You are on page 1of 14

วิทยาศาสตร์ ม.

5
กฎของ เคอร์ชอฟฟ์
กฎของเคอร์ชอฟฟ์
กฎของ เคอร์ชอฟฟ์ นั้นสามารถแยกได้เป็นสองข้อหลักๆ คือ
1. กฎทางด้านกระแสไฟฟ้า (Kirchhoff’s Current Law, KCL)
“ กระแสไฟฟ้าที่ ไหลเข้าจุดใดจุดหนึ่งใน วงจรไฟฟ้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ ไหลออกจาก
จุดนั้น”
2. กฎในเรื่องแรงดันไฟฟ้า (Kirchhoff’s Voltage Law, KVL)
“ ผลบวกของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้ในวงจรไฟฟ้าปิดจะมีค่าเท่ากับผลบวกของ
แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทานในวงจรไฟฟ้าปิดนั้น”
กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ข้อที1่
1. กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s current Law)
“ กระแสไฟฟ้าที่ ไหลเข้าจุดใดจุดหนึ่งในวงจรไฟฟ้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ ไหลออกจากจุดนั้น”
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I1 และ I2 ในวงจร
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I3
กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ข้อที2่
2. กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s voltage Law)
“ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจร มีค่าเท่ากับผลรวมของแรงดันไฟฟ้าค่าเท่ากับ
ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคล่อมความต้านทานในวงจรไฟฟ้านั้น”

เส้นทางใด ๆ ก็ตามในวงจรไฟฟ้า ถ้าหากเริ่มจากจุดหนึ่งไปตาม


เส้นทางนั้นแล้วสามารถกลับมายังจุดนั้นได้อีกเรียกว่า ลูป (Loop)
กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ข้อที2่
2. กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s voltage Law)

-V1 + Vr1 + V2 = 0 สมการที่ 1


-V2 + Vr2 = 0 สมการที่ 2
การเขียนสมการแรงดันไฟฟ้าโดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์
1.ให้สมมติกระแสไฟฟ้าที่ ไม่ทราบค่าพร้อมทิศทาง
2.กาหนดขั้วแรงดันไฟฟ้าให้แก่อุปกรณ์ ในวงจรทุกตัว ตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร โดยกาหนดให้ด้านที่
กระแสไฟฟ้าไหลเข้ามีศักย์ ไฟฟ้าเป็นบวกและด้านที่กระแสไฟฟ้าไหลออกจากอุปกรณ์มีศักย์ ไฟฟ้าเป็นลบ
3.เขียนสมการแรงดันไฟฟ้าตามกฎของเคอร์ชอฟฟ์ในวงจรต่างๆที่เป็นไปได้และใส่เครื่องหมายหน้าแรงดันไฟฟ้าให้ถูกต้อง
4.โดยทั่ว ๆ ไปสมการเหล่านี้ ตัวที่ ไม่รู้ค่าจะเป็นกระแสไฟฟ้าส่วนตัวต้านทานจะกาหนดค่ามาให้ ดังนั้นจะต้องพยายามหาค่า
กระแสไฟฟ้าที่ ไหลผ่านส่วนต่าง ๆ ของวงจรให้ ได้ถ้า-หากกระแสไฟฟ้าที่คานวณออกมาได้ค่าเป็นลบ (–) แสดงว่ากระแสไฟฟ้าที่
แท้จริงมีทิศทางตรงข้ามกับที่สมมติไว้
5.ใส่เครื่องหมายบวก (+) ต้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลเข้าและใส่เครื่องหมายลบ(–)ปลายทางที่กระแสไฟฟ้าไหลออก
6.ในการเขียนสมการแรงดันไฟฟ้าให้เริ่มที่จุดใดจุดหนึ่งไล่ไปเรื่อย ๆ พบบวก(+)ให้ ใส่เครื่องหมายบวก(+) ถ้าพบลบ(–)ให้ ใส่
เครื่องหมายลบ(–)จนครบวงจร
ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I1 และ I2 ในวงจร
ตัวอย่างที่ 4 จากวงจรด้านล่างจงคานวณหากระแสไฟฟ้าที่ ไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว
ตัวอย่างที่ 6 จงคานวณหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว
ตัวอย่างที่ 7 จงคานวณหากระแสที่ ไหลผ่านค่าความต้านทานแต่ละตัว
ตัวอย่างที่ 7 จงคานวณหาค่ากระแสที่ ไหลผ่านความต้านทาน 4 โอห์มและ 6 โอห์ม

You might also like