คาที่ขน ึ้ ต้นด้วย “เล่น” ในข้อใดเป็ นคาประสม ก. ผมไม่ชอบเล่นพวก ข. น้องเล่นตานีเ้ ป็ นตาสุดท้าย ค. ก้อยชอบเล่นชิงช้า ง. อย่าไปเล่นกับมันนะ ๓. ข้อใดมีคาประสมมากที่สด ุ ก. แม่บา ้ นทาแกงเขียวหวานอร่อยมาก ข. นักเรียนต้องท่องจากลอนให้ได้ ค. ผูด ้ย ี ่อมเข้าใจมารยาทสังคม ง. คนงานซื้อกล้วยแขกกลับบ้านพัก ๔. ข้อใดเป็ นคาประสมที่เกิดจากคาไทยประสมกับคาไทยทุกคา ก. ประธานสภา เรียงเบอร์ รถทัวร์ ข. ผ้ากันเปื้ อน สายยาง หางม้า ค. ยานอวกาศ เรือรบ รถขยะ ง. พระแสง หมอดู ล้มละลาย

๕. คาประสมข้อใดมีคานามนาหน้าทุกคา ก. กินลม ไม้เท้า ข. เรือใบ แม่ทพ ั ค. นอนราบ รถราง ง. หม่อมฉัน นา ้ ตก ๖. ข้อใดเป็ นคาประสมที่สร้างมาจากคากริยาและคากริยาทุกคา ก. ร้อยกรอง เรียงพิมพ์ กันชน ข. วางตัว ยกเมฆ รูปถ่าย ค. คุยโต หัวแข็ง ลูกค้า ง. จนมุม น่ารัก บ้านนอก ๗. ข้อใดเป็ นคาประสมที่สร้างมาจากคากริยากับคานามทุกคา ก. ตีหน้า เข้าใจ ข. กล่องดา อวดดี ค. เต็มตา ห่อหมก ง. วิ่งเปี้ ยว หลับใน ๘. คาประสมข้อใดมีการสร้างคาจากข้ออื่น ก. กินใจ จับยาม ข. ลูกแก้ว นา ้ คา ค. ปากกา นา ้ เสียง ง. ท้องฟ ้ า ไฟฟ ้า ๙. คาประสมในข้อใดมีคาหลังเป็ นคานามทุกคา ก. บอกบท ลอยกระทง ข. ครอบครัว ไฟฉาย ค. จดหมาย เรือล่ม ง. พิมพ์ดด ี วงใน

๑๐. คาประสมในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนคาว่า “ใบขับขี” ่ ทุกคา ก. สารฟอกขาว แม่ย่านาง บัตรเติมเงิน ข. นา ้ แข็งใส คนหลังเขา ลิงชิงหลัก ค. สารกันบูด นา ้ แข็งกด บ้านจัดสรร ง. ไปรษณียด ์ ว ่ นพิเศษ เด็กหลอดแก้ว รถใต้ดน ิ ๑๑. คาประสมในข้อใดทาหน้าที่เป็ นคากริยาทุกคา ก. ตีบท แท่นพิมพ์ ข. รีดไถ สอดแนม ค. น่ารัก ตัง ้ แต่ ง. กระผม เพราะเหตุว่า ๑๒. คาข้อใดทาหน้าที่เป็ นคาวิเศษณ์ทง ั้ สองคา ก. กัดกิน ขยันขันแข็ง ข. ตบตี น่าเอ็นดู ค. ชกต่อย จับจอง ง. ใจบุญ สดชืน ่ ๑๓. คาประสมในข้อใดเป็ นคานามทุกคา ก. เงินเดือน ใต้เท้า นา ้ ตาล ข. ขันหมาก นอกใจ คนใช้ ค. เข็มทิศ นา ้ ซุป หัวใจ ง. หัวแข็ง ตาขาว เล่นตัว ๑๔. คาประสมที่ขด ี เส้นใต้ในข้อใดเป็ นคาขยายนาม ก. นายจ้างขึน ้ เงินเดือนให้กบ ั พนักงาน ข. ดอกกล้วยไม้สง ่ กลิ่นหอม ค. คุณหมอผ่าตาปลาที่เท้า ง. แม่ตานา ้ พริก

๑๕. คาประสมในข้อใดทาหน้าที่แตกต่างจากข้ออื่น ก. น่าเกลียด ข. ใจจืด ค. ส้นสูง ง. จับจอง ๑๖. ข้อใดมีคาประสมที่ทาหน้าที่เดียวกันทุกคา ก. คนสนิท ข้าวตอก เงินตรา ข. บุตรเลี้ยง กรวดนา ้ ผสมเทียม ค. กระดาษฉนวน ข้าวต้ม ซักฟอก ง. เงินเดือน ซักแห้ง กวาดล้าง ๑๗. คาประสมข้อใดเป็ นคาบุพบททุกคา ก. นอกบ้าน ต่อเมื่อ ข. ตามใจ จนกระทัง ่ ค. โดยเฉพาะ หน้าอ่อน ง. ตาแข็ง ตัง ้ แต่ ๑๘. “เมื่อฉันกลับถึงห้องแถว ฉันเอาผ้าเช็ดตัวที่ซักสะอาดมาจากคลอง ตากที่ราวตากผ้า” ข้อความนีม ้ ีคาประสมที่เป็ นคานามกี่คา ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา ๑๙. คาประสมในข้อใดทาหน้าที่เหมือนคาต่อไปนีท ้ ก ุ คา “จนมุม เคลื่อนที่ ฟื้ นตัว” ก. ผสมเทียม หางม้า ตัง ้ แต่ ข. บรรยายสด กุญแจมือ เตาแก๊ส ค. ปิ ดปาก กลางคน ดอกไม้ ง. ตัดราคา ซักซ้อม โยงใย ๒๐. คาประสมในข้อใดทาหน้าที่เหมือนกับคาที่ขด ี เส้นใต้ในประโยคต่อไปนี้ “มาลีเป็ นเด็กน่ารัก” ก. จนกรอบ พอใจ ข. หมูกระทะ ค. แจ่มใส ขีค ้ ร้าน ง. ใจเสีย ตักบาตร

๑. ค

๒. ก

๓. ง

๔. ข

๕. ข

๖. ก

๗. ก

๘. ก

๙. ก

๑๐. ค

๑๑. ข

๑๒. ง

๑๓. ค

๑๔. ข

๑๕. ง

๑๖. ก

๑๗. ก

๑๘. ค

๑๙. ง

๒๐. ค

พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๔๔ : ๖๐) กล่าวว่า คาประสมคือ คาที่นาคามูลมาประสมกันเข้าตัง ้ เป็ นอีกคาหนึง ่ เรียกว่าคาประสม เช่น คามูล “แม่” กับ “นา ้” รวมกันเข้าเป็ นคาประสมว่า “แม่นา ้”

สมถวิล วิเศษสมบัติ (๒๕๔๔ : ๑๗๑) กล่าวว่า คาประสมคือ คามูลรวมกันเป็ นคาประสมแล้วเกิดหมายใหม่ แต่ยง ั คงมีเค้าความหมายเดิมอยู่บา ้ ง เช่น ลูกนา ้ เรือหางยาว แม่ทพ ั พ่อตา เป็ นต้น

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๒๔๙ ) กล่าวว่า คาประสม น. คาที่เกิดจากการนาคามูลที่เกิดอิสระได้ตง ั้ แต่ ๒ คาขึน ้ ไปมาประสมกัน แล้วกลายเป็ นคาใหม่ที่มีความหมายขึน ้ มาอีกคาหนึง ่ เช่น ลูกเสือ ลูกนา ้ ไฟฟ ้า

คามูลตัง ้ แต่สองคาขึน ้ ไปรวมกัน เกิดคาใหม่ มีความหมายใหม่ เป็ นคาประสม

พัดลม หมายถึง

เครื่องพัดให้เย็นด้วยแรงไฟฟ ้า

เสื้อกล้าม หมายถึง เสื้อชัน ้ ในชาย

คามูลตังแต่ ้ สองคาขึ ้นไปรวมกัน เกิดคาใหม่ มีความหมายใหม่ เป็ นคาประสม ตัวอย่าง

๑. คาประสมที่มีความหมายใหม่มีเค้าความหมายเดิม เช่น

พ่อ หมายถึง สามีของแม่ ตา หมายถึง พ่อของแม่ พ่อตา หมายถึง พ่อของภรรยา

ลูก หมายถึง บุตร นา ้ หมายถึง ของเหลว ลูกนา ้ หมายถึง ลูกของยุง

๒.คาประสมที่เกิดความหมายใหม่เปลี่ยนไปจากเดิม

แม่ หมายถึง หญิงผูใ้ ห้กาเนิด บ้าน หมายถึง ที่อยู่อาศัย แม่บา ้น หมายถึง หญิงผูจ ้ด ั การงานในบ้าน

คอ หมายถึง ส่วนของร่างกายที่ตอ ่ ศีรษะกับตัว ห่าน หมายถึง ชือ ่ นกจาพวกเป็ ด คอยาว คอห่าน หมายถึงส่วนของโถส้วม

๓. คาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทย เช่น

ปลาดาว

กล้วยไม้

ปากกา

๔. คาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทยกับคายืม เช่น เข็มทิศ (ไทย + สันสกฤต) รถเก๋ง (บาลี + จีน) ห้องโชว์ (ไทย + อังกฤษ) ราชวัง (บาลี + ไทย) ปั กษ์ใต้ (สันสกฤต + ไทย) โปรแกรมหนัง (อังกฤษ + ไทย)

๕.คาประสมที่เกิดจากการย่อคาให้กะทัดรัดขึน ้ มักขึน ้ ด้วย การ ความ ของ เครื่อง ชาว นัก ผู้ ช่าง ฯลฯ เช่น นัก นักร้อง นักเขียน นักเรียน นักสู้ ชาว ชาวบ้าน ชาวเมือง ชาวนา ชาววัง ช่าง ช่างไม้ ช่างเสริมสวย ช่างไฟฟ ้า หมอ หมอดู หมอความ หมอผี หมอนวด การ การบ้าน การเมือง การไฟฟ ้ า การคลัง ความ ความดี ความชัว ่ ความสุข ความทุกข์ ผู้ ผูใ้ หญ่ ผูด ้ ี ผูอ ้ านวยการ ผูน ้อ ้ ย ผูร ้า ้ย ของ ของใช้ ของไหว้ ของเล่น ของชาร่วย เครื่อง เครื่องหมาย เครื่องบิน เครื่องมือ ที่ ที่นอน ที่ดน ิ ที่เขีย ่ บุหรี่ ที่เที่ยว ที่พัก

๑. คาประสมที่ใช้เป็ นคานามและคา ขยายนาม เช่น คานาม คาขยายนาม กล้วยไม้ ดอกกล้วยไม้ คู่มือ หนังสือคู่มือ นมแมว นา ้ นมแมว ส้นสูง รองเท้าส้นสูง หม้าแกง ขนมหม้อแกง

๒. คาประสมที่ใช้เป็ นคากริยาและคา ขยายนาม เช่น คากริยา คาขยายนาม ชัน ้ ตา ่ คนชัน ้ ตา ่ ชักแห้ง นา ้ ยาซักแห้ง ปากหวาน คนปากหวาน เสริมสวย โรงเรียน เสริมสวย

๓. คาประสมที่ใช้เป็ นคากริยาและวิเศษณ์ขยายกริยา คากริยา คาวิเศษณ์ขยายกริยา แก้มือ ชกแก้มือ ขัดหู พูดขัดหู เข้ากระดูก เกลียดเข้ากระดูก คา ้ฟ ้า อยู่คา ้ฟ ้า

นาม + นาม

แม่ นำ ้

พ่อบ้าน

แปรงสีฟัน

นาม + กริยา เช่น แบบเรียน เข็มกลัด ยาดม เรือแจว บ้านพัก

กริยา + นาม เช่น กินใจ เล่นตัว เข้าใจ ได้หน้า ร้องเพลง

นาม + วิเศษณ์ เช่น น้าแข็ง ถัว ่ เขียว หัวหอม น้าหวาน หัวหอม

กริยา + กริยา เช่น ต้มยา พิมพ์ดีด จดจา ท่องจา กันสาด

บุพบท + นาม เช่น ข้างถนน นอกคอก ต่อหน้า นอกคอก กับข้าว

วิเศษณ์ + วิเศษณ์ เช่น อ่อนหวาน หวานเย็น เปรี้ยวหวาน เขียวหวาน

วิเศษณ์ + คานาม เช่น อ่อนข้อ สองหัว หนักมือ ดีใจ หลายลิ้น

ให้นก ั เรียนสังเกตคาต่อไปนี้ว่าเป็ นคาประสมหรือไม่ เพราะเหต ุใด นา ้ เน่า เครื่องดับ บ้านพัก

นา ้ ค้าง

เครื่องบิน

บ้านพัง

แม่ป่วย

บรรทัด

ปูมา ้

แม่พิมพ์

ไม้บรรทัด

ปูตาย

ข้อ๑.จงบอกความหมายของ คาประสมพร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ ตอบ...........................................


.................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................

ข้อ ๒. จงยกตัวอย่างคาประสมที่เกิ ดจากคามูลที่มีคาขึ้นต้นว่า นัก ความ เครื่อง ตอบ........................................... ... ............................................ ....................................
................................................... ................................................... ................................................... ...................................................

ข้อ ๓. จงสร้างคาวิเศษณ์ + คานาม และคานาม + คากริยา มาอย่างน้อย ๓ คา ตอบ................................................................................. ........................................................................................ .............................................................

เพื่อนๆลองมาเลือกคากันดูซิว่าทาได้กน ั กี่ขอ ้ คาสัง ่  ให้นก ั เรียนกาเครื่องหมาย หน้าคาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทยกับคาไทยและเครื่องหมาย หน้าคาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทยกับคาต่างประเทศ

 

........................ ........................ ........................ ........................ ........................ ........................ ......................... ......................... .......................... ..........................

๑. เก๋งจีน ๒. โต๊ะหนังสือ ๓. หางเสือ ๔. ตักบาตร ๕. กล้วยไม้ ๖. เตาไมโครเวฟ ๗. เดินทางไกล ๘. ยางลบ ๙. วันเพ็ญ ๑๐. ป ้ อมตารวจ

ไม่นา ่ จะยากนะเธอ คิดดีๆนะ

เพื่อนๆสร้างคาใหม่เป็ นกันหรือยังครับ ลองดูนะไม่ยากเลยครับ คาสัง ่  ให้นก ั เรียนสร้างคาประสม ๒ พยางค์จากคาที่กาหนดให้ตอ ่ ไปนี้ จานวน ๑๐ คา ปาก พ่อ
ใน

ยา

คน

เข้า

แก้

ลูก

เบี้ย

นา ้

ล่าง

สูง

ใจ

งาน

ดา

ราว

ปาก

ข้าง

บิน

ไข

หัก

หลวง มด

คิด

ลองมาแยกหน้าที่คาประสมกันบ้างดีกว่า ไม่ยากเลยคิดดีๆนะจ๊ะ คาสัง ่  ให้นก ั เรียนบอกคาประสมที่ขด ี เส้นใต้ในข้อต่อไปนีว ้ ่าทาหน้าที่ ใดในประโยค

๑.มดแดงทารัง อยู่บนต้นไม้ ............................. ............................. .............................

๒.รถไฟออกจาก สถานีตรงเวลา
.................................. .................................. .................................

๓.ท่านสมภาร จาวัดในกุฎิ ................................. ................................. ................................

๔. เขาชอบทานขนมส อดไส้มาก ................................. ................................. ........................

๕. คนบ้านนอกอา รมณ์ดี ............................ ............................ ............................ . ๙. เธอเป็ นคนพูดอ่ อนหวาน .............................. .............................. .............................. ....

๖.แม่อ่านสมุดพก ................................. ................................. ................................. ................................. .

๗. คุณปู่ ถือ ไม้เท้าไปตลาด .............................. .............................. .............................. ...

๘. รัฐบาลแจกหนังสื อแบบเรียนให้กบ ั เ ด็ก ................................. .................................

๑๐.ผูค ้ม ุ ย่างสามขุม มาที่นก ั โทษประหาร ..................................... ..................................... ..........

เพื่อนๆทาถูกกันบ้างไหมค่ะ คาสัง ่  ให้นก ั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ข้อ ๒. ข้อ๑.จงบอกความหมายของคา จงยกตัวอย่างคาประสมที่เกิด ประสมพร้อมยกตัวอย่างประก จากคามูลที่มีคาขึน ้ ต้นว่า นัก อบ ความ เครื่อง ตอบ...พระยาอุปกิตศิลปสาร ตอบ.......นักร้อง นักเขียน (๒๕๔๔ : ๖๐) กล่าวว่า นักเรียน นักสู้ คาประสมคือ ความจริงความเรียง คาที่นาคามูลมาประสมกันเข้าตั้ ความหมาย เครื่องเทศ งเป็ นอีกคาหนึง ่ เครื่องซักผ้า เครื่องหมาย เรียกว่าคาประสม เช่น คามูล “แม่” กับ “นา ้” รวมกันเข้าเป็ นคาประสมว่า“แม่ นา ้” ข้อ ๓. จงสร้างคาวิเศษณ์ + คานาม และคานาม + คากริยา มาอย่างน้อย ๓ คา ตอบ.คาวิเศษณ์ + คานาม ได้แก่ นา ้ หวาน หัวหอม ข้าวสวย คานาม + คากริยา ได้แก่ เรือแจว บ้านพัก กล้วยปิ้ ง

คาสัง ่ ให้นก ั เรียนกาเครื่องหมาย หน้าคาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทยกับคาไทยและเครื่องหมาย หน้าคาประสมที่เกิดจากการประสมคาไทยกับคาต่างประเทศ

 

ถูกทุกข้อเลย ใช่ไหมค่ะ

........................ ........................ ........................ ........................ ....................... ........................ ......................... ....................... .......................... .........................

๑. เก๋งจีน ๒. โต๊ะหนังสือ ๓. หางเสือ ๔. ตักบาตร ๕. กล้วยไม้ ๖. เตาไมโครเวฟ ๗. เดินทางไกล ๘. ยางลบ ๙. วันเพ็ญ ๑๐. ป ้ อมตารวจ

คาสัง ่  ให้นก ั เรียนสร้างคาประสม ๒ พยางค์จากคาที่กาหนดให้ตอ ่ ไปนี้จานวน ๑๐คา ทาได้กน ั กี่ขอ ้ ค่ ะ ปาก นา ้ เบี้ยล่า ง ลูกคิด แก้ไข เข้าใจ บินสูง คนงาน ยาดา ในหลว ง พ่อมด

๑. คานาม

๒. คานาม

๓. คากริยา

๔. คากริยาขยายนาม

๕. คานามขยายนาม

๖. คานาม

๗. คานาม

๘. คานามขยายคานาม

๙. คาวิเศษณ์ขยายคากริ ยา

๑๐. คาวิเศษณ์ขยายคากริย า

คาชีแ ้ จง จงเลือกข้อที่ถก ู ที่สด ุ เพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมายกากบาท ( ) ลงในช่อง ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ๑. ข้อใดคือความหมายของคาประสม ก. การนาคามูลมาพูดซา ้ หรือเขียนซา ้ ข. คาที่มีความหมายสมบูรณ์ อาจมีพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ ค. การนาคามูล ๒ คาขึน ้ ไปมาซ้อนคู่กน ั คาหนึง ่ เป็ นคาต้น อีกคาหนึง ่ เป็ นคาท้าย ง. การนาคามูล ๒ คาขึ้นไปมาประกอบกันเป็ นคาใหม่ แต่ยง ั คงมีเค้าความหมายของคาเดิมอยู่ ๒. คาว่า “ลูกเสือ” ในข้อใดเป็ นคาประสม ก. ลูกเสือเข้าค่ายพักแรม ข. ลูกเสือตัวนัน ้ ซนมาก ค. ลูกเสือเดินตามแม่เสือ ง. ลูกเสือที่สวนสัตว์นเี้ กิดได้ ๒ วัน ๓. คาที่ขด ี เส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่คาประสม ก. นพรัตน์ชอบดาวลูกไก่ ข. น้องถูพื้นบ้านจนสะอาด ค. สุเทพไปตัดเสื้อตัวใหม่มา ง. สุเชาว์ถก ู ตามใจจนเสียเด็ก

๔. ข้อใดเป็ นคาประสมทุกคา ก. ประเพณี ถนน ข. แต่ทว่า บุรษ ุ ค. ราชินี ประหนึง ่ ง. ทางออก รับสัง ่ ๕. ข้อใดเป็ นคาประสมที่เกิดจากคาไทยกับคาที่มาจากภาษาอื่น ก. ท่อไอเสีย ข. เก๋งจีน ค. อ่อนช้อย ง. พ่อเลี้ยง ๖. คาประสมในข้อใดเกิดจากคาไทยประสมกับคาภาษาอังกฤษ ก. นายห้าง ห้องโชว์ ข. แขกยาม ตรวจค้น ค. ขัดลาภ ใจบุญ ง. พวงหรีด เด็กปั ม ๊ ๗. ข้อใดเป็ นคาประสมที่มาจากภาษาอื่น ก. เคมีภณ ั ฑ์ ข. มนุษย์กบ ค. แม่ทพ ั ง. รถม้า ๘. คาประสมในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนกับคาว่า “รถม้า” ทุกคา ก. นา ้ แข็ง ข้าวตาก เสื้อคลุม ข. แม่บา ้ น สวนสัตว์ กระดาษฟาง ค. ม้ามืด ถัว ่ ตัด ไข่ทอด ง. ยาถ่าย ขนมปั ง คนงาน

๙. คาประสมในข้อใดมีโครงสร้างต่างจากข้ออื่น ก. ลาไพ่ ฟองนา ้ ข. สายสร้อย ดวงตรา ค. ดวงหน้า วงแขน ง. หมาใน ของกลาง ๑๐. คาประสมในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนคาว่า “ร้อยกรอง” ทุกคา ก. ห่อหมก พิมพ์ดด ี ข. กินเปล่า วงใน ค. เข้าใจ ลอยแก้ว ง. ครอบครัว จดหมาย ๑๑. คาประสมคาใดเกิดจากการสร้างคาแบบ วิเศษณ์ + นาม ก. นา ้ นม ข. ยิ้มหวาน ค. ใต้เท้า ง. สุกดิบ ๑๒. ข้อใดเป็ นคาประสมที่ทาหน้าที่เป็ นคานาม ก. แก้ไข สวนครัว ข. นา ้ ปลา ลูกจ้าง ค. ขีเ้ หร่ แม่คณ ุ ง. ยกเลิก เรือด่วน ๑๓. ข้อใดมีคาประสมที่ทาหน้าที่เป็ นคานามในประโยค ก. พ่อซ่อมเครื่องยนต์เสร็จแล้ว ข. ชาตรีถ่ายรูปวิวสวย ค. จอยขีเ้ กียจสระผม ง. นุน ่ เป็ นเด็กน่ารัก

๑๔. ข้อใดเป็ นคาประสมที่ทาหน้าที่เป็ นคากริยาทุกคา ก. ช่างไม้ ฉาบปูน ข. ตูเ้ ย็น ห่อหมก ค. เต้นรา ไหว้เจ้า ง. น่าเกลียด ต้มจืด ๑๕. คาประสมในข้อใดเป็ นคากริยาที่ทาหน้าที่ขยายคานามทุกคา ก. เด็กหัวอ่อน ผูล ้ ี้ภย ั ข. อากาศสดชืน ่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ค. ผ้าพันคอ เรือหางยาว ง. เข็มซ่อนปลาย ไข่ลก ู เขย ๑๖. ข้อใดมีคาประสมที่ทาหน้าที่แตกต่างจากข้ออื่น ก. สะพานลอย เรือดานา ้ ข. พูดขัดคอ นัง ่ กันท่า ค. เรือเดินสมุทร แปรงสีฟัน ง. รถรับจ้าง เสื้อกันฝน ๑๗. ข้อใดเป็ นคาประสมที่ทาหน้าที่เป็ นคาสรรพนามทุกคา ก. ดิฉน ั ข้าพระองค์ ใต้เท้า ข. ฝ่ าพระบาท พระคุณท่าน พ่อคุณ ค. เกล้ากระผม พ่อเจ้าพระคุณ ข้าพเจ้า ง. แม่หนู กระผม ใต้ฝ่าละอองพระบาท

๑๘. ข้อใดมีคาประสมที่ทาหน้าที่เป็ นคาวิเศษณ์ทก ุ คา ก. หัวรัน ้ น่ากิน บังตา ข. กันท่า ก่อการ อ่อนหวาน ค. เข้าใจ มัง ่ คัง ่ ขัดคอ ง. หวานใจ น้อยหน้า นอกบท ๑๙. “แม่ชอบทานแกงเขียวหวานมาก” คาประสม “เขียวหวาน” ทาหน้าที่ใดในประโยค ก. คานาม ข. คาสรรพนาม ค. คากริยา ง. คาวิเศษณ์ ๒๐. “นัง ่ กินที่” คาประสม “กินที” ่ ทาหน้าที่ใด ก. คานาม ข. วิเศษณ์ขยายนาม ค. คากริยา ง. วิเศษณ์ขยายคากริยา

๑. ค

๒.ก

๓. ข

๔. ง

๕. ข

๖. ง

๗. ก

๘. ข

๙. ง

๑๐. ก

๑๑. ค

๑๒. ข

๑๓. ก

๑๔. ค

๑๕. ก

๑๖. ข

๑๗. ข

๑๘. ง

๑๙. ง

๒๐. ง

You might also like