You are on page 1of 6

แบบ มคอ.

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยสยาม
คณะ/ภาควิชา
วิศวกรรมศาสตร์ / วิศวกรรมเครื่องกล

หมวดที่ 1. ลักษณะและข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา
1. รหัสและชื่อรายวิชา
151-312 กลศาสตร์เครื่องจักรกล
2. จานวนหน่วยกิต (ชั่วโมงบรรยาย – ปฏิบัติการ - ค้นคว้าด้วยตนเอง)
3(3 – 0 – 6)
3. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา
3.1 หลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล
3.2 ประเภทของรายวิชา (วิชาศึกษาทั่วไป / วิชาเฉพาะ / วิชาเลือกเสรี)
วิชาเฉพาะ
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา . ผศ.รท.ดร. สมญา ภูนะยา
4.2 อาจารย์ผู้สอน ผศ.รท.ดร. สมญา ภูนะยา

5. ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียน 2/2554 ชั้นปีท่ี 2 และ 3


6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)
กลศาสตร์วิศวกรรม 2
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)-
8. สถานที่เรียน
ห้อง 14-506 และ 2-404
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครั้งล่าสุด
1 ต.ค. 54
2

หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้พื้นฐานของกลไกต่างๆ
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถคานวนและวิเคราะห์การกระจัด,ความเร็ว,ความเร่ง, แรงที่เกิดขึ้นในกลไก
,ลูกเบี้ยวและตัวตาม,ระบบกลไกและการส่งถ่ายโดยเกียร์,สมดุลของมวลที่มีการหมุนและการเคลื่อนที่
กลับไปกลับมา
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบกลไกเพื่อใช้ประโยชน์ในงานวิศวกรรมได้
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
พัฒนาในส่วนของตัวอย่างและโจทย์ที่ใช้ รวมถึงเอกสารประกอบการสอน เพื่อให้นักศึกษาสามารถสอบใบ
ประกอบวิชาชีพได้ด้วย

หมวดที่ 3. ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษากลไกต่างๆ ,การเคลื่อนที่ของเครื่องกล,การกระจัด, ความเร็ว,ความเร่งและแรงของชิ้นส่วน
เครื่องจักรกล,ลูกเบี้ยวและตัวตาม,ระบบกลไกและการส่งถ่ายโดยเกียร์,สมดุลของมวลที่มีการหมุนและ
การเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง
45 - - 90
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น
รายบุคคล
3 ชั่วโมง

หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
-มีวินัย ตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
- ส่งงานตรงเวลา และซื่อสัตย์สุจริต

1.2 วิธีการสอน
-มีการแจ้งเนื้อหาทั้งหมด ให้นักศึกษาทราบ รวมทั้งวัตถุประสงค์
-แจ้งเกณฑ์การตัดสินของคะแนนให้นักศึกษาทราบก่อนเริ่มเรียน รวมทั้งเอกสารประกอบการสอน
-ทาการสอนในส่วนของการบรรยายในภาคทฤษฏีตามขอบเขตของวิชา พร้อมให้นักศึกษาฝึกทาโจทย์
ปัญหาภายในชั้นเรียน
3

-มีการมอบหมายงานให้ไปทาที่บ้าน และส่งตามเวลาที่กาหนด
-มีการตรวจสอบเวลาเรียนอย่างสม่าเสมอและอธิบายถึงผลและปัญหาจากการมาเรียนไม่ตรงเวลา
-แจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับเวลาที่เข้าพบกรณีมีปัญหากับการเรียนของวิชานี้
- อธิบายถึงการเป็นคนมีความรับผิดชอบต่องานที่ต้องทาเองและตรงเวลาเปรียบเสมือนการทางานจริง
ที่ต้องมีความรับผิดชอบ
1.3 วิธีการประเมินผล
- ตรวจดูจากสถิติการเข้าเรียนและมาสาย
- ประเมินจากสถิติการส่งงาน
-ทาการสอบกลางภาคและปลายภาค
-การตัดเกรทจะเน้นค่าเฉลี่ยและอิงเกณฑ์ของคะแนน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ประจาวิชา
2. ความรู้
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ความรู้เกี่ยวกับกลไก, การคานวนความเร็ว, ความเร่งและแรงของกลไกแบบต่างๆ, การสมดุลของ
กลไกที่หมุน
2.2 วิธีการสอน
เน้นการบรรยายสลับกับการทาแบบฝึกหัดทาให้นักศึกษามีประสพการณ์จนรู้ลึกซึ้ง
2.3 วิธีการประเมินผล
- การสอบย่อย, สอบกลางภาค, สอบปลายภาค, การสังเกตุพฤติกรรมขณะเรียนและทา
แบบฝึกหัด, การส่งการบ้าน
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
- เป็นการใช้ความรู้จากตัวอย่าง ไปแก้โจทย์ที่เป็นลักษณะประยุกต์กับงานจริง ทาใหแสดงถึงการ
มีทักษะทางปัญญาของผู้เรียน
3.2 วิธีการสอน
- ให้โจทย์ที่เป็นพื้นฐานก่อนแล้วจึงมีแบบฝึกหัดที่ต้องอาศัยการประยุกต์หรืออาศัยเนื้อหาเรื่องอื่น
มาประกอบเพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์การแก้ปัญหา
3.3 วิธีการประเมินผล
- การสังเกตุการทาโจทย์ในห้องเรียน
- คะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
-การสนใจที่จะคิดปรึกษากันในการแก้ปัญหางานที่รับผิดชอบหรือโจทย์แบบฝึกหัดที่ทา
4.2 วิธีการสอน
- การให้แบบฝึกหัดในห้องเรียนและให้นักศึกษาปรึกษากันได้ (การทางานเป็นกลุ่ม)
4

4.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากการสังเกตุการทาแบบฝึกหัดของนักศึกษา(สาเร็จหรือไม่)
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
- มีความสามารถใช้ Internet สืบค้นโจทย์และแบบฝึกหัดต่างๆได้
5.2 วิธีการสอน
- ให้งานในเนื้อหาแก่นักศึกษาไปสืบค้นข้อมูลและส่งเป็นรายงาน
5.3 วิธีการประเมินผล
- ตรวจจากงานที่มอบหมายให้

หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ จานวน กิจกรรม
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้
-แนะนาเนื้อหาและพื้นฐานด้าน บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
1 3 อ. สมญา
กลไก คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
-Mobility และการคานวน บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
2 3 อ. สมญา
อัตราส่วนความเร็วเชิงมุม คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
3 -ศึกษากลไก Four Bar Linkage 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
- ศึกษากลไก Slider Crank บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
4 3 อ. สมญา
และกลไกอื่น คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
5 - การเขียนลูกเบี้ยวและทฤษฏี 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
6 - การออกแบบลูกเบี้ยว 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
7 3 อ. สมญา
- ทฤษฏีเกียร์ คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
8 ---------------------------------- 3 Mid – Term Examination กรรมการ
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
9 - ศึกษาเกียร์ธรรมดา 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
10 - ศึกษาPlenetary Gear Train 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
- การคานวนความเร็วของ บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
11 3 อ. สมญา
กลไก Four Bar Linkage คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
5

สัปดาห์ จานวน กิจกรรม


หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้
- การคานวนความเร็วและ บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
12 3 อ. สมญา
ความเร่งของกลไก คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
-การคานวนแรงที่เกิดขึ้นใน
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
13 กลไก 3 อ. สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน

-การนาการวิเคราะห์แรงไป บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
14 3 อ. สมญา
ประยุกต์ คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
-การสมดุลย์ของเครื่องจักรกล บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
15 อ. สมญา
3 คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน
-การสมดุลย์ของเครื่องจักรกล
บรรยายโดยการใช้การนาเสนอด้วย
16 (ต่อ) 3 อ.สมญา
คอมพิวเตอร์ และการบรรยายบนกระดาน

17 - สอบปลายภาค กรรมการ

2. แผนการประเมินการเรียนรู้
สัดส่วนของ
ผลการ สัปดาห์ที่
วิธีการประเมินผลนักศึกษา การ
เรียนรู้ ประเมิน
ประเมินผล
กลุ่มที่
การสอบกลางภาค 8 ร้อยละ 40
2, 3
กลุ่มที่
การสอบปลายภาค 17 ร้อยละ 40
2, 3
กลุ่มที่
1,2,3,4 คะแนนพัฒนาการ (การทาแบบฝึกหัดในห้องเรียน) 1-7, 9-16 ร้อยละ 5
และ 5
กลุ่มที่
1,2,3,4 คะแนนการบ้าน 2-7,9-16 ร้อยละ 10
และ 5
กลุ่มที่
1,2,3,4 คะแนนตรงต่อเวลาและความสนใจ 1-7,9-16 ร้อยละ 5
และ 5
6

หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. หนังสือ ตารา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. เอกสารประกอบคาสอน “กลศาสตร์เครื่องจักรกล” ผศ.รท.ดร.สมญา ภูนะยา
2. Mechanisms and Dynamics of Machinery – ของ Hamilton H. Mabie

2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่แนะนา


1 . กลไกและพลศาสตร์ของเครื่องจักรกล ของ รศ. วุฒิชัย กบิลกาญจน์

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- ให้นักศึกษาทุกคนทาการประเมินในแต่ละรายวิชาเพื่อให้ทราบข้อมูลต่างๆจากการเรียนในวิชา
นัน้ ๆ
2. การประเมินการสอน
- ให้นักศึกษาทุกคนทาการประเมินการสอนในแต่ละรายวิชาผ่านทางระบบ internet เพื่อให้
ทราบข้อมูลต่างๆจากการเรียนในวิชานั้นๆ
3. การปรับปรุงการสอน
- นาข้อมูลที่ได้จากข้อที่ 1 และ 2 มาทาการวิเคราะห์แล้วปรับปรุงให้เหมาะสมกับนักศึกษา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- ภายหลังได้ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาแล้วข้อมูลจะถูกพิจารณาโดยกรรมการมาตรฐาน
ประจาภาควิชาซึ่งจะมีการสอบถามและพูดคุยถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขและปรับปรุงผลสัมฤทธิ์
ในแต่ละรายวิชา
5. การดาเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- ภายหลังได้ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาแล้วข้อมูลจะถูกพิจารณาโดยกรรมการมาตรฐาน
ประจาภาควิชาซึ่งจะมีการสอบถามและพูดคุยถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขและปรับปรุงผลสัมฤทธิ์
ในแต่ละรายวิชา

You might also like