You are on page 1of 11

ประโยชนของนํ้าผึ้ง

จัดทําโดย
นางสาวภคพร พึ่งขุนทด เลขที่ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1

เสนอ
คุณครูวาสนา ปกสูงเนิน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย (ท32101)
ภาคเรียนที่1ปการศึกษา2565
โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครราชสีมา
อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
ประโยชนของนํ้าผึ้ง

จัดทําโดย
นางสาวภคพร พึ่งขุนทด เลขที่ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1

เสนอ
คุณครูวาสนา ปกสูงเนิน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย (ท32101)
ภาคเรียนที่1ปการศึกษา2565
โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครราชสีมา
อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
(ก)

คํานํา

รายงานเชิงวิชาการเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย(ท32101) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดยมี


จุดประสงคเพื่อศึกษาเกี่ยวกับประโยชนของนํ้าผึ้ง รวมถึง ที่มาของนํ้าผึ้ง ประเภทของนํ้าผึ้ง องคประกอบและ
ลักษณะของนํ้าผึ้ง สรรพคุณของนํ้าผึ้ง และวิธีการรับประทานนํ้าผึ้ง

ผูจัดทําจึงไดเลือก หัวขอนี้ในการทํารายงาน เนื่องมาจากเปนเรื่องที่นาสนใจ และมีประโยชนตอการ


สืบคนขอมูล จึงเปนเหตุผลที่ทําใหผูจัดทํารายงานนี้ขึ้นมา

ผูจัดทําตองกราบขอบพระคุณ คุณครูวาสนา ปกสูงเนิน ที่ใหคําปรึกษา ผูใหความรู และชี้แนะ


แนวทางและหวังวารายงาน ฉบับนี้จะใหความรูและประโยชนแกผูอาน และผูที่สนใจ

ภคพร พึ่งขุนทด
(ข)

สารบัญ

เรื่อง หนา
คํานํา (ก)
สารบัญ (ข)
ที่มาของนํ้าผึ้ง 1
ประเภทของนํ้าผึ้ง 2
องคประกอบและลักษณะของนํ้าผึ้ง 3
สรรพคุณของนํ้าผึ้ง 4-5
การรับประทานนํ้าผึ้ง 5
สรุป 6
1

ประโยชนของนํ้าผึ้ง

นํ้าผึ้งเปนอาหารหวานที่ผึ้งผลิตโดยใชนํ้าหวานจากดอกไม พืชพันธุชนิดตางๆ นํ้าผึ้งมักหมายถึงชนิดที่


ผลิตโดยผึ้งนํ้าหวานในสายพันธุ Apis เนื่องจาก เปนผึ้งเก็บนํ้าหวานใหคุณภาพสูง และสามารถเลี้ยงระบบ
กลองได นํ้าผึ้งมีประวัติการบริโภคของมนุษยมายาวนาน และถูกใชเปนสารใหความหวานในอาหารและ
เครื่องดื่มหลายชนิด นํ้าผึ้งยังมีบทบาทในศาสนาและสัญลักษณนิยม รสชาติของนํ้าผึ้งแตกตางกันตามนํ้าหวาน
ที่ไดมา และมีนํ้าผึ้งหลายชนิดและเกรดที่สามารถหาได (สาราณุกรมเสรี.2565.ออนไลน)

นํ้าผึ้งไดความหวานจากมอโนแซ็กคาไรด ฟรุกโทสและกลูโคส และมีความหวานประมาณเทียบไดกับ


นํ้าตาลเม็ดนํ้าผึ้งมีคุณสมบัติทางเคมีที่ดึงดูดในการอบ และมีรสชาติพิเศษซึ่งทําใหบางคนชอบนํ้าผึ้งมากกวา
นํ้าตาลและสารใหความหวานอื่นๆจุลินทรียสวนมากไมเจริญเติบโตในนํ้าผึ้งเพราะมีคาแอกติวิตีของนํ้าตํ่าที่ 0.6
อยางไรก็ดี บางครั้งนํ้าผึ้งก็มีเอนโดสปอรในระยะพักตัวของแบคทีเรีย Clostridium botulinum ซึ่งอาจเปน
อันตรายตอทารก เพราะเอนโดสปอรสามารถแปลงเปนแบคทีเรียที่ผลิตชีวพิษในทางเดินอาหารที่ยังไมเจริญ
เต็มที่ของทารก ซึ่งทําใหเกิดความเจ็บปวยและอาจถึงแกชีวิต (สุภนันท.2559:19)

ที่มาของนํ้าผึ้ง

นํ้าผึ้งเปนนํ้าหวานที่ไดจากดอกไมซึ่งประกอบดวยนํ้าตาลซูโครส กลูโคส และฟรักโทสเปน


สวนประกอบหลัก โดยผึ้งงานจะเก็บสะสมนํ้าหวานจากดอกไมไวในรังผึ้ง และผึ้งจะสรางและปลอยเอนไซมที่
ชื่อวา “invertase” ลงไปในนํ้าหวานที่เก็บมาจากดอกไม ซึ่งจะทําใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนโครงสรางทาง
กายภาพและโครงสรางทางเคมีของนํ้าหวานจากดอกไมเอนไซม invertase จะเปลี่ยนนํ้าตาลซูโครสซึ่งเปน
ไดแซ็กคาไรด ใหเปนนํ้าตาลกลูโคสและนํ้าตาลฟรักโทสซึ่งเปนมอนอแซ็กคาไรด และสวนหนึ่งของกลูโคสที่มี
อยูในนํ้าหวานจากดอกไมก็จะเกิดปฏิกิริยาเคมีกับเอนไซม glucose oxidase ที่สรางจากผึ้ง โดย glucose
oxidase จะเปลี่ยนกลูโคสไปเปนกรดกลูโคนิค (gluconic acid) และ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด
(hydrogen peroxide)กรดกลูโคนิคจะทําใหนํ้าผึ้งมีความเปนกรดเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเปนสภาวะที่ ไมเหมาะตอการ
เจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรียหลายชนิด ในขณะเดียวกันไฮโดรเจนเปอรออกไซดก็มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโต
ของเชื้อจุลินทรียบางชนิดไดเชนกัน สวนความหนืดของนํ้าผึ้งนั้นเกิดจากการที่นํ้าที่อยูในนํ้าหวานจากดอกไม
ระเหยออกจากชองเก็บนํ้าผึ้งในรังผึ้ง ดวยการกระพือปกของผึ้งภายในรังซึ่งชวยทําใหนํ้าระเหยออกจาก
นํ้าหวานไดเร็วขึ้น จึงทําใหนํ้าผึ้งมีความเขมขนมาก ซึ่งสภาวะดังกลาวจะไมเหมาะกับการเจริญของ
2

เชื้อจุลินทรียชนิดตางๆ จะเห็นไดวาผึ้งมีวิธีการที่ทําใหนํ้าหวานที่เก็บจากดอกไมเปลี่ยนสภาพทั้งโครงสรางทาง
กายภาพและโครงสรางทางเคมีไดอยางนามหัศจรรย (สุทธิพงษ.2553.ออนไลน)

ประเภทของนํ้าผึ้ง

1.นํ้าผึ้งปา
นํ้าผึ้งปา ไดจากรังผึ้งพื้นเมือง เชน ผึ้งหลวง ผึ้งโพรง และผึ้งมิ้ม เปนนํ้าผึ้งที่ไดมาจากเกสรดอกไมหลากหลาย
ชนิด ขอดอยของนํ้าผึ้งปาก็คือไมสามารถแยกชนิดของดอกไมหรือพืชที่ผึ้งไปเก็บนํ้าหวานมาได นิยมหารังผึ้ง
จากปาในชวงเดือน มีนาคม ถึง เดือนเมษายน ของทุกป เพื่อใหไดนํ้าผึ้งที่มีความชื้นตํ่าและมีรสหวานมาก การ
คั้นหรือบีบเพื่อแยกนํ้าผึ้งออกจากรวงผึ้งอาจมีซากตัวผึ้งหรือซากตัวออนผึ้งปะปนออกมาทําใหนํ้าผึ้งปรกมี
สิ่งเจือปน เปนสาเหตุทําใหบูดเสียได นอกจากนั้นนํ้าผึ้งปายังมีความชื้นสูง มีโอกาสตกผลึกไดงาย มีราคาแพง
เพราะหายาก แตมีขอดีคือเปนนํ้าผึ้งแทบริสุทธิ์ 100% จากธรรมชาติ
2.นํ้าผึ้งเลี้ยง
นํ้าผึ้งเลี้ยง เปนการนําพันธุผึ้งจากตางประเทศ เชน ยุโรป มาเลี้ยงโดยทั่วไปการเลี้ยงผึ้งแบงออกเปน 3
รูปแบบ ไดแก การเลี้ยงแบบปลอยไวตามธรรมชาติ การเลี้ยงแบบกึ่งธรรมชาติ และการเลี้ยงในหีบมีคอนซึ่งแต
ละรูปแบบ มีวิธีการที่แตกตางกัน ดังนี้
การเลี้ยงแบบปลอยไวตามธรรมชาติ หมายถึง เมื่อพบวามีผึ้งมาเกาะอาศัยในโพรงตามบริเวณตาง ๆ เมื่อ
สังเกตเห็นวามีนํ้าผึ้งพอสมควรก็สามารถตัดกลีบรัง หรือตัดรวงผึ้งบางสวน เอานํ้าหวานมาใชประโยชนได วิธีนี้
ยังชวยใหไดนํ้าหวานจากรวงผึ้งอยางตอเนื่อง
การเลี้ยงแบบกึ่งธรรมชาติทําไดหลายรูปแบบ เชน การทํารังเลี้ยงใหเพื่อเปนที่อยูของผึ้ง อาจไมกระดานมาตอ
เปนลังสี่เหลี่ยม ใหมีขนาดกวาง ยาว สูง ตามสมควร ปดหัวทายใหมิดชิด ดานหนาเจาะเปนรูขนาดโตเทาหัวแม
มือสัก 1-2 รู พอผึ้งเขาออกได การหาผึ้งมาเลี้ยงในรังเลี้ยงแบบกึ่งธรรมชาตินี้ อาจหาไขผึ้งบริสุทธิ์มาทาดานใน
หีบ แลวนําไปตั้งลอไวในที่ที่เราเห็นวาผึ้งนาจะมาทํารังอาศัยอยู หรือนําผึ้งพันธุที่ตองการเลี้ยงไปปลอยไวในรัง
ที่ทําและมีการทาไขผึ้งเอาไว
การเลี้ยงในหีบมีคอน เปนวิธีการเลี้ยงสมัยใหมที่นิยมกันมาก โดยหีบที่ใชเลี้ยงผึ้งมีลักษณะเปนหีบทึบ ดานหนา
มีรูเขาออกของผึ้งอยูสวนลาง ดานบนทําเปนฝาปดเปดได ขางในหีบทางดานหนาและดานหลังใชไมระแนงตียึด
ใหตํ่าลงมาจากขอบหีบ เพื่อเปนคานใหสามารถวางคอนไดในภายหลัง ซึ่งการเลี้ยงในหีบมีคอน เปนการ
ดัดแปลงจากสภาพความเปนอยูตามธรรมชาติของผึ้ง (สุวรรณฟารม.2562.ออนไลน)
3

องคประกอบและลักษณะของนํ้าผึ้ง

ลักษณะของนํ้าผึ้งที่ดีจะตองขนหนืด มีความใสและโปรงแสง สะอาด ไมมีตะกอนหรือสิ่งเจือปน ไมมี


ไขผึ้ง ไมมีฟอง กลิ่นตองเปนกลิ่นหอมของเกสรดอกไม ไมเหม็นหืน หรือมีกลิ่นบูดเปรี้ยว
นํ้าผึ้งเปนสารผสมของนํ้าตาลกับสารประกอบอื่น นํ้าผึ้งสวนใหญเปนฟรุกโทส (ราว 38.5%) และกลูโคส (ราว
31.0%) ทําใหนํ้าผึ้งคลายกับนํ้าเชื่อมนํ้าตาลอินเวิรท (inverted sugar syrup) ที่ผลิตเชิงสังเคราะห ซึ่งมี
ปริมาณฟรุกโทส 48% กลูโคส 47% และซูโครส 5% คารโบไฮเดรตที่เหลือในนํ้าผึ้งมีมอลโทสและ
คารโบไฮเดรตซับซอนอื่น ๆ เชนเดียวกับสารใหความหวานที่บํารุงสุขภาพทุกชนิด นํ้าผึ้งสวนใหญเปนนํ้าตาล
และมีวิตามินหรือแรธาตุอยูเล็กนอยนํ้าผึ้งยังมีสารประกอบหลายชนิดในปริมาณนอยซึ่งคาดกันวาทําหนาที่เปน
สารตานอนุมูลอิสระ รวมถึงไครซิน พิโนแบคซิน วิตามินซี คาตาเลสและพิโนเซมบรินองค ประกอบที่เจาะจง
ของนํ้าผึ้งแตละกลุมนั้นขึ้นอยูกับดอกไมที่ผึ้งใชผลิตนํ้าผึ้ง (ลิมป.2555:39)

ภาพที่ 1 องคประกอบเคมีของสายนํ้าผึ้ง
ที่มา : https://www.disthai.com
4

สรรพคุณของนํ้าผึ้ง

นํ้าผึ้ง นอกจากจะมีรสชาติหวาน สามารถเพิ่มความอรอยใหกับอาหาร และเมนูขนม ตลอดจน


เครื่องดื่มตาง ๆ ไดดีแลว ประโยชนของนํ้าผึ้ง ยังมีอีกมากมายที่หลายคนอาจคาดไมถึงเลยทีเดียว เพราะใน
นํ้าผึ้ง อุดมไปดวยวิตามิน และแรธาตุที่มีประโยชนตอรางกาย ซึ่งประโยชนของนํ้าผึ้ง จะมีอะไรบาง และควร
ทานอยางไรเพื่อใหไดรับประโยชนอยางสูงสุด โดยไมเกิดผลเสีย ดังนี้

1.ทานกอนอาหาร
1 ชั่วโมง การทานนํ้าผึ้งใหไดประโยชน ควรทานกอนอาหาร 1 ชั่วโมง ซึ่งจะชวยกระตุนการดูดซึมสารอาหาร
ในกระเพาะอาหารไดเปนอยางดี หรือหากทานกอนนอนก็จะชวยใหนอนหลับสบายยิ่งขึ้นอีกดวย โดยวิธีการ
ทานใหผสมนํ้าผึ้งในนํ้าอุนเล็กนอย จากนั้นจิบเรื่อย ๆ จนหมดแกว

2.ใชแทนนํ้าตาล
ทานนํ้าผึ้ง โดยนํามาใชเปนสารใหความหวานแทนนํ้าตาล ดวยการใสนํ้าผึ้งลงไปในกาแฟ นํ้าผลไม ใสในอาหาร
บางชนิด หรือใชทาขนมปงแทนแยม ซึ่งนอกจากจะไดรสชาติที่อรอยโดนใจแลวก็ไมทําใหอวน หรือเสี่ยง
เบาหวานอีกดวย แตก็ไมควรใสมากกินไป เพราะนํ้าผึ้งเมื่อทานมากก็อาจกอใหเกิดโทษเชนกัน

3.เพิ่มความสดชื่น
นํ้าผึ้งมีสวนชวยในการเพิ่มความสดชื่นใหกับรางกายไดอยางดีเยี่ยม โดยเฉพาะหลังตื่นนอนตอนเชา และชวง
บายที่กําลังรูสึกออนเพลียจากการทํางาน โดยใหนํานํ้าผึ้งมาผสมกับนํ้าอุน จิบเรื่อย ๆ หรือหากรูสึกเบื่อก็อาจ
เปลี่ยนเปนผสมในเครื่องดื่มชนิดอื่น เชน นํ้าผลไม

4.บํารุงผิว
นํ้าผึ้งมีคุณสมบัติในการบํารุงผิวพรรณใหเปลงปลั่ง สดใส และดูเนียนสวยอยางเปนธรรมชาติ ซึ่งอาจบํารุงดวย
การทาน หรือนํามาผสมกับสมุนไพรอื่น ๆ ทําเปนครีมพอกหนาก็ได
รักษาอาการหวัด
เมื่อปวยดวยไขหวัด การทานนํ้าผึ้งผสมกับนํ้าอุน 1 แกวเปนประจําทุกเชา หรือกอนนอน จะชวยรักษาอาการ
หวัดใหหายเร็วขึ้น หรือในคนที่มีอาการไอ เจ็บคอรวมดวย การจิบนํ้าอุนผสมนํ้าผึ้งบอย ๆ ก็จะชวยลดอาการ
ไอไดดีเหมือนกัน แตถาอยากไดความชุมคอ แนะนําใหผสมนํ้ามะนาวลงไปเล็กนอย ก็จะทําใหรูสึกดีขึ้น
5

5.รักษาโรคเบาหวาน
เมื่อปวยดวยโรคเบาหวาน แพทยจะหามไมใหทานนํ้าตาล หรืออาหารที่มีรสชาติหวานเด็ดขาด แตสําหรับ
นํ้าผึ้งถือเปนขอยกเวนอยางหนึ่ง เพราะนํ้าผึ้งสามารถรักษาอาการปวยเบาหวานไดดี เพียงแคนํานํ้าผึ้ง 250
กรัม มาผสมกับสาลี่หอมที่ตําละเอียดแลว 5 ลูก จากนั้นตมจนเหนียวแลวนํามาผสมกับนํ้าดื่มเปนประจํา ก็จะ
ทําใหอาการปวยเบาหวานคอย ๆ ทุเลาลง และหายเร็วยิ่งขึ้นเมื่อทําการรักษาควบคูไปกับการรักษาทางแพทย

6.แกอาการทองผูก
หากใครมีอาการทองผูกบอย ๆ ไมจําเปนตองทานยาระบายใหเสี่ยงตอสุขภาพ เพราะนํ้าผึ้งมีฤทธิ์ ที่จะชวยแก
อาการทองผูกไดเหมือนกัน โดยใหนํากลวยนํ้าวาสุกมาจิ้มนํ้าผึ้งแลวทานตามปกติ แนะนําใหทานเปนประจําใน
ตอนเชาหลังตื่นนอน แลวอาการทองผูกจะไมมากวนใจอยางแนนอน แถมยังชวยใหระบบขับถายทํางานได
อยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอีกดวย

7.ใสในนํ้าสลัดเพื่อกันบูด
สําหรับใครที่ทํานํ้าสลัดขาย และตองเก็บไวเปนเวลานานหลายเดือน สามารถใชนํ้าผึ้งแทนสารกันบูดได โดยให
นํานํ้าผึ้งมาผสมลงไปในนํ้าสลัดเล็กนอย เทานี้ก็ไมตองกังวล ซึ่งพบวานํ้าผึ้งจะชวยใหนํ้าสลัดสามารถเก็บไวได
อยางยาวนานถึง 9 เดือนเลยทีเดียว แถมยังชวยเพิ่มรสชาติใหอรอย และหอมนาทานกวาเดิมอีกดวย
(กานพลู.2552:69)

การรับประทานนํ้าผึ้ง

ควรรับประทานนํ้าผึ้งประมาณ 6 ชอนชา หรือ 2 ชอนโตะ หรือหากมากกวานี้ก็ไมควรเกิน 10 ชอน


ชาเนื่องจากวาในแตละวัน เราจะตองไดรับนํ้าตาลจากอาหาร ผลไม เครื่องดื่ม และขนมตางๆ อีกดวย
วิธีทานนํ้าผึ้งใหอรอย และไดประโยชน
1. ผสมกับนํ้าอุนแลวดื่ม 3 เวลา กอนอาหาร 1 ชม. และกอนเขานอน
2. ทานเหมือนเปนสารที่ใหความหวานแทนนํ้าตาล เชน ใสลงไปในเครื่องดื่ม ชา นํ้าผลไม หรือทานบนขนมปง
แทนแยม เปนตน
6

ประโยชนของนํ้าผึ้ง

ในนํ้าผึ้งมีสารตานอนุมูลอิสระ เชนเดียวกับที่มีในผักใบเขียวและยังมีวิตามินบี ซี ฟอสฟอรัส


แคลเซียม เกลือแร และกรดอะมิโน ผึ้งมีสรรพคุณชําระลางบาดแผล รักษาแผล สมานเนื้อเยื่อ บํารุงหัวใจ
บํารุงกําลัง แกตรีโทษ ลดไขมัน บํารุงสายตา บํารุงผิวพรรณใหเปลงปลั่งมีนํ้ามีนวล เสริมสรางสติปญญา และ
บํารุงกําหนัด นิยมใชในการแกไอ แกหอบหืด รางกายซูบโทรม รักษาอาการบาดเจ็บ หมายถึงถูกกระทบ
กระแทกแลวรางกายบอบชํ้า ทั้งยังใชแกอาเจียน แกสะอึก วิงเวียน มึนงง แกทองเสีย (ใชนํ้าผึ้งเกา) แกอาการ
เลือดออกงาย แกกระหาย เปนลม รักษาโรคเกี่ยวกับตา แกพิษ และรักษาโรคพยาธิ เปนตน เวลาใชจริงสวน
ใหญมักไมใชนํ้าผึ้งอยางเดียว จะผสมในยากวนบาง ผสมในยาดอง หรือไมก็ใชเปนกระสายยา และยังใชนํ้าผึ้ง
ผสมเพื่อใหกินงายขึ้นนํ้าผึ้งในตํารับยาไทยสวนนํ้าผึ้งในตํารับยาไทยนั้นมีการใชคลายกันกับการใชของทาง
อายุรเวทคือใชเปนนํ้ากระสายยา ใชแตงรสยาและใชเปนนํ้าผึ้งชวยแตงรสยา นํ้าผึ้งมีรสหวานฝาด รอน
เล็กนอย มีสรรพคุณชวยบํารุงกําลัง บํารุงธาตุ แกปวดหลัง ปวดเอว ทําใหแหง ใชทํายาอายุวัฒนะ เราใชนํ้าผึ้ง
แตงรสยาบางชนิด เชน ยาแกไขที่มีรสขมมาก จนผูปวยกินไมได เราตองใชนํ้าผึ้งผสมใหมีรสหวานนิดหนึ่ง รส
ยาก็จะอรอยขึ้น และชวยชูกําลัง ซึ่งนํ้าผึ้งเขาไดกับตํารับยาทุกชนิดนํ้าผึ้งหนึ่งในนํ้ากระสายยานํ้ากระสายยาคือ
สวนผสมหนึ่งของตํารับยาไทย ที่ชวยใหตัวยาออกฤทธิ์ไดเร็วขึ้น ซึ่งมีหลายชนิด เชน จากพืช (นํ้ามะนาว) จาก
ธาตุ (เปลือกหอยนํามาฝนกับนํ้า) จากสัตว (งาชาง)นํ้าผึ้งที่ถือเปนนํ้ากระสายยาตัวหนึ่งที่มีฤทธิ์แรงทําใหตัวยา
ดูดซึมเร็วขึ้น ชวยกระตุนการทํางานของไต และกระจายเลือด ซึ่งทําใหผูปวยมีกําลังมากขึ้น หรือบางครั้งนํา
นํ้าผึ้งมาผสมกับยาปนเปนลูกกลอน แตผูปรุงยาควรนํานํ้าผึ้งไปเคี่ยวใหเดือดเพื่อฆาเชื้อโรค มิฉะนั้น ยา
ลูกกลอนจะขึ้นราภายหลังผูปวยที่ไมควรกินนํ้าผึ้งตามหลักการแพทยแผนไทยแลว นํ้าผึ้งมีประโยชนมากมายก็
จริง แตสําหรับผูปวยบางราย แนะนําวาไมควรกินนํ้าผึ้งแบบเขมขนโดยไมผสมอะไรเลยและไมควรกินนํ้าผึ้งใน
ปริมาณมากเกินไป ประเภทครั้งละครึ่งแกวไมดีแน อยางเกงแคครั้งละ 1 - 2 ชอนชา
บรรณานุกรม

กานพลู.(2552).100สูตรมหัศจรรยนํ้าผึ้ง.พิมพครั้งที่2.กรุงเทพฯ:บิชซี่เดย.
ลิมป.(2555).มหัศจรรยนํ้าผึ้ง.พิมพครั้งที่5.กรุงเทพฯ:ริชชิ่ง.
สารานุกรมเสรี.(2565).(ออนไลน).แหลงที่มา:https://th.wikipedia.com.27 สิงหาคม 2565
สุภนันท มงคลการ.ประโยชนมหัศจรรยนํ้าผึ้ง.พิมพครั้งที่2.กรุงเทพฯ:อมรินทรสุขภาพ.
สุวรรณฟารม.(2565).(ออนไลน).แหลงที่มา:https://suwanfarmphueng.com.27 สิงหาคม 2565

You might also like