You are on page 1of 69

การเสริมแรงจูงใจ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

บทบาทหน้าที่วิทยากรกระบวนการ
ทักษะและเทคนิคสาหรับวิทยากรกระบวนการ

ก้องเกียรติ อุเต็น
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยในโรคจิตจากสารเสพติด โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่
ชอบอิสระ
มีความอยากรู้อยากเห็น

ต้องการการยอมรับ
ธรรมชาติของคน
เป็นทั้งผู้สร้างและผู้ทาลาย ยากแท้หยั่งถึง ชอบพูดมากกว่าฟัง

สนใจตนเอง
ต้องการความสะดวก
มากกว่าคนอื่น
ความต้องการของมนุษย์
ธรรมชาติของจิตใจ

ความคิดทางบวกสามารถโน้มนําความรู้สึก ภาวะอารมณ์ทางบวกได้
•อารมณ์ทางใด ก็โน้มนําความคิดในทางเดียวกัน
•อารมณ์ใดๆ ก็จะรบกวนการทํางานของความคิดเสมอ
• ความทุกข์ใจที่พบบ่อย - ความวิตกกังวล ความเสียใจ ความโกรธ
• ความคิด แสดงออกทางวาจา (verbal) และ ภาษากาย (non verbal)
พฤติกรรม

อารมณ์

ความคิด
แรงจูงใจ (Motivation)
เกิดจากความต้ องการ (Needs) ของมนุษย์ จึงเป็ นแรงกระตุ้น
ผลักดันให้ เกิดการใช้ สิ่งจูงใจ(Motivation) เพื่อให้ บุคคลมีพฤติกรรม
อย่ างใดอย่ างหนึ่ง
ทำไมต้องสร้ำงแรงจูงใจ ?

เพื่อช่ วยกระตุ้น ผลักดัน ชักจูง


ใ ห้ บุ ค ค ล ท ำ ห รื อ ไ ม่ ท ำ
พฤติ ก รรม ไปในแนวทำงใด
แนวทำงหนึ่ง
สถำนกำรณ์ท่กี ระตุน้ ให้เกิดแรงจูงใจ

• ระดับของควำมเครียด
• วิกฤติกำรณ์ในชีวติ
• ผลเสียที่เกิดจำกพฤติกรรมของตนเอง
• กำรได้รบั รำงวัล/กำรถูกลงโทษ
• ท่ำทีของผูร้ กั ษำ
ทาไมผู้ป่วยสุ รา/สารเสพติดไม่ มแี รงจูงใจ ?

ฤทธิ์ที่ดขี องสุ รา/สารเสพติดเกิดในช่ วงต้ น


ไม่ คดิ ถึงผลเสี ยที่เกิดในระยะยาว
การเรียนรู้ แบบทดลองกับตนเองและสั งเกตจากเพื่อน
ข้ อมูลทีผ่ ดิ และข้ อสรุปทีผ่ ดิ
คิดและรู้ สึกว่ าตนเองควบคุมการใช้ สุรา/สารเสพติดได้
สร้ำงแรงจูงใจให้ดี ต้องทำอย่ำงไร

ทำตำมกระบวนกำรให้กำรปรึกษำ
แรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลง
Motivation for Change

แรงกดดัน แรงจูงใจ
(compulsion)
มาจากภายนอก
(motivation)
ครอบครัว มาจากภายใน
หน่ วยงาน
กฎหมาย
ทฤษฎีการรับรูต
้ นเอง
Self-perception Theory

“ฉันคิดสิ่ งนั้น”  “ฉันเป็ นสิ่ งนั้น ” (คิดดี คิดบวก)


“หากฉันได้คุยกับตนเอง (self-talk) ฉันก็ได้เรี ยนรู ้ในสิ่ งที่ฉนั เชื่อ” (เชื่อตนเอง)
ศักยภาพในตน Self-Efficacy
ผลสาเร็จจากการกระทาความสาเร็จในอดีต

ประสบกำรณ์ จำกกำร
สุ ขภำพกำยและใจพร้ อม
สั งเกต
อำรมณ์ ควำมรู้ สึกทีต่ อบสนอง
แบบอย่ ำงจำกผู้อื่น

กำรพูดชักชวน และจูงใจ
กำรฝึ กสอน และกำรให้ ข้อมูลสะท้ อนกลับ
Motivational Interviewing is
Client-centered & Goal-directed Counseling
Miller WR & Rollnick S, 1991

Goal-directed:
Target behaviors

การเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยูก่ บั แรงจูงใจ


Client-centered: บังคับไม่ได้ แต่จูงใจได้
Motivation โดยมีเป้าหมายที่ชดั เจน
Evocation
 open-ended question
 กระตุน้ เร้ำให้สนใจ คิดพิจำรณำ และลงมือกระทำ ถำม มำกกว่ำ พูด แนะนำ
Evocation
Empathy open ended
question

 reflection/summaries Collaboration
 Affirmations
Empathy Collabor-
 รับฟัง เห็นอกเห็นใจ เข้ำใจ reflection/
Summaries
MI ation
Affirmations

 จุดที่ผูร้ บั คำปรึกษำยืนอยู่
Spirit  ร่วมมือกันมำกกว่ำ แนะนำสัง่ กำร
Autonom
 มองว่ำขำดข้อมูล จึงไม่เปลี่ยนแปลง y  ถำม สะท้อน ชื่นชม สรุป
Client
Centered

Autonomy
 client-centered
 เริ่มต้นจำกผูร้ บั คำปรึกษำ เลือก ตัดสินใจ และกระทำด้วยตนเอง ไม่สำมำรถบังคับ หรือทำแทนได้
 พยำยำมมองหำต้นทุน ประสบกำรณ์ มุมมอง เหตุผลในกำรเปลี่ยนแปลง หรือศักยภำพของผูร้ บั คำปรึกษำ
ขัน้ ตอนของกำรเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
Stage of Change (Prochaska & DiClemente)

1. ขัน้ เมินเฉย (Pre-contemplation)


2. ขัน้ ลังเลใจ (Contemplation)
3. ขัน้ ตัดสินใจ (Determination or preparation)
4. ขัน้ ลงมือแก้ไข (Action)
5. ขัน้ กระทำต่อเนื่ อง (Maintenance)
6. ขัน้ กลับไปติดซ้ำ (Relapse)
 แรงจูงใจเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
 Staged approach
 Relapse เป็ นเรื่ องปกติ
Stage Approach
ขัน้ เมินเฉย Feedback /ให้ขอ้ มูล

ขัน้ ลังเลใจ คุยข้อดีขอ้ เสีย

ขัน้ ตัดสินใจ ทำงเลือก เลือกอิสระ ควำมรับผิดชอบ เรำทำได้

ขัน้ ลงมือแก้ไข ช่วยให้กระทำได้ต่อเนื่ อง

ขัน้ กระทำต่อเนื่ อง ป้ องกันกำรกลับดื่ม/เสพซ้ำ

ขัน้ กลับไปติดซ้ำ ช่วยให้รบี ตัง้ หลักได้ ให้ควำมหวัง กำลังใจ

น.พ.พิชัย แสงชาญชัย
ทักษะทีผ่ ูใ้ ห้คำปรึกษำใช้ (OARS)

ถามคาถามปลายเปิ ด (Open-ended questioning)


ชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation)
ฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ (Reflective listening)
สรุ ปความ (Summarization)
การจัดการกับแรงต้าน
Handling Resistance
แรงต้านในการเปลีย่ นแปลง Resistance Talk

Advantages of status quo –ข้อดีของสุ รายาเสพติด


“สุ รา ยาเสพติด ช่วยคลายเครี ยด”
Disadvantage of change - ข้อเสี ยของการเลิกสุ รายาเสพติด
“ถ้าเลิก ดื่มสุ รา ยาเสพติด ก็จะนอนไม่หลับ”
 ระลึกว่า แรงต้านเป็ นเรือ่ งปกติ
Intention not to change - ความไม่ต้ งั ใจที่จะเปลี่ยนแปลง  แท้จริง สองจิตสองใจ
 บอกทิศทางของการพูดคุย
“อีกไม่นานก็ตายแล้ว ช่วงนี้ขอ ดื่ม เสพ ต่อไปก่อน”  เตือนใจให้เปลีย่ นกลยุทธ์

Pessimism about change - มองการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ


“ครั้งนี้กค็ งเลิกไม่สาเร็ จ เพราะเคยเลิกมาหลายครั้งแล้ว”
การจัดการกับแรงต้าน Handling Resistance

การฟังอย่างตั้งใจและสะท้อนความ (Reflective listening)


การเปลี่ยนจุดเน้น หรื อเปลี่ยนเรื่ องคุย (Shifting focus)
ความรับผิดชอบในตน (Responsibility or personal choice) -
การตัดสิ นใจอยูท่ ี่คุณ
การมองเชิงบวก (Reframing) - ใช่....แต่..., ...ในขณะเดียวกัน
.....
การขัดเพื่อให้แย้ง (Paradoxical challenge)
การคุยพร้อมญาติ MI conjoint session

สร้างสัมพันธ์กบั ญาติ
ญาติเห็นความสาคัญในการเข้าไปช่วยเหลือผูป้ ่ วย
ส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือในครอบครัว
ญาติจูงใจผูป้ ่ วย
การจากัดการมีส่วนร่ วมของญาติ
กำรช่วยเหลือผูเ้ สพ/ติดสำรเสพติด

- สำรเสพติดและผลกระทบ
- บุคลำกร - วิธีกำรช่วยเหลือ
- ทัศนคติ
เมื่อควำมคำดหวัง
ไม่ตรงกับควำมเป็ นจริง
ยาเสพติด
มีพษิ ถึงตาย
หลายคนซื้อชีวติ ด้ วยยา
แต่ ...บางคนกลับใช้ ยาเพื่อทาลายชีวติ
สำรเสพติด
หมำยถึง สำรใดๆ ก็ตำมเมื่อนำเข้ำสูร่ ่ำงกำยโดยวิธใี ดก็ตำมแล้ว ออกฤทธิ์ต่อ
ร่ำงกำย จิตใจ หำกใช้สำรนั้นๆ เป็ นประจำจะเกิดผลดังนี้
1. เกิดอำกำรดื้อยำ
2. เกิดอำกำรขำดยำ
3. พยำยำมทุกวิถที ำงในกำรนำสำรนั้นมำใช้ให้ได้
4. เกิดอันตรำยต่อตนเอง ครอบครัว ผูอ้ น่ื สังคม
การแบ่ งประเภทสารเสพติดตามผลต่ อจิตประสาท
สารเสพติดที่เปลีย่ นแปลง...

อำรมณ์ ควำมคิด พฤติกรรม


เรียกว่ า“การออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท” แบ่ งเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
กด กระตุน้ หลอน ผสมผสาน
ขึน้ อยู่กบั ฤทธิ์ยาทีม่ ีผลต่ อระบบประสาทส่ วนกลางในสมอง
สารกดประสาท
ตัวอย่าง เช่น
ทาให้สมองสั ่งงานช้าลง • ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ
ใช้ปริมาณไม่มากจะง่วงซึม เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย
เกิดความมึนเมาจากการใช้ยา ทินเนอร์ กาว
เกินขนาด ถ้าใช้มากอาจทาให้ • ทาให้อ่อนเพลีย ซุบซีด อารมณ์
หมดสติ เปลี่ยนแปลงง่าย

แอลกอฮอล์ สารระเหย ยานอนหลับ


ดอร์มีคุม วาเลี่ยม ซาแนกซ์
สารกระตุน้ ประสาท
กระชุ่มกระชวย สมาธิดี ตัวอย่าง เช่น
ไม่หิวไม่เหนื่อย กระสับกระส่าย • แอมเฟตามีน ยาบ้า ยาอี
ตืน่ ตระหนก หัวใจเต้นเร็วมาก กระท่อม โคเคน
อุณหภูมิรา่ งกายสูงขึ้นมาก
หวาดระแวง หูแว่ว หัวใจวาย

ยาไอซ์
ยาบ้า
กระท่อม
สารหลอนประสาท
เกิดเสียง ภาพลวงตา กลิ่น ตัวอย่าง เช่น
สัมผัสที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง ถ้าเสพ • แอลเอสดี เห็ดขี้ควาย
ปริมาณไม่มากทาให้เพลิดเพลิน
แต่เสพในปริมาณมากจะเกิด
อาการมึนเมาและอาการหลอน
เห็ดขี้ควาย

กระดาษเมา (แอล เอส ดี)


ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรติดเสพติด
กรรมพันธุ์ สารเคมีในสมอง
ผลของสารต่อสมอง ชีววิทยา
ความแรง ชนิดของสาร BIO
การเลี้ยงดู อาชีพ
จิตใจ สังคม เพื่อน งาน
PSYCHO SOCIAL สถานที่หายาได้ง่าย
ปัญหาครอบครัว
บุคลิกภาพ อารมณ์เศร้า
เครี ยด จิตใจ อ่อนไหว ถูกชักจูงง่าย
วิธีกำรเสพยำบ้ำ
ระยะของกำรเสพติด 4 ระยะ

1. ระยะเริ่มทดลอง Introductory stage


2. ระยะเสพต่ อเนื่อง Maintenance stage
3. ระยะเสพติด Disenchantment stage
4. ระยะวิกฤต Disaster stage
ระยะของกำรเลิกสำรเสพติด 4 ระยะ
ระยะขาดยา Withdrawal stage
3-10 วัน
ระยะหยุดเสพช่ วงแรก Honeymoon stage
2-6 สั ปดาห์
ระยะเลิกเสพต่ อเนื่อง The wall stage
6-20 สั ปดาห์
ระยะปรับตัวคลีค่ ลาย Resolution stage
4 เดือน – 1 ปี
การบาบัดรักษาผู้ตดิ สารเสพติด 4 ขั้นตอน

1. ขัน้ เตรียมกำร
2. ขัน้ ตอนกำรบำบัดรักษำ
3. ขัน้ ตอนกำรฟื้ นฟูสมรรถภำพ
4. ขัน้ ติดตำมผลและกำรดูแลกำรรักษำ
ขั้นตอนของการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
THE STAGE OF CHANGE MODEL

Prochaska & Di Clemente 1982


ตัวอย่ำง : พฤติกรรมผูใ้ ช้สรุ ำ
ตำมขัน้ ตอนของกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
1. ขัน้ เมินเฉย (PRE-CONTEMPLATION)

• ไม่คิดถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สุรา
• สนใจเฉพาะด้านดีของการใช้สุรา
• ไม่มีความกังวลเกี่ยวกับการใช้สุรา
• ต่อต้านเมื่อพูดคุยถึงการใช้สุรา
• ไม่ยอมรับว่าการใช้สุรา ของตนเป็นปัญหา
• ไม่ยอมรับการแนะนาโดยตรงให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่
อาจยอมรับรู้ข้อมูลความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหากยังใช้สุรา
2. ขัน้ ลังเลใจ (CONTEMPLATION)

• เริ่มคิดถึงการลดหรือเลิกใช้สุรา
• ยังลังเลใจเกี่ยวกับการใช้สุรา
• มองเห็นทั้งข้อดี/ไม่ดีของการใช้สุราในขณะนี้
• ตระหนักถึงปัญหาบ้าง อาจจะชั่งน้าหนักระหว่างคุณและโทษของการใช้สุรา
• ยอมพูดคุยเกี่ยวกับการใช้สุราของตน ยอมรับข้อมูล คาแนะนาให้เลิกหรือลด
• อยากจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแต่ไม่รู้ว่าจะเปลี่ยนอย่างไร หรือ ไม่มั่นใจว่า
จะสามารถทาได้
3. ขัน้ ตัดสินใจ (PREPARATION)

• ตั้งใจจะลงมือทา อาจบอกความตั้งใจให้ผู้อื่นทราบ
• เริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สุรา
• ประเมินพฤติกรรมของตนเองในขณะนี้และคิดว่าจะเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่
เป็นอย่างไร
• มีความมั่นใจมากขึ้นและพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
• พิจารณาทางเลือกต่างๆ
• กาหนดวันและกลวิธีที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
4. ขั้นลงมือทา (Action)

• ตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สุรา
• ได้เริ่มหยุด หรือลดการใช้สุรา
• ได้ลงมือทาอะไรบางอย่างเพื่อปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของตน
• ได้ลดหรือเลิกใช้สุราอย่างเด็ดขาดแล้ว
5. ขัน้ กระทำต่อเนื่ อง (Maintenance)

• พยายามที่จะคงพฤติกรรมใหม่ที่เปลี่ยนไป
• ใช้วิธีการต่างๆ เพื่อไม่ให้กลับสู่พฤติกรรมเดิมอีก
(ความเสี่ยงที่จะกลับสู่พฤติกรรมเดิมจะลดลงเมื่อเวลาผ่านไป)
• มุ่งสนใจที่สถานการณ์เสี่ยง และกลวิธีในการจัดการ
• มีทักษะเต็มที่ในการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่จะเสี่ยงให้กลับสู่พฤติกรรมเดิมอีก
• มักจะเลิกใช้สุราได้ต่อไป หากได้รับรางวัลการสนับสนุนและการยอมรับ
6. ขัน้ กลับไปทำซ้ำ (Relapse)

• คนส่วนใหญ่ที่พยายามเลิกใช้สุราจะกลับมาใช้ซ้าอีกอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
• เป็นสิง่ ที่ควรคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นและมองว่าเป็นขั้นตอนของการ
เรียนรู้มากกว่าเป็นความล้มเหลว
• เป็นเวลาที่ดีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยทบทวนแผนปฏิบัติการของตน ทั้งกรอบ
เวลา กลวิธีที่ทาแล้วได้ผลดีจริง และกลวิธีใดที่ตั้งไว้สูงเกินไปและไม่
สามารถทาได้จริง
• การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สุราจะง่ายขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละครั้งที่
พยายามจนกระทั่งประสบความสาเร็จในที่สุด
ความคิด พฤติกรรม และการช่ วยเหลือ
ตามขั้นตอนการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ขั้น ความคิด พฤติกรรม การช่ วยเหลือ
ขั้นเมินเฉย ไม่ คดิ ว่ าติด ไม่ ต้องการรักษา มาเพื่อคนอื่น ให้ ข้อมูลสะท้ อนกลับ

ขั้นลังเลใจ มันอยู่ที่ใจ ใช้ ๆหยุดๆ รักษาบ้ าง คุยข้ อดี ข้ อเสี ย


ทางเลือก เลือกอิสระ
ขั้นตัดสิ นใจ คงต้ องหยุดแล้ ว รับฟังวิธีการ ความรับผิดชอบ เราทาได้

ขั้นลงมือแก้ ไข ใช้ วธิ ีที่ได้ ผล สนใจถามวิธีแก้ ปัญหา ช่ วยให้ กระทาได้ ต่อเนื่อง

ขั้นกระทาต่ อเนื่อง อนาคตผมจะ.. ปรึกษาปัญหาอื่น ป้องกันการกลับดื่มซ้า


ช่ วยให้ รีบตั้งหลักได้
ขั้นกลับไปติดซ้า ชาตินีค้ งเลิกไม่ ได้ แน่ รู้ สึกผิด หลบเลีย่ ง ให้ ความหวัง กาลังใจ
ทัศนคติ
เทคนิคการให้คาปรึกษา

ก้องเกียรติ อุเต็น
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยในโรคจิตจากสารเสพติด โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่
การให้คาปรึกษาทางจิตวิทยา
หมายถึง กระบวนการที่ผู้ให้คําปรึกษาเอื้ออํานวยให้ผู้ที่กําลังเผชิญปัญหาต่าง ๆ
ได้ใช้ความสามารถในการพิจารณาและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ พร้อมกันนี้ ก็สามารถ
ที่จะแก้ปัญหาที่ตนเองกําลังเผชิญอยู่อย่างเหมาะสม เป็นที่พึงพอใจของตนเองและเป็น
ที่ยอมรับของสังคมปัจจุบัน
ดังนั้นการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําผิด อาสาสาสมัครคุมประพฤติซึ่งมีบทบาทเป็น
ผู้ให้คําปรึกษามีหน้าที่เอื้ออํานวยให้ผู้ถูกคุมความประพฤติได้เข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้
และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
เพื่อช่วยผู้ถูกคุมความประพฤติ ดังนี้
1. สํารวจตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจตนเอง
2. ลดความเครียดและความไม่สบายใจ
2. พัฒนาทักษะทางด้านสังคม ทักษะการตัดสินใจและทักษะการจัดการ
ปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3.เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น มีความรับผิดชอบ
ในหน้าที่ต่างๆ มากขึ้น และสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
ผู้ให้คาปรึกษาที่ดี
จาเป็นต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
๑. มีลักษณะบุคลิกภาพของผู้ให้คาปรึกษาที่ดี
๒. มีทักษะหรือเทคนิคที่จะส่งเสริมกระบวนการให้คาปรึกษา
ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บุคลิกภาพ และ การพัฒนา
ลักษณะบุคลิกภาพของผู้ให้คาปรึกษาที่ดี
1. อดทน ใจเย็น
2. ไวต่อการรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และช่างสังเกต
3. มีบุคลิกภาพที่อบอุ่น มีท่าทีเป็นมิตรไม่น่ากลัว
4. มีความจริงใจ และตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
5. มองโลกในแง่ดี
6. รักษาความลับได้
7. เป็นผู้รับฟังที่ดี
8. รู้จักใช้อารมณ์ขัน ใช้คาพูดที่เหมาะสม ช่วยแก้ปัญหา
ฟัง ถำม

เงียบ เทคนิคการ ทวนควำม


ให้คาปรึกษา

สะท้อนควำม สรุป
บทบาท หน้าที่วิทยากรกระบวนการ

เป็นครูฝึก เป็นผู้ประสานงาน เป็นผู้กระตุ้น สังเกตการณ์ และเป็นผู้สร้างบรรยากาศ

มีเป้าหมายที่ชัดเจน

มีสัมพันธภาพที่ดี สื่อสารสองทาง เอื้อให้เกิดการเรียนรู้


คาถาม /
ข้อเสนอแนะ
สาเหตุ

โอกาส

บันทึก
เสพ จำ
เริม
่ ใช้
ขาดสติ

เห็นสิ่งเร้า

จำ นึกได้
เสพ
ระยะต่อมำ
เห็นสิ่งเร้า

นึกได้

จำ
เสพ
ต่อจากนัน้ ...
ต่อมา

นึกถึง เสพ

จำ
ไม่เห็นสิง่ เร้า
ภาวะสมองติดยา
หากเสพยาบ้าเป็ นเวลานาน จะ..........

สมองหมกมุ่นเรื่ องยาเสพติด
เสพยา
โรคสมองติดยา

You might also like