You are on page 1of 8

การทดลอง การแยกของผสมระหว่างกรดเบนโซอิกและการบูรให้ บริสุทธิ์

โดยวิธีการสกัดด้ วยตัวทาละลายแบบ liquid-liquid extraction


วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาวิธีการแยกของผสมของสารประกอบอินทรี ยใ์ ห้บริ สุทธิ์โดยวิธีการสกัดด้วยตัวทาละลายแบบ
liquid-liquid extraction

ทฤษฎี
การสกัดด้ วยตัวทาละลาย (solvent extraction) เป็ นการแยกสารให้บริ สุทธิ์ ออกจากสารผสมโดยใช้ตวั ทาละลาย
ซึ่งมีหลักการ 2 แบบ ดังนี้
1. แบบ solid-liquid extraction
หลักการแบบ solid-liquid extraction เป็ นการสกัดโดยใช้ตวั ทาละลายสกัดสารออกจากของผสมหรื อตัวอย่าง
ที่เป็ นของแข็ง เช่น การสกัดสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (natural product) ในพืชต่าง ๆ ซึ่งการสกัดชนิดนี้อาจทาได้ 2 วิธี คือ
วิธีแรก (รู ป 1-1 ก) ทาได้โดยแช่พืชที่ตอ้ งการสกัดในตัวทาละลายที่เหมาะสมที่อุณหภูมิห้อง ทิ้งไว้จนกระทัง่
สารประกอบอินทรี ยท์ ี่อยูใ่ นพืชนั้นออกมาให้มากที่ สุด (สามารถสังเกตได้จาก เมื่อเปลี่ยนตัวทาละลายใหม่ แล้วตั้งทิ้งไว้
ปรากฎว่า สารละลายใสเกือบไม่มีสี) แสดงว่าสารอินทรี ยถ์ ูกสกัดออกมาหมดแล้ว แล้วจึงกรอง หลังจากนั้นนาสารละลายที่
กรองได้ (filtrate) มาระเหยเอาตัวทาละลายออกด้วยเครื่ องระเหยแห้ง (rotary evaporator) จะได้สารประกอบอินทรี ยห์ ลาย
ชนิดปนกันอยูแ่ ละไม่บริ สุทธิ์ในสารสกัด เรี ยกว่า สารสกัดหยาบ (crude extract)
วิธีทสี่ อง (รู ป 1-1 ข) ทาการสกัดโดยใช้เครื่ องมือซอล์กเลต (soxhlet extraction) ซึ่ งเครื่ องมือประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
ส่วนล่างสุด คือ ขวดก้นกลม (round bottom) เป็ นภาชนะที่บรรจุตวั ทาละลายที่จะใช้ในการสกัด
ส่วนกลาง คือ อุปกรณ์ที่มีลกั ษณะให้ของเหลวไหลเวียนกลับลงสู่ขวดก้นกลมได้ ซึ่ งส่ วนนี้ จะมีถุงใส่ พืชหรื อ
ของแข็งที่ตอ้ งการสกัด เรี ยกว่า ทริ มเบอ (trimber) บรรจุอยู่
ส่ วนบนสุ ด คือ เครื่ องควบแน่ น (condenser) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาให้ไอของตัวทาละลายควบแน่ นกลับเป็ น
ของเหลว
หลักการทางานของเครื่ อง soxhlet extraction คือ หลังจากให้ความร้อนกับขวดก้นกลม ตัวทาละลายจะ
ระเหยกลายเป็ นไอผ่านท่อแก้วด้านข้างขึ้นไปยังเครื่ องควบแน่นซึ่งเย็น ดังนั้น ไอจะถูกควบแน่นกลายเป็ นของเหลวไหลลง
สู่ อุปกรณ์ส่วนกลาง ซึ่ งจะมีตวั อย่างพืชหรื อสารที่ตอ้ งการสกัดบรรจุอยูใ่ น trimber การควบแน่นจะเกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สังเกตจากระดับของเหลวในอุปกรณ์ส่วนกลางก็จะสู งขึ้นเรื่ อย ๆ ดังนั้น พืชหรื อสารที่ตอ้ งการสกัดจะแช่และถูกสกัดด้วย
ตัวทาละลายในขณะหนึ่ง จนกระทัง่ เมื่อระดับของตัวทาละลายในอุปกรณ์ส่วนกลางสูงถึงขีดกาหนดตัวทาละลาย แล้วตัวทา
ละลายจะไหลกลับลงสู่ขวดก้นกลมเหมือนเดิมผ่านทางแขนไซฟอน (siphon arm) พร้อมทั้งเอาสารประกอบอินทรี ยใ์ นพืช
นั้นที่สกัดได้ไหลปนมาด้วย เมื่อให้ความร้อนต่อไปอีก ตัวทาละลายนี้ ก็จะระเหยเป็ นไอเข้าสู่ วงจรตามที่กล่าวมาข้างต้นอีก
ครั้ง ซึ่งโดยปกติจะให้ความร้อนไปเรื่ อย ๆ เพื่อให้มีการไหลเวียนของตัวทาละลายหลาย ๆ ครั้ง จนกระทัง่ ไม่มีสารจากพืช
ออกมาอีก (สังเกตได้จากสารละลายที่มีพืชแช่อยูจ่ ะใสไม่มีสี)
ข้ อดีของการสกัดแบบ soxhlet extraction คือ การสกัดนี้ จะมีประสิ ทธิ ภาพดีกว่าและสิ้ นเปลืองตัวทาละลาย
น้อยกว่าวิธีแรก และหลังจากระเหยเอาตัวทาละลายออกก็จะได้สารสกัดหยาบเช่นเดียวกัน แต่สิ่งที่ตอ้ งคานึ งถึงในการสกัด
แบบ soxhlet extraction คือสารประกอบอินทรี ยน์ ้ นั จะต้องเสถียรเมื่อได้รับความร้อน
รู ป 1-1 การสกัดแบบ solid-liquid extraction (ก) การสกัดเย็น (ข) การสกัดร้อนโดยเครื่ องมือซอล์กเลต
ทีม่ า (ไพลิน ลิ้มตระกูล, 2546, หน้า 12)
2. แบบ liquid-liquid extraction
หลักการแบบ liquid-liquid extraction เป็ นการสกัดโดยใช้ตวั ทาละลายสกัดสารออกจากของผสมที่ เป็ น
ของเหลว
หลักการสกัด คือ เป็ นการใช้ตวั ทาละลายใหม่ (ส่ วนมากจะเป็ นน้ า) ในการสกัดสารออกจากสารละลายซึ่ ง
ประกอบไปด้วยตัวถูกละลายและตัวทาละลายเดิม (ส่วนมากจะเป็ นตัวทาละลายอินทรี ย)์ ที่ไม่รวมเป็ นเนื้อเดียวกับน้ า
โดยทัว่ ไปในการสกัดแบบนี้ ต้องทาการสกัดหลาย ๆ ครั้ง กล่าวคือ จะต้องใช้ตวั ทาละลายใหม่ทีละน้อยทา
การสกัดหลาย ๆ ครั้ง ซึ่ งจะสกัดสารออกมาได้มากกว่าและมีประสิ ทธิ ภาพดีกว่าการใช้ตวั ทาละลายใหม่ในจานวนมากแต่
สกัดน้อยครั้ง เช่น การสกัดสารละลาย 20 mL ต้องสกัดสารด้วยไดคลอโรมีเทน 5 ครั้ง ๆ ละ 20 mL จะดีกว่าสกัด 2 ครั้ง ๆ
ละ 50 mL เป็ นต้น
หลักการเลือกตัวทาละลายใหม่ ให้ เหมาะสม มีขอ้ ควรพิจารณา ดังนี้
1) ต้องไม่รวมเป็ นเนื้อเดียวกันกับตัวทาละลายเดิม หรื อละลายได้นอ้ ยมาก
2) ไม่ทาปฏิกิริยากับตัวทาละลายเดิม
3) ต้องละลายสารที่ตอ้ งการสกัดได้ดีกว่าตัวทาละลายเดิมที่อุณหภูมิเดียวกัน
4) ควรมีจุดเดือดต่า เพื่อกาจัดออกจากสารที่สกัดได้ง่าย
5) ควรหาง่าย ราคาถูก ไม่แพง

อุปกรณ์ที่ใช้ในการสกัด ได้แก่ กรวยแยก (separatory funnel) มีวธิ ีการจับและการสกัด (รู ป 1-2) กล่าวคือ ถ้า
ถนัดมือขวา ให้ใช้มือขวาจับกรวยแยกด้านบน และใช้นิ้วชี้กดจุกบนไว้ หรื อใช้ฝ่ามือกดทับไว้ก็ได้ ส่วนมือซ้ายจับกรวยแยก
ด้านล่างในลักษณะที่นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้พร้อมที่จะหมุนจุกล่างได้คล่องตัว จับกรวยแยกเอียงให้ดา้ นบนอยูต่ ่ากว่าปลาย
ด้านล่าง
เมื่อจะทาการสกัด ให้เทสารละลายที่ตอ้ งการสกัดและตัวทาละลายใหม่ลงในกรวยแยก เขย่าเพื่อให้ตวั ทา
ละลายใหม่สมั ผัสกับสารที่ตอ้ งการสกัดให้มากที่สุด ระหว่างที่เขย่าจะมีแรงดันเกิดขึ้นในกรวยแยก ให้ทาการลดแรงดันโดย
ค่อย ๆ หมุนจุกล่างเพื่อให้อากาศออก ซึ่งแรงดันจะมากที่สุดเมื่อไขครั้งแรก และเมื่อเลิกสกัดให้จบั กรวยแยกตั้งตรง แล้ววาง
กรวยแยกในวงแหวนเหล็ก (iron ring) เพื่อให้สารละลายในกรวยแยกเกิดการแยกเป็ นสองชั้นให้มากที่สุด หลังจากนั้นไข
สารละลายชั้นบนและชั้นล่างแยกออกจากกัน (อย่าลืมเปิ ดจุกบน ขณะทาการไขสารละลาย) มิฉะนั้นเมื่อไขไปเรื่ อย ๆ แล้ว
สารละลายจะไม่ไหลออกมา

นอกจากนั้นในขณะสกัดมีขอ้ ควรระวังอื่น ๆ ดังนี้


1) ถ้าจุกล่างของกรวยแยกเป็ นแก้ว ต้องทาจาระบีเป็ นชั้นบาง ๆ ก่อนนามาใช้ เพื่อทาให้หมุนลื่นขึ้น (ถ้าจุก
เป็ นเทฟลอน ไม่จาเป็ น)
2) ก่อนทาการสกัดต้องเช็คกรวยแยกก่อน ว่าจุกรั่วซึ มหรื อเปล่าด้วยตัวทาละลายอินทรี ยท์ ี่ ตอ้ งการสกัด
หรื อตัวทาละลายที่ระเหยง่าย
3) ระหว่างที่เขย่าจะมีแรงดันเกิดขึ้นในกรวยแยก ถ้าไม่ทาการลดแรงดันโดยหมุนจุกล่างให้อากาศออกทาง
จุกล่าง จะทาให้จุกของกรวยกระเด็นได้ ดังนั้น ในขณะทาการลดความดัน ไม่ควรหันปลายกรวยแยกเข้าหาเพื่อน ปกติครั้ง
แรกที่สกัดจะมีแรงดันมากที่สุดและจะน้อยลงเรื่ อย ๆ เมื่อสกัดซ้ า ๆ
รู ป 1-2 (a), (b) และ (c) วิธีการจับกรวยแยกและขณะทาการสกัด (d) การไขสารละลายออกจากกรวยแยก
ทีม่ า (ไพลิน ลิ้มตระกูล, 2546, หน้า 13)

อุปกรณ์
1. อุปกรณ์เครื่ องแก้วพื้นฐานในห้องปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ย ์
2. ชุดเครื่ องมือสาหรับกรองแบบสุญญากาศ
3. กรวยแยกขนาด 250 mL 1 อัน
4. ชามระเหย 1 ใบ
5. กระดาษกรองหรื อกระจกนาฬิกา
6. กรวยกรอง 1 อัน
7. ขวดรู ปชมพู่ 2 ใบ
8. เครื่ องให้ความร้อน
9. ขาตั้ง และวงแหวน 1 ชุด
10. แท่งแก้ว 1 อัน
11. บีกเกอร์ขนาด 50 mL 1 ใบ
12. กรวยกรอง
13. ขวดใส่สารตัวอย่าง (vial)
สารเคมี
1. ของผสมเบนโซอิกและการบูร
2. คลอโรฟอร์ม (chloroform) หรื อไดคลอโรมีเทน (dichloromethane)
3. 1 M NaOH
4. 6 M HCl
5. โซเดียมซัลเฟตปราศจากน้ า (anh.Na2SO4)

อธิบายก่ อนทดลอง: 1. เทคนิคการใช้กรวยแยกในการสกัด


2. วิธีการกาจัดน้ าโดยใช้ anh.Na2SO4 ออกจากตัวทาละลาย
3. การใช้เครื่ องการกรองแบบสุญญากาศ

รู ป 1-3 การกรองผลึกด้วยกรวยบุชเนอร์ (BÜchner) และขวดกรอง (sunction flask)


ทีม่ า (จงกลนี แก้วศรี ประกาย, 2530, 27)

การทดลอง
ก่อนการใช้กรวยแยกให้ทดสอบการรั่วซึมก่อน ด้วยไดคลอโรมีเทนหรื อคลอโรฟอร์ม 1 mL
1. นาของผสมระหว่างกรดเบนโซอิกและการบูรประมาณ 2 กรัม (รับจากอาจารย์ผสู ้ อน) มาละลายด้วยตัวทา
ละลายไดคลอโรมีเทนหรื อคลอโรฟอร์ม 20 mL ในบีกเกอร์ขนาด 50 mL หลังจากนั้นใช้แท่งแก้วคนจนของแข็งละลายหมด
2. เติม 1 M NaOH 20 mL ลงไปในสารละลายที่ได้จากข้อ (1) หลังจากนั้นถ่ายสารผสมนั้นลงในกรวยแยก เขย่า
หมุนจุกล่างเพื่อลดความดันและตั้งทิ้งไว้ให้แยกชั้นบนวงแหวน (ระวังแรงดันก๊าซภายในหลอดขณะเขย่า)
3. ไขแยกชั้นบนและชั้นล่างออกจากกันใส่ในขวดรู ปชมพูแ่ ยกกัน (อย่าลืมเปิ ดจุกด้านบน)
ชั้นบน นามาเติม 6 M HCl พร้อมกับคนไปเรื่ อย ๆ ด้วยแท่งแก้วจนกระทัง่ ได้ตะกอนสี ขาวตกลงมาให้มาก
ที่สุด แล้วนาตะกอนที่ได้มากรองโดยวิธี กรองแบบสุ ญญากาศ ดังรู ป 1-3 ล้างตะกอนด้วยน้ าหลาย ๆ ครั้ง หลังจากนั้นนา
ตะกอนที่ได้มาตกผลึกด้วยน้ ากลัน่ แล้วตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิหอ้ ง จนได้ผลึกตกลงมา นามากรองด้วยกรวยกรองบุชเนอร์ และ
ดูดให้ผลึกแห้ง ชัง่ น้ าหนักผลึกที่ได้ คานวณหาร้อยละผลิตผลที่ได้ (%yield) บันทึกผล (ส่ งผลึกกับอาจารย์ )
ชั้นล่ าง นามากาจัดน้ าออกโดยการเติม anh.Na2SO4 หลังจากนั้น กรองเอาเกลือออก ล้างด้วยไดคลอโรมีเทน
แล้วนาสารละลายที่กรองได้ (filtrate) ใส่ในชามระเหย แล้วใช้กรวยกรองคว่าปิ ดไว้ หลังจากนั้นนามาวางบนแผ่นให้ความ
ร้อน เพื่อกาจัดตัวทาละลายออก จนกระทัง่ สารละลายในชามกระเบื้องระเหยแห้งหมด แล้วทิ้งไว้ให้เย็น จะได้ของแข็งสี ขาว
ที่ผนังด้านในของกรวยกรอง รวบรวมของแข็งที่ได้ใส่ขวด vial ชัง่ น้ าหนัก บันทึกผล (ส่ งของแข็งกับอาจารย์ )
ชื่อ/นามสกุล……………………………… ………..หมู่เรี ยน……… …..เลขประจาตัวนักศึกษา…………………
อาจารย์ผสู ้ อน…………………………………………………วันที่ทาการทดลอง…..…………………………….

รายงานผลการทดลอง
เรื่อง การแยกของผสมระหว่ างกรดเบนโซอิกและการบูรให้ บริสุทธิ์
โดยวิธีการสกัดด้ วยตัวทาละลายแบบ liquid-liquid extraction

ของผสมระหว่างกรดเบนโซอิกและการบูร
ละลายของผสมด้วย ………………………..

สารละลายระหว่างกรดเบนโซอิกและการบูร
สกัดด้วยตัวทาละลาย…………………………

ชั้นบน ชั้นล่าง
ตัวทาละลาย คือ………………….. ตัวทาละลาย คือ…………………..
ตัวถูกละลาย คือ ………………… ตัวถูกละลาย คือ ……………….

เติม 6 M HCl 1. เติม……………..


เพื่อกาจัดน้ า
ตะกอนสี ขาวตกลงมาของ 2. กรอง
…………………… 3. ระเหย filtrate

ของแข็งสี……น้ าหนัก……….กรัม
ของ ………………….
กรองตะกอนและนามาตกผลึกด้วย………..

ผลึกของสารบริ สุทธิ์มีลกั ษณะ……………………………….


น้ าหนักของผลึกที่ได้………………………..กรัม ลักษณะของแข็งเป็ นอย่างไร
ของ…………………………… …………………………….

จงแสดงวิธีการคานวณหา %yield ของของแข็งได้ จากชั้นล่ าง

วิจารณ์ ข้อผิดพลาดของการทดลอง (ถ้ ามี)


คาถามท้ ายการทดลอง
1. จากการทดลอง ท่านคิดว่าของแข็งสี ขาวที่ได้จากชั้นล่างบนผิวด้านในของกรวยกรองบริ สุทธิ์หรื อไม่ เพราะ-เหตุใด
และท่านจะมีวธิ ีการยืนยันได้อย่างไร
2. ท่านจะพิสูจน์อย่างไร ว่าผลึกที่ได้เป็ นกรดเบนโซอิกจริ ง
3. ผลึกและของแข็งแตกต่างกันอย่างไร
4. จากตาราง จงเขียนแผนผังการแยกของผสมทั้งสามชนิดให้บริ สุทธิ์

การละลาย
สาร คุณสมบัติ
ในคลอโรฟอร์ม ในน้ า
กรดเบนโซอิก ละลาย ไม่ละลาย กรด
การบูร ละลาย ไม่ละลาย กลาง
พาราคลอโรอะนิลีน ละลาย ไม่ละลาย เบส

5. การเลือกตัวทาละลายที่ใช้สาหรับการตกผลึกและการสกัด ท่านคิดว่าจะเหมือนหรื อแตกต่างกัน จงอธิบาย


6. ของผสมสาร A และ B แขวนลอยอยูใ่ นน้ า โดยสาร A ละลายได้ดีในเอทานอล ส่วนสาร B ละลายได้ดีในคลอโรฟอร์ม
ท่านจะแยกสาร A และ B ออกจากกันให้บริ สุทธิ์โดยวิธีการสกัดได้อย่างไร
7. จงเปรี ยบเทียบข้อดีและข้อเสี ยระหว่างการสกัดร้อนและการสกัดเย็นพืช
8. จงอธิบายว่า เพราะเหตุใดขณะทาการไขเก็บสารละลายที่แยกชั้น ต้องเปิ ดจุกบนของกรวยแยกก่อน
9. เพราะเหตุใดเมื่อนาน้ าและไดคลอโรมีเทนมาสกัดในกรวยแยก จะได้ไดคลอโรมีเทนอยูช่ ้ นั ล่าง
10. เมื่ อต้องกาจัดน้ าออกจากชั้นตัวทาละลายอิ นทรี ยด์ ้วยโซเดี ยมซัลเฟตปราศจากน้ า (anh.Na2SO4) ท่ า นจะทราบได้
อย่างไรว่ากาจัดน้ าออกหมดแล้ว และถ้ามีน้ าเหลืออยู่ anh.Na2SO4 จะเป็ นอย่างไร

You might also like