You are on page 1of 6

ข้อจำกัดของอาเซียนในการเป็ น driver seat คืออะไร

แม้จะเห็นได้ว่าอาเซียนได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาจนปั จจุบันมี
บทบาทอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดึงดูด
มหาอำนาจนอกภูมิภาคเข้ามาร่วมเจรจาด้วยในรูปแบบความร่วมมือต่างๆ
เช่น เวทีการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความ
มั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum - ARF) ที่ก่อตัง้
เมื่อปี พ.ศ. 2537 เพื่อเป็ นเวทีหารือระดับรัฐมนตรีระหว่างอาเซียนกับ
ประเทศคู่เจรจา ปั จจุบันมี ผูเ้ ข้าร่วม 27 ภาคส่วน ประกอบด้วยสมาชิก
อาเซียน 10 ประเทศ ประเทศคู่เจรจา 10 ประเทศ (Dialogue Partners)
ได้แก่ จีน ญีป
่ ุ ่น เกาหลีใต้ สหรัฐฯ แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย
รัสเซีย และสหภาพยุโรป และอีก 6 ประเทศในภูมิภาค ARF1 มีเป้ าหมาย
เพื่อเสริมสร้างสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค
(https://www.asean2019.go.th/th/news/26th-asean-regional-
forum-arf-2/ ) ตามที่ได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อ การที่อาเซียนสามารถนั่งอยู่
ในตำแหน่งผู้ขับเคลื่อนในสถาปั ตยกรรมภูมิภาคเอเชียตะวันออกได้นน
ั้
อาเซียนมีวิธีการอย่างไร

อย่างไรก็ตามแม้อาเซียนจะประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งตาม
ที่กล่าวมาข้างต้น แต่อาเซียนก็ยังมีข้อจำกัดในการความร่วมมือและการเป็ น
อยู่ของอาเซียนเองอยู่เช่นกัน กล่าวคือ อาเซียนเริ่มก่อตัง้ จากประเทศ
สมาชิกเริ่มต้น 10 ประเทศ อันกล่าวได้ว่าเป็ นการรวมตัวกันของประเทศ
เล็กๆ และมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ
(อ้างอิงหาใหม่) จึงส่งผลให้แต่ละประเทศสมาชิกหวงแหนและให้ความ
สำคัญอธิปไตยของตนเป็ นหลัก และจะคำนึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติ
(National interests) เป็ นลำดับแรก โดยจะสนใจแต่ว่าประเทศของตนจะ
ได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์อย่างไรจากความร่วมมือในกรอบต่างๆของ
อาเซียน แทนที่จะเห็นผลประโยชน์ของภูมิภาคเป็ นหลัก (Regional
Interests) ตลอดจนการยึดมั่นอยู่ในหลักชาตินิยมและยืนหยัดในหลักการไม่
แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน ดังที่ปรากฏในการแก้ไขปั ญหาชาวโร
ฮิงยาซึ่งมีปัญหาในการช่วยเหลืออยู่ ณ ปั จจุบัน (อ้างอิงรัฐสภาหน้า 3)

ดังนัน
้ จะเห็นได้ว่าอาเซียนเป็ นการรวมตัวของรัฐต่างๆในภูมิภาค
ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัวและมีเอกลักษณ์แตกต่างจากการรวมกลุ่มอื่นๆในโลก
โดยอาเซียนเป็ นลักษณะของการความกลุ่มของรัฐในภูมิภาคเดียวกัน เพื่อ
ร่วมมือกันระหว่างรัฐบาล (Inter-government organization) เท่านัน
้ ไม่
ได้เป็ นการรวมกลุ่มแบบองค์กรณ์เหนือรัฐดังเช่นสหภาพยุโรป EU (อ้างอิง
รัฐบาลกลางหน้า 19) ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกลุ่มกันบนพื้นฐานของ
ความสมัครใจ ยอมรับในความเท่าเทียมกันฉันมิตร และภายใจการไว้เนื้อ
เชื่อใจกันผ่านการเจรจารซ้ำแล้วซ้ำเล่าจนได้แนวทางเดียวกันโดยปฏิบัติตาม
แนวทางซึ่งเรียกว่า วิถีอาเซียน โดยแต่ละประเทศสมาชิกมีอิสระในการจะ
ตัดสินใจที่จะร่วมมือ หรือ ลงนามในข้อหารือต่างๆขอเวทีอาเซียน อีกทัง้ การ
จะดำเนินการข้อตกลงใดๆในรูปแบบอาเซียนจำเป็ นต้องใช้ฉันทามติร่วมกัน
ที่มาจากความเห็นพร้อมโดยสมัครใจร่วมกันทัง้ หมดเท่านัน

เมื่ออาเซียนเกิดจากการรวมกลุ่มประเทศระดับกลางและ
ระดับเล็กเท่านัน
้ และมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ตลอดจนวัฒนธรรม
ประเพณี ระบอบการปกครองที่แตกต่างกัน ประกอบกับเป็ นการรวมกลุ่ม
กันบนพื้นฐานของความสมัครใจแล้ว จึงกลายเป็ นข้อจำกัดในความเป็ นแกน
กลางของอาเซียน เนื่องจากหากมองในมุมเฉพาะแต่ละประเทศสมาชิกจะ
พบว่าประเทศสมาชิกส่วนใหญ่เป็ นประเทศที่กำลังพัฒนา บางประเทศได้รับ
เอกราชจากรัฐอาณานิคมเมื่อไม่นานมา ดังนัน
้ ประเทศต่างๆเหล่านีจำ
้ เป็ น
ต้องพึง่ พารัฐมหาอำนาจภายนอกภูมิภาคเพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ
ของตน ซึ่งส่วนใหญ่จะออกมาในลักษณะของความร่วมมือแบบทวิภาคีซึ่งกัน
และกันไม่ผ่านเวทีอาเซียน อีกทัง้ ยังพบว่าหลายประเทศในสมาชิกอาเซียน
ยังมีความขัดแย้งกันเองในปั ญหาต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น ปั ญหาพื้นที่ทับซ้อน
ิ ้ ที่ซึ่งประเทศต่างๆอ้างกรรมสิทธิใ์ นพื้นที่
ในบริเวณทะเลจีนใต้ ซึง่ มีพน
เดียวกัน

ดังนัน
้ จึงกล่าวได้ว่าแม้อาเซียนจะมีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศที่
สามารถดึงมหาอำนาจต่างๆมาร่วมเจรจากันผ่านกรอบความร่วมมือต่างๆได้
แล้วนัน
้ แต่ในทางกับกันมหาอำนาจต่างๆเหล่านัน
้ ก็กลับกลายเป็ นว่ามีอิทธ
พลต่อประเทศสมาชิกในฐานะส่วนตัวเช่นกัน และอาจมีอิทธิพลและให้ผล
ประโยชน์แก่ประเทศสมาชิกมากกว่า ที่ประเทศสมาชิกจะได้รับประโยชน์
จากอาเซียนอีกด้วย ด้วยเหตุนจ
ี ้ ึงส่งผลให้ความร่วมมือต่างๆในรูปแบบของ
อาเซียนมีข้อจำกัด เนื่องจากประเทศสมาชิกบางประเทศอาจจำเป็ นต้อง
คำนึงถึงอิทธิของมหาอำนาจ
ที่ตนดำเนินสัมพันธ์อยู่ด้วย ณ ห้วงเวลานัน
้ โดยอิทธิดังกล่าวส่งผลให้
ประเทศสมาชิกอาเซียนมีพฤติกรรม และมีท่าทีแตกต่างกันต่อประเด็น
พิพาทต่างๆในภูมิภาค และไม่มีความเป็ นเอกภาพในการตัดสินใจร่วมกัน
โดยเห็นได้อย่างชัดเจนในประเด็นทะเลจีนใต้

สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯกับจีนในทะเลจีนใต้
และท่าทีของประเทศสมาชิกอาเซียน

้ จากการอ้างกรรมสิทธิข์ องจีนในหมู่
สำหรับปั ญหาทะเลจีนใต้ เกิดขึน
เกาะพาราเซล และหมู่เกาสแปรตลี ซึง่ ตัง้ อยู่ในพื้นที่ทะเลจีนใต้ และพื้นที่ดัง
กล่าวที่จีนอ้างถึงนัน
้ ยังเป็ นพื้นที่ทับซ้อนซึ่งประเทศอาเซียนบางประเทศก็
อ้างกรรมสิทธิว์ ่าเป็ นของตนเช่นกัน (ทะเลจีนใต้หน้า 29) อีกทัง้ สหรัฐก็มี
ความกังวลต่ออิทธิพลของจีนที่กำลังค่อยๆผงาดขึน
้ ในภูมิภาคนี ้ รวมทัง้
กิจกรรมทางทหารของจีนในทะเลจีนใต้อย่างชัดเจน โดยพยายามจะขยาย
อิทธิพลของตนในภูมิภาค ดังปรากฎได้จากการใช้ปฏิบัติการ FONOPs
(Freedom of Navigation Operations : FONOPs) หรืออ้างเสรีภาพใน
การเดินเรือ (อ้างอิงเสรีภาพ 176) เพื่อใช้อ้างในการคานอำนาจกับจีน แม้
ปั ญหาทะเลจีนใต้จะไม่ได้เกี่ยวข้องกับอาเซียนโดยตรง(ไม่ได้เกี่ยวข้องกับทุก
ประเทศ) แต่ก็เห็นได้อย่างชัดเจนว่าอาเซียนจะเป็ นพื้นที่สำคัญที่มหาอำนาจ
ทัง้ จีน และสหรัฐ จะใช้ในการบริหารอำนาจและขยายอิทธิพลของตนในการ
แข่งขันกับฝ่ ายตรงกันข้าม
ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ และความอ่อนแอของประเทศสมาชิก
อาเซียนที่จำเป็ นต้องพึ่งพามหาอำนาจนี่เองเป็ นตัวชีใ้ ห้เห็นอย่างชัดเจนถึง
ข้อจำกัดของอาเซียน และท่าทีที่แตกต่างกันของประเทศสมาชิกอาเซียน
โดยท่าทีของสมาชิกอาเซียนต่อปั ญหาดังกล่าวแบ่งเป็ นสองฝ่ ายโดยชัดเจน
คือ ประเทศสมาชิกที่มีความเห็นโอนเอียงเข้าหาจีน ได้แก่ เมียนมา ลาว
และ กัมพูชา และประเทศสมาชิกที่เป็ นคูพ
่ ิพาทกับจีนโดยตรง คือ เวียดนาม
ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย และบรูไน ส่วนไทย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ไม่ได้
เกี่ยวข้องโดยตรงในพื้นที่พิพาท จึงถือได้ว่าอาเซียนไม่มีเอกภาพในการเจรจา
เรื่องปั ญหาทะเลจีนใต้ ดังกรณีที่เกิดขึน
้ คือ

ในการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของอาเซียน ครัง้ ที่


45 ที่พนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 9 – 13 กรกฎาคม 2555 ไม่
สามารถออกแถลงการณ์ร่วมกันได้เนื่องจากในขณะนัน
้ ฟิ ลิปปิ นส์ และ
มาเลเซียมีปัญหาพิพาททางทะเลจีนใต้กับจีนอย่างหนัก และพยายามจะให้มี
การระบุอย่างชัดเจนเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยเหนือแนวปะการังสการ์โบโร
และประณามการใช้ปฏิบัติการทางทหารของจีนในทะเลจีนใต้ แต่กัมพูชาซึ่ง
เป็ นประธานการประชุมในครัง้ นัน
้ แสดงท่าทีไม่เห็นด้วยอย่างชัดเจน อีกทัง้
วิจารณ์ฟิลิปปิ นส์ถงึ การกระทำดังกล่าว เนื่องจากกัมพูชาเกรงว่า
แถลงการณ์ร่วมจะทำให้เกิดความร้าวฉานกับจีน เพราะจีนได้ให้ความช่วย
เหลือทางเศษรฐกิจต่อกัมพูชาในฐานะผู้บริจาครายใหญ่เป็ นเหตุให้กัมพูชา
ต้องคำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึน
้ กับตนหาออกแถลงการร่วมดังกล่าว
ดังที่กล่าวมาข้างต้นจึงแสดงให้เห็นว่า สถานภาพของประเทศสมาชิก
อาเซียนซึ่งยังคงอ่อนแอและต้องการเวลาในการพัฒนาประเทศตนเอง และ
ยังจำเป็ นต้องพึ่งพามหาอำนาจที่พัฒนาแล้วนัน
้ เป็ นข้อจำกัดของอาเซียน
และเป็ นช่องทางที่มหาอำนาจจะใช้ในการลดทอน หรือทำลายความเป็ น
เอกภาพความสัมพันธ์ของประเทศอาเซียนด้วยการหยิบยื่นผลประโยชน์ที่มา
กกว่าเพื่อให้ประเทศผู้ต้องการความช่วยเหลือนัน
้ โอนเอียงเข้าหาตน

You might also like