You are on page 1of 36

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การวัดความยาว ชั้นประถมการศึกษาปีที่ 3


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม จำนวน 30 นาที
ผู้สอน นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 6311070002
___________________________________________________________________________
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
และนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ป.3/3 เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่างๆ เป็น
เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
2. สาระสำคัญ
การวัดความยาวของสิ่งของควรเลือกเครื่องวัดความยาวให้เหมาะสมและวัดให้ถูกวิธีโดยใช้เมตร
เซนติเมตร และมิลลิเมตร เป็นหน่วยมาตรฐานในการวัดความยาว
การเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาว และหน่วยการวัดความยาวที่เหมาะสม จะทำให้ทราบความยาว
ของสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง การนำความรู้เรื่องการเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาว และหน่วยการวัดความ
ยาวที่เหมาะสม มีความสำคัญเป็นอย่างมากและต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสถานการณ์ที่เหมาะสมได้
เช่น - การใช้ไม้บรรทัดวัดความยาว ความสูง หรือระยะทางของ ความยาวของดินสอ ยางลบ ความสูงของแก้ว
น้ำ ระยะทางระหว่างจุดสองจุดในหนังสือเรียนฯ
- การใช้ไม้เมตรวัดความยาว ความสูง หรือระยะทางของ ความยาวของกระดานดำ ความสูงของประตู
ห้องเรียน ระยะทางจากผนังหน้าห้องเรียนไปยังผนังหลังห้องเรียน
- การใช้สายวัดตัววัดความยาวของ ความยาวรอบเอว ความยาวรอบปากแก้ว ความยาวรอบศีรษะๆ
- การใช้สายวัดชนิดตลับวัดความยาวความสูงหรือระยะทางของ ความยาวของโต๊ะ ความสูงของประตู
ระยะทางจากโต๊ะครูถึงโต๊ะนักเรียน
3. สาระการเรียนรู้
1. การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม (ไม้เมตร ไม้บรรทัด สายวัดตัว สายวัดชนิดตลับ)
2. การเลือกหน่วยวัดความยาว (เมตร เซนติเมตร มิลลิเมตร)
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวการเลือกใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวัดความยาว และหน่วยการวัดความ
ยาวได้ (K2)
2. นักเรียนสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวัดความยาวและหน่วยวัดความยาวที่เป็นมาตรฐานได้
เหมาะสม (P2)
3. นักเรียนมีความกระตือรือร้นการเข้าร่วมกิจกรรม (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูผู้สอนทักทายนักเรียนก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
โดยการแนะนำตัวเอง และจะเช็คชื่อนักเรียนโดยการเรียกชื่อนักเรียน
2. ครูผู้สอนชี้แจงนักเรียนว่าในคาบนี้จะเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่
เหมาะสม
3. การวัดความยาวของสิ่งของควรเลือกเครื่องวัดความยาวให้เหมาะสมและวัดให้ถูกวิธีโดยใช้เมตร
เซนติเมตร และมิลลิเมตร เป็นหน่วยมาตรฐานในการวัดความยาว การเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาว และ
หน่วยการวัดความยาวที่เหมาะสม จะทำให้ทราบความยาวของสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง การนำความรู้เรื่อง
การเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาว และหน่วยการวัดความยาวที่เหมาะสม มีความสำคัญเป็นอย่างมากและ
ต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสถานการณ์ที่เหมาะสมได้
เช่น - การใช้ไม้บรรทัดวัดความยาว ความสูง หรือระยะทางของ ความยาวของดินสอ ยางลบ ความสูงของแก้ว
น้ำ ระยะทางระหว่างจุดสองจุดในหนังสือเรียนฯ
- การใช้ไม้เมตรวัดความยาว ความสูง หรือระยะทางของ ความยาวของกระดานดำ ความสูงของประตู
ห้องเรียน ระยะทางจากผนังหน้าห้องเรียนไปยังผนังหลังห้องเรียน
- การใช้สายวัดตัววัดความยาวของ ความยาวรอบเอว ความยาวรอบปากแก้ว ความยาวรอบศีรษะๆ
- การใช้สายวัดชนิดตลับวัดความยาวความสูงหรือระยะทางของ ความยาวของโต๊ะ ความสูงของประตู
ระยะทางจากโต๊ะครูถึงโต๊ะนักเรียน
ขั้นสอน
1. ครูผู้สอนอธิบายถึงเครื่องมือที่ใช้วัดความยาวให้กับนักเรียน การวัดความยาวควรเลือกใช้เครื่องมือ
ที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น
ไม้บรรทัด ใช้วัดของที่ไม่ใหญ่มาก เช่น สมุด กล่องดินสอ เชือก เป็นต้น
ไม้เมตร ใช้วัดความยาวของสิ่งต่างๆ ที่ไม่โค้ง หรือ งอ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ โซฟา เป็นต้น
สายวัดตัว ใช้วัดของที่มีลักษณะโค้ง หรืออวัยวะของร่างกาย เป็นต้น
ตลับเมตร ใช้วัดสิ่งที่ยาวมาก เช่น ผนัง ความกว้างของถนน แผ่นไม้ เป็นต้น
2. ครูผู้สอนทบทวนเรื่อง เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว โดยจะสุ่มถามให้นักเรียนตอบว่ามีเครื่องมือ
อะไรบ้างที่ใช้วัดความยาวและเครื่องมือนั้นสามารถใช้วัดสิ่งของใดได้บ้าง

( แนวคำตอบ ไม้บรรทัด ใช้วัด ดินสอ ปากกา สมุด หนังสือ ฯลฯ )

3. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันฝึกทำโจทย์ การเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาวให้เหมาะสมกับ
รูปภาพที่กำหนดมาให้ จะเห็นได้ว่ารูปภาพที่ให้มาสามารถเลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวได้ ให้นักเรียนเลือก
พิจารณาตามความเหมาะสม

( แนวคำตอบ หนังสือใช้ไม้บรรทัดในการวัด )
4. ครูผู้สอนถามนักเรียนว่ารูป ดังกล่าวที่กำหนดให้สามารถ ใช้เครื่องมือวัดความยาวชนิดใดในการวัด

( แนวคำตอบ ชั้นวางหนังสือใช้ไม้ตลับเมตรในการวัด )

5. ครูผู้สอนอธิบายถึงหน่วยการวัดความยาวที่เหมาะสมโดยจะพิจารณาตามความเหมาะสม
6. ครูผู้สอนยกตัวอย่างการเลือกหน่วยวัดความยาวที่เหมาะสมให้นักเรียนและให้นักเรียนร่วมกันตอบ
คำถามการเลือกหน่วยวัดความยาวที่เหมาะสมตามโจทย์ที่กำหนดมาให้

( แนวคำตอบ หนังสือยาว 20 เซนติเมตร , นักเรียนสูง 150 เซนติเมตร)

( แนวคำตอบ ผ้ายาว 2 เมตร , กระจกหนา 5 มิลลิเมตร)


7. ครูผู้สอนจะให้นักเรียนตอบคำถาม จากการเลือกเครื่องมือที่ใช้วัดความยาวและการเลือกหน่วยการ
วัดความยาว

ขั้นสรุป
1. ครูผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดใน Google form จำนวน 10 ข้อใช้เวลาทำแบบฝึกหัด 5 นาที
และส่งในท้ายชั่วโมงเรียน
(ลิงค์ในการทำแบบฝึกหัด https://forms.gle/HdcFFsgGfVeWwarMA )
2. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ใน เรื่องการเลือกเครื่องมือวัดความยาว
และการเลือกหน่วย วัดความยาว
8. สือ่ การสอน
1. PowerPoint
2. Google form
9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้(K)
1.นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวการ กิจกรรมระหว่าง นักเรียนมีส่วนร่วมใน
เลือกใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวัดความยาว เรียน การมีส่วนร่วม กิจกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถาม
และหน่วยการวัดความ ในการตอบคำถาม
ยาวได้(K2)
ด้านทักษะและกระบวนการ(P) ตรวจแบบฝึกหัด
1.นักเรียนสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่ใช้ จำนวน 10 ข้อ จาก แบบประเมินคะแนน นักเรียนทำใบงาน
ในการวัดความยาวและหน่วยวัดความ Google form จาก Google form ถูกต้องเกินร้อยละ 70
ยาวที่เป็นมาตรฐานได้เหมาะสม (P2)
ด้านคุณลักษณะ(A) สังเกตและบันทึก แบบประเมิน
1.นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการ พฤติกรรมด้าน พฤติกรรม อยู่ในเกณฑ์ระดับดี ขึ้น
เข้าร่วมกิจกรรม(A) คุณลักษณะ ด้านคุณลักษณะ ไปถือว่า ผ่าน
อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แบบประเมิน
ประเมิ น สมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ระดับตั้งแต่
1. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน ระดับพอใช้ขึ้นไป
สังเคราะห์ได้ ของผู้เรียน
10. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนให้ความสนใจและตั้งใจเรียนกับกิจกรรมเป็น
อย่างดี ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอน มีการโต้ตอบกับครูผู้สอนอยู่ตลอด มีความกระตือรือร้น
ในการทำกิจกรรมหรือโจทย์กับครูผู้สอน ทำให้การเรียนการสอน เป็นไปอย่างราบรื่น
ปัญหา/อุปสรรค
ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอนในช่วงการจัดกิจกรรมมีนักเรียนบางคนไม่สนใจ
ครูผู้สอนจึงต้องดูแลนักเรียนให้ทั่วถึงเพื่อให้การจัดกิจกรรมมีความน่าสนใจและเป็นไปตามที่กำหนดไว้
ข้อเสนอแนะ
ครูผู้สอนควรเพิ่มตัวอย่างในการเลือกใช้เครื่องมือที่ใช้วัดสิ่งของให้หลากหลายและครูผู้สอน
ควรคำนึงถึงการยกตัวอย่างให้สมเหตุสมผลกับความเป็นจริง

ht
ลงชื่อ..................................................ผู้บันทึก
(นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์)
…..…./…….…/……….
23 2 65
ใบเช็คชื่อเข้าเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายชื่อนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3

เลขที่ ชื่อ-สกุล มาเรียน ขาดเรียน หมายเหตุ

1 เด็กหญิงสุธาศินี ดวดกระโทก ✓
2 เด็กหญิงอริศรา แก้วดวงใหญ่ ✓
3 เด็กชายสิทธา ถิรโสภี ✓ อินเทอร์เน็ตมีปัญหา
4 เด็กหญิงสุนิสา สะอะ ✓
5 เด็กหญิงนันตภรณ์ วงศ์พุฒ ✓
6 เด็กหญิงสุภานัน ธรมีฤทธิ์ ✓
7 เด็กหญิงฐิติมาภรณ์ นันตะวัน ✓
8 เด็กชายณัฐวุฒิ วงษ์ชมภู ✓
9 เด็กหญิงญานิกา เฉวียงหงส์ ✓
10 เด็กหญิงสุภาภรณ์ ธารสุวรรณ์ ✓
11 เด็กหญิงอทิตยา นิสภา ✓
12 เด็กหญิงซำซูรีย์ เจ๊ะตู ✓
13 เด็กชายณัฐภัทร เชื่อมสุข ✓
14 เด็กหญิงสาวิตรี ผารวม ✓
15 เด็กหญิงชิดชนก จิตธรรม ✓
16 เด็กหญิงรัชชุกร นางนวล ✓
17 เด็กหญิงปวีณา อินทร์ปราบ ✓
18 เด็กชายสุเมธ ชูแก้ว ✓
19 เด็กหญิงฟาดีละห์ อาแว ✓
20 เด็กหญิงนูรไอมาน ดอฆอ ✓
เกณฑ์การวัดและให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตัวชี้วัดที่ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
ประเด็นการประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน
1. ใฝ่เรียนรู้ - เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ ดีเยี่ยม (3)
2. มุ่งมั่นในการทำงาน ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงาน
- ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ให้สำเร็จ มีการปรับปรุงการทำงาน
ทำงานให้สำเร็จ ให้ดีขึ้น
- ปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน ดี (2)
ด้วยตนเอง ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงาน
ให้สำเร็จ
ผ่าน (1)
เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย
ไม่ผ่าน (0)
ไม่ตั้งใจเรียนปฏิบัติหน้าที่การงาน

เกณฑ์การวัดและให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3 คะแนน อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม
2 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
1 คะแนน อยู่ในระดับ ผ่าน
0 คะแนน อยู่ในระดับ ไม่ผ่าน
แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คำชี้แจง ให้ครูผู้สอนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนในระหว่างเรียนแล้ว
ขีด ✓ ลงในช่องให้ตรงกับความเป็นจริง

เลขที่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้
ชื่อ-สกุล
ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
1 เด็กหญิงสุธาศินี ดวดกระโทก ✓
2 เด็กหญิงอริศรา แก้วดวงใหญ่ ✓
3 เด็กชายสิทธา ถิรโสภี ✓
4 เด็กหญิงสุนิสา สะอะ ✓
5 เด็กหญิงนันตภรณ์ วงศ์พุฒ ✓
6 เด็กหญิงสุภานัน ธรมีฤทธิ์ ✓
7 เด็กหญิงฐิติมาภรณ์ นันตะวัน ✓
8 เด็กชายณัฐวุฒิ วงษ์ชมภู ✓
9 เด็กหญิงญานิกา เฉวียงหงส์ ✓
10 เด็กหญิงสุภาภรณ์ ธารสุวรรณ์ ✓
11 เด็กหญิงอทิตยา นิสภา ✓
12 เด็กหญิงซำซูรีย์ เจ๊ะตู ✓
13 เด็กชายณัฐภัทร เชื่อมสุข ✓
14 เด็กหญิงสาวิตรี ผารวม ✓
15 เด็กหญิงชิดชนก จิตธรรม ✓
16 เด็กหญิงรัชชุกร นางนวล ✓
17 เด็กหญิงปวีณา อินทร์ปราบ ✓
18 เด็กชายสุเมธ ชูแก้ว ✓
19 เด็กหญิงฟาดีละห์ อาแว ✓
20 เด็กหญิงนูรไอมาน ดอฆอ ✓

ht
ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์)
…..…./…….…/……….
23 2 65
แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คำชี้แจง ให้ครูผู้สอนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนในระหว่างเรียนแล้ว
ขีด ✓ ลงในช่องให้ตรงกับความเป็นจริง

เลขที่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ-สกุล
ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
1 เด็กหญิงสุธาศินี ดวดกระโทก ✓
2 เด็กหญิงอริศรา แก้วดวงใหญ่ ✓
3 เด็กชายสิทธา ถิรโสภี ✓
4 เด็กหญิงสุนิสา สะอะ ✓
5 เด็กหญิงนันตภรณ์ วงศ์พุฒ ✓
6 เด็กหญิงสุภานัน ธรมีฤทธิ์ ✓
7 เด็กหญิงฐิติมาภรณ์ นันตะวัน ✓
8 เด็กชายณัฐวุฒิ วงษ์ชมภู ✓
9 เด็กหญิงญานิกา เฉวียงหงส์ ✓
10 เด็กหญิงสุภาภรณ์ ธารสุวรรณ์ ✓
11 เด็กหญิงอทิตยา นิสภา ✓
12 เด็กหญิงซำซูรีย์ เจ๊ะตู ✓
13 เด็กชายณัฐภัทร เชื่อมสุข ✓
14 เด็กหญิงสาวิตรี ผารวม ✓
15 เด็กหญิงชิดชนก จิตธรรม ✓
16 เด็กหญิงรัชชุกร นางนวล ✓
17 เด็กหญิงปวีณา อินทร์ปราบ ✓
18 เด็กชายสุเมธ ชูแก้ว ✓
19 เด็กหญิงฟาดีละห์ อาแว ✓
20 เด็กหญิงนูรไอมาน ดอฆอ ✓

ht
ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์)
…..…./…….…/……….
23 2 65
เกณฑ์การวัดและให้คะแนนด้านสมรรถนะของผู้เรียน
ตัวชี้วัด มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ได้
ประเด็นการประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน
1. มีความสามารถในการคิด - สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ดีเยี่ยม (3)
วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
ถูกต้องด้วยตนเองทั้งหมด
ดี (2)
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
ถูกต้องด้วยตนเองทั้งหมดโดยต้อง
มีผู้อื่นแนะนำเป็นบางครั้ง
ผ่าน (1)
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
ถูกต้องด้วยตนเองทั้งหมดโดยต้อง
มีผู้อื่นแนะนำเกินกว่า 2 ครั้ง
ไม่ผ่าน (0)
ไม่สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ได้ด้วยตนเอง

ดีเยี่ยม พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน


ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ผ่าน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ผ่าน ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
แบบประเมินด้านสมรรถนะของผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คำชี้แจง ให้ครูผู้สอนประเมินด้านสมรรถนะของผู้เรียนการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนในระหว่างเรียนแล้ว
ขีด ✓ ลงในช่องให้ตรงกับความเป็นจริง

เลขที่ สมรรถนะของผู้เรียนด้านความสามารถในการคิด
ชื่อ-สกุล
ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
1 เด็กหญิงสุธาศินี ดวดกระโทก ✓
2 เด็กหญิงอริศรา แก้วดวงใหญ่ ✓
3 เด็กชายสิทธา ถิรโสภี ✓
4 เด็กหญิงสุนิสา สะอะ ✓
5 เด็กหญิงนันตภรณ์ วงศ์พุฒ ✓
6 เด็กหญิงสุภานัน ธรมีฤทธิ์ ✓
7 เด็กหญิงฐิติมาภรณ์ นันตะวัน ✓
8 เด็กชายณัฐวุฒิ วงษ์ชมภู ✓
9 เด็กหญิงญานิกา เฉวียงหงส์ ✓
10 เด็กหญิงสุภาภรณ์ ธารสุวรรณ์ ✓
11 เด็กหญิงอทิตยา นิสภา ✓
12 เด็กหญิงซำซูรีย์ เจ๊ะตู ✓
13 เด็กชายณัฐภัทร เชื่อมสุข ✓
14 เด็กหญิงสาวิตรี ผารวม ✓
15 เด็กหญิงชิดชนก จิตธรรม ✓
16 เด็กหญิงรัชชุกร นางนวล ✓
17 เด็กหญิงปวีณา อินทร์ปราบ ✓
18 เด็กชายสุเมธ ชูแก้ว ✓
19 เด็กหญิงฟาดีละห์ อาแว ✓
20 เด็กหญิงนูรไอมาน ดอฆอ ✓

ht
ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์)
…..…./…….…/……….
23 2 65
แบบประเมินคะแนนจาก Google form
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คำชี้แจง ให้ผู้สอนขีด ✓ ลงในช่องและให้คะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง

เลขที่ สรุปผลการประเมิน
ชื่อ-สกุล คะแนนรวม
ผ่าน ไม่ผ่าน
1 นางสาวสุธาศินี ดวดกระโทก 10 ✓
2 นางสาวอริศรา แก้วดวงใหญ่ 10 ✓
3 นายสิทธา ถิรโสภี 8 ✓
4 นางสาวสุนิสา สะอะ 9 ✓
5 นางสาวนันตภรณ์ วงศ์พุฒ 10 ✓
6 นางสาวสุภานัน ธรมีฤทธิ์ 9 ✓
7 นางสาวฐิติมาภรณ์ นันตะวัน 10 ✓
8 นายณัฐวุฒิ วงษ์ชมภู 10 ✓
9 นางสาวญานิกา เฉวียงหงส์ 8 ✓
10 นางสาวสุภาภรณ์ ธารสุวรรณ์ 10 ✓
11 นางสาวอทิตยา นิสภา 9 ✓
12 นางสาวซำซูรีย์ เจ๊ะตู 10 ✓
13 นายณัฐภัทร เชื่อมสุข 10 ✓
14 นางสาวสาวิตรี ผารวม 8 ✓
15 นางสาวชิดชนก จิตธรรม 10 ✓
16 นางสาวรัชชุกร นางนวล 10 ✓
17 นางสาวปวีณา อินทร์ปราบ 9 ✓
18 นายสุเมธ ชูแก้ว 8 ✓
19 นางสาวฟาดีละห์ อาแว 9 ✓
20 นางสานูรไอมาน ดอฆอ 8 ✓

ht
ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวปัทมเกศร์ คงสวัสดิ์)
…..…./…….…/……….
23 2 65
ภาคผนวก
PowerPoint (เนื้อหา)
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด (เฉลย)

You might also like