You are on page 1of 5

การทดลองที่4.

1 การเตรียมสารละลายมาตรฐานเพื่อให้เทียบหา % การ
แตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดง

วิธีเตรียม ใช้หลอดทดลอง 4 หลอด โดยแต่ละหลอดทดลองให้


เปฏิบต
ั ิดังนี้

หลอดที่ 1 0% Hemolysis เติม 4ml ชองน้้ากลั่นใส่ในหลอด


ทดลอง

หลอดที่ 2 25% Hemolysis เติมเลือด 1 หยด ลงใน 16ml ของ


น้้ากลั่นในหลอดทดลอง

หลอดที่ 3 50% Hemolysis เติมเลือด 1 หยด ลงใน 8ml ของ


น้้ากลั่นในหลอดทดลอง

หลอดที่ 4 100% Hemolysis เติมเลือด 1 หยด ลงใน 4ml ของน้้ากลั่น


ในหลอดทดลอง

ปิ ดหลอดทดลองด้วยจุกยางหรือพาราฟิ ล์ม เขย่าหลอดทดลองเบาๆ


ทุกหลอด จนสารละลายเป็ นเนื้ อเดียวกัน น้าสารละลายทุกหลอดทดลองไป
ปั่ นในเครื่อง centrifuge ที่ 3,000 rpm เป็ นเวลา 5 นาที เพื่อให้เซลล์เม็ดเลือด
แดงที่เหลือจากการแตกและกากเซลล์ตกมาอย่่ก้นหลอดทดลอง จากนั้นน้า
สารละลายส่วนใสด้านบน (Supernatant) ไปอ่านค่า Optical density (OD) ด้วย
เครื่อง Spectronic-20 ที่ความยาวคลื่นแสง 540nm น้าค่า OD ที่ได้ไปสร้าง
Standard Curve เปรียบเทียบระหว่างค่า OD กับ % การแตกตัวของเซลล์เม็ด
เลือดแดง

การทดลองที่4.2 ศึกษาการเคลื่อนที่ของน้้าและสารต่างๆ ผ่านเข้า-ออก


เซลล์เม็ดเลือดแดง

วิธีเตรียม ใช้หลอดทดลอง 16 หลอด โดยแต่ละหลอดทดลองให้เติม


สารละลายปริมาตร 4ml ตามรายชื่อสารละลายต่อไปนี้
1. Distilled water 5. 0.1M Urea

2. 0.1M NaCl 6. 0.3M Urea

3. 0.15M NaCl 7. 0.6M Urea

4. 0.3M NaCl 8. 0.3M Glycerol

พิชรัญญา พรหมจักร (5206811)


9. 0.15M Sodium acetate 13.0.6M Urea in 0.15M NaCl

10.0.15M NH₄Cl 14.0.3M Glucose

11.0.1M Urea in 0.15M NaCl 15.0.3M Sucrose

12.0.3M Urea in 0.15M NaCl 16.0.15M CH₃COOH

หยดเลือด 1 หยด ลงในสาระละลายทีละหลอดทดลอง ปิ ดหลอดทดลอง


ด้วยจุกยางหรือพาราฟิ ล์ม รีบเขย่าสารละลายเบาๆ ทันที สังเกตการ
เปลี่ยนสีของสารละลาย ขณะเดียวกันให้น้าหลอดทดลองไปวางทาบการ
ดาษเพื่ออ่านตัวอักษรด้านหลังหลอดทดลองและจับเวลาที่สารละลาย
แต่ละหลอดทดลองใช้ในการท้าให้อ่านตัวอักษรได้ แต่ไม่นานเกิน 10 นาที
แล้วน้าสารละลายทุกหลอดทดลองไปปั่ นในเครื่อง centrifuge ที่ 3,000 rpm
เป็ นเวลา 5 นาที เพื่อให้เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เหลือจากการแตกและกาก
เซลล์ตกมาอย่่ก้นหลอดทดลอง จากนั้นน้าสารละลายส่วนใสด้านบนไป
อ่านค่า OD ด้วยเครื่อง Spectronic-20 ที่ความยาวคลื่นแสง 540nm น้าค่า
OD ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเปอร์เซ็นต์การแตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดง
กับ Standard Curve ของการทดลองที่ 1

การทดลองที่4.3 ศึกษาอิทธิพลของอุณหภ่มิท่ีมีต่อการเคลื่อนที่ของสารผ่าน
เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง

วิธีเตรียม ใช้หลอดทดลอง 4 หลอด โดยแต่ละหลอดทดลองให้เติม


สารละลายปริมาตร 4ml ตามรายชื่อสารละลายต่อไปนี้

1. 0.15M NaCl (แช่หลอดทดลองในน้้าแข็ง 4⁰C)

2. 0.3M Glycerol (แช่หลอดทดลองในน้้าแข็ง 4⁰C)

3. 0.15M NaCl (แช่หลอดทดลองใน Water bath 40⁰C)

4. 0.3M Glycerol (แช่หลอดทดลองใน Water bath 40⁰C)

หยดเลือด 1 หยด ลงในสาระละลายทีละหลอดทดลอง ปิ ดหลอดทดลอง


ด้วยจุกยางหรือพาราฟิ ล์ม รีบเขย่าสารละลายเบาๆ ทันที สังเกตการ
เปลี่ยนสีของสารละลาย ขณะเดียวกันให้น้าหลอดทดลองไปวางทาบการ
ดาษเพื่ออ่านตัวอักษรด้านหลังหลอดทดลองและจับเวลาที่สารละลาย
แต่ละหลอดทดลองใช้ในการท้าให้อ่านตัวอักษรได้ แต่ไม่นานเกิน 10 นาที

พิชรัญญา พรหมจักร (5206811)


แล้วน้าสารละลายทุกหลอดทดลองไปปั่ นในเครื่อง centrifuge ที่ 3,000 rpm
เป็ นเวลา 5 นาที เพื่อให้เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เหลือจากการแตกและกาก
เซลล์ตกมาอย่่ก้นหลอดทดลอง จากนั้นน้าสารละลายส่วนใสด้านบนไป
อ่านค่า OD ด้วยเครื่อง Spectronic-20 ที่ความยาวคลื่นแสง 540nm น้าค่า
OD ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเปอร์เซ็นต์การแตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดง
กับ Standard Curve ของการทดลองที่ 1

การทดลองที่4.4 ศึกษาการแตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดเนื่ องด้วยเยื่อหุ้ม


เซลล์ของเม็ดเลือดแดงถ่กท้าลายด้วยสารละลาย Saponin

วิธีเตรียม ใช้หลอดทดลอง 2 หลอด โดยแต่ละหลอดทดลองให้เติม


สารละลายปริมาตร 4ml ตามรายชื่อสารละลายต่อไปนี้

1. 0.15M NaCl + สารละลาย Saponin 50 mg/ml 1 หยด

2. 0.3M Glucose + สารละลาย Saponin 50 mg/ml 1 หยด

หยดเลือด 1 หยด ลงในสาระละลายทีละหลอดทดลอง ปิ ดหลอดทดลอง


ด้วยจุกยางหรือพาราฟิ ล์ม รีบเขย่าสารละลายเบาๆ ทันที สังเกตการ
เปลี่ยนสีของสารละลาย ขณะเดียวกันให้น้าหลอดทดลองไปวางทาบการ
ดาษเพื่ออ่านตัวอักษรด้านหลังหลอดทดลองและจับเวลาที่สารละลาย
แต่ละหลอดทดลองใช้ในการท้าให้อ่านตัวอักษรได้ แต่ไม่นานเกิน 10 นาที
แล้วน้าสารละลายทุกหลอดทดลองไปปั่ นในเครื่อง centrifuge ที่ 3,000 rpm
เป็ นเวลา 5 นาที เพื่อให้เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เหลือจากการแตกและกาก
เซลล์ตกมาอย่่ก้นหลอดทดลอง จากนั้นน้าสารละลายส่วนใสด้านบนไป
อ่านค่า OD ด้วยเครื่อง Spectronic-20 ที่ความยาวคลื่นแสง 540nm น้าค่า
OD ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเปอร์เซ็นต์การแตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดง
กับ Standard Curve ของการทดลองที่ 1

พิชรัญญา พรหมจักร (5206811)


การทดลองที่ 4.2 ศึกษาการเคลื่อนที่ของน้้าและสารต่างๆ ผ่านเข้า-ออก
เซลล์เม็ดเลือดแดง
Solutions Osmolari Osmoticity Time Tonicity Hem
ty
olysi
(sec) s
(mOsm
)
(%)

1. Distilled water 0 Hypo- 3.5 Hypotonici 100


osmoticity ty %

2. 0.1M NaCl 200 Hypo- >10mi Isotonicity 0%


osmoticity n

3. 0.15M NaCl 300 Iso-osmoticity >10mi Isotonicity 0%


n

4. 0.3M NaCl 600 Hyper- >10mi Isotonicity 0%


osmoticity n

5. 0.1M Urea 100 Hypo- 477 Hypotonici 100


osmoticity ty %

6. 0.3M Urea 300 Iso-osmoticity 582 Hypotonici 100


ty %

7. 0.6M Urea 600 Hyper- 870 Hypotonici 100


osmoticity ty %

8. 0.3M Glycerol 300 Iso-osmoticity 240 Hypotonici 100


ty %

9. 0.15M Sodium 300 Iso-osmoticity >10mi Isotonicity 0%


acetate n

พิชรัญญา พรหมจักร (5206811)


10.0.15M NH₄Cl 300 Iso-osmoticity 329.4 Hypotonici 100
ty %

11.0.1M Urea in 0.15M 400 Hyper- >10mi Isotonicity 0%


NaCl osmoticity n

12.0.3M Urea in 0.15M 600 Hyper- >10mi Isotonicity 0%


NaCl osmoticity n

13.0.6M Urea in 0.15M 900 Hyper- >10mi Isotonicity 0%


NaCl osmoticity n

14.0.3M Glucose 300 Iso-osmoticity >10mi Isotonicity 0%


n

15.0.3M Sucrose 300 Iso-osmoticity >10mi Isotonicity 0%


n

16.0.15M CH₃COOH 300 Iso-osmoticity 7.62 Hypotonici 100


ty %

พิชรัญญา พรหมจักร (5206811)

You might also like