You are on page 1of 6

สมบัตขิ องสารประกอบอินทรีย์

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์

1. แรงลอนดอน
(London force)
แรงยึดเหนี่ยว 2.แรงดึงดูด
ระหว่าง ระหว่างขั้ว
3. พันธะไฮโดรเจน

(Hydrogen

>>สารประกอบแอลดีให้ทมี่ ีโมเลกุลต่างจะสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้

>เอมีนมีสภาพขั้วไฟฟ้าต่ำกว่าแอลกอฮอล์จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลทีม่ ีความแข็งแรงน้อยกว่าแอลกอฮอล
การละลายน้ำของสารประกอบอินทรีย์
1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนได้แก่ แอลเคน แอลคีน แอลไคน์และอาโรมาติก
ไฮโดรคาร์บอนเป็นโมเลกุลไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ
2.สารประกอบอินทรีย์ที่มีขวั้ จะสามารถละลายน้ำได้แต่การละลายน้ำจะลดลงเมื่อจำนวนอะตอมของคาร์บอนเพิ่ม
ขึ้นเนื่องจากบริบูรณ์มีขนาดใหญ่ขึ้นและมีสว่ นที่ไม่มีขั้วมากขึ้นทำให้สภาพพวกของโมเลกุลลดลง
เรียงลำดับความสามารถในการละลายน้ำของสารต่อไปนี้จากมากไปน้อย

จุดเดือดและจุดหลอมเลวของสารประกอบอินทรีย์
>จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของแอลเคนโซ่ตรง

> การเปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของเฮกเซนโซ่ตรงและโซ่กิ่ง

> การเปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของแอลเคนและไซโคลแอลเคน
> จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของแอลคีนโซ่ตรง

> จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของแอนคล้ายโซ่ตรง

>จุดเดือดและจุดหลอมเลวของสารประกอบอินทรีย์เมื่อมีจำนวนอะตอมคาร์บอนเท่ากัน
ความเป็นกรดเบสของสารประกอบอินทรีย์
>> ตามทฤษฎีกรดเบสของลิวอิส
กรด คือสารทีร่ ับคู่อิเล็กตรอน
เบส คือสารทีส่ ามารถให้คู่อิเล็กตรอน
แนวโน้มความเป็นกรดกระสูงขึ้นเมื่อกรดนั้นมีหมู่ดึงอิเล็กตรอน
แนวโน้มความเป็นเบรกจะสูงขึ้นเมื่อเบสนั้นมีหมู่ให้อิเล็กตรอน

ความเป็นกรดของคาร์บอกซิลิก ฟีนอลและแอลกอฮอล์
กรดคาร์บอกซิลิก

ฟีนอล

แอลกอฮล์

ความเป็นกรด กรดคาร์บอกซิลิก > ฟีนอล > แอลกอฮอล์


การเกิดปฏิกิรยิ ากับโซเดียม

การเกิดปฏิกิรยิ ากับ NaOH

การเกิดปฏิกิรยิ ากับ NaHCO3

1. แอลกอฮอร์เป็นกรดที่อ่อนมากต้องใช้เบสที่แรงมาก เช่น Na,K,NaH,NaNH2 ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยาได้


2. ความแรงของความเป็นกรดของแอลกอฮอล์

3. ความแรงของกรดคาร์บอกซิลิกถ้ากดคาร์บอกซิลิกมีหมู่ดึงอิเล็กตรอนอยู่ความเป็นกรดจะสูงขึ้น
หมู่ดึงอิเล็กตรอนอยู่ใกล้ มาก ความเป็นกรดกระสูงขึ้น
มีจำนวนหมู่ดงึ อิเล็กตรอนมากความเป็นกรดจะสูง
4. ความแรงของกรดอะโรมาติกถ้ามีหมู่ดึงอิเล็กตรอนจะทำให้มีความเป็นกรดที่สูงขึ้น
ความเป็นเบสของเอมีน

1. ลำดับความเป็นเบสของเอมีนคือ

2. ผลของเรโซแนนซ์จะทำให้ความเป็นเบสลดลงเพราะอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนอะตอมบนวงอโร
มาติกจะใช้เพื่อเรโซแนนซ์เข้าไปในวงจึงเกิดการสร้างพันธะกับ H+ ได้ยากความเป็นเบสจึงน้อยมาก

3. มีหมู่มาเกาะกับไนโตรเจนอะตอม
หมูพี่ให้อิเล็กตรอนจะเพิ่มความเป็นเบส
หมูพี่ดึงอิเล็กตรอนจะลดความเป็นเบส

You might also like