You are on page 1of 56

Chapter 2 อาหารและสารอาหาร

(Foods & Nutrient)


You are what you eat!
อาหาร คืออะไร?
• คือ สิ่งที่กินเข้าไปแล้วก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย
• ในอาหารมีส่วนประกอบที่เป็นสารเคมีอยู่หลายอย่าง ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน
แร่ธาตุ น้า สารเคมี เหล่านีร่วมกันเรียกว่า สารเคมี
• สารอาหาร ที่ดีต้องประกอบโดย โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้า
• สารอาหารมีประโยชน์ที่แตกต่างกัน ร่างกายต้องการสารอาหารแต่ละประเภทที่แตกต่างกัน
สารอาหาร
Cooking food properly helps to avoid food poisoning. Most
raw foods feature food-borne pathogens such as viruses,
bacteria, parasites and viruses that can seriously harm and
kill a human being.

โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
วิตามิน/เกลือแร่/น้า
ประเภทของสารอาหาร
• สารอาหารที่ ให้พลังงาน
– โปรตีน
– คาร์โบไฮเดรต
– ไขมัน
• สารอาหารที่ ไม่ให้พลังงาน
– วิตามิน เกลือแร่ น้า
โปรตีน (Protein)
➢ สารอาหารที่ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เรียกว่า กรดอะมิโน จ้านวน 22 ชนิด แต่ละ
ชนิดมีโครงสร้างที่ต่างกัน
➢ คุณค่าของโปรตีนขึนกับว่าโปรตีนชนิดนันย่อยสลายได้ง่ายและมีกรดอะมิโนที่จ้าเป็น
ครบถ้วน
➢ โปรตีนจ้าเป็นต่อการสร้างเซลล์เนือเยือต่างๆ ของร่างกาย และเป็นส่วนประกอบของ
เอนไซม์ ฮอร์โมน ฮีโมโกลบิน และแอนติบอดี หรือภูมิคุ้มกันของร่างกาย
➢ คนเรามีโปรตีนอยู่ประมาณร้อยละ 20 ของน้าหนักตัว
➢ แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน ได้แก่ เนือ นม ไข่ และพืชตระกูลถั่ว เป็น
ต้น
ตัวอย่างกรดอะมิโน O

H2N OH
O
NH2
H2N
HO O OH N
OH H
Tyrosine Tryptophan
Glycine
O OH
O
O

HO NH2
N
Phenylalanine OH
NH2 HO
Leucine NH2
HN
Histidine
O N
H
Proline
กรดอะมิโนจ้าเป็น
• คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึนเองได้ จ้าเป็นต้อง
ได้รับจากอาหาร
• มีประมาณ 10 ชนิด ได้แก่
– ฟีนิลอะลานีน แวลีน ทริโอนีน ทริปโทเฟน ไอโซลิวซีน
– เมไทโอนีน ฮีสทิดีน ลิวซีน ไลซีน และอาร์จินีน
ความส้าคัญของโปรตีน
❖สารอาหารที่จ้าเป็นต่อการเจริญเติบโต
❖ร่างกายต้องการน้าไปซ่อมแซมเนือเยื่อต่างๆ ทีส่ ึกหรอ
❖ช่วยรักษาปริมาณน้าในเซลล์ และหลอดเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ถ้าร่างกายขาด
โปรตีน น้าจะเล็ดลอดออกจากเซลล์และหลอดเลือดเกิดอาการบวม
❖กรดอะมิโนส่วนหนึ่งถูกน้าไปสร้างเป็นฮอร์โมน เอนไซม์ สารภูมิคุ้มกัน และโปรตีนชนิด
ต่างๆ ซึ่งแต่ละตัวมีหน้าที่แตกต่างกันไป และมีส่วนท้าให้ปฏิกิริยาต่างๆ ในร่างกายด้าเนิน
ต่อไปได้ตามปกติ
❖รักษาดุลกรด-ด่างของร่างกาย เนื่องจากกรดอะมิโนมีหน่วยคาร์บอกซิล (carboxyl) ซึ่งมี
ฤทธิ์เป็นกรด และหน่วยอะมิโนมีฤทธิ์เป็นด่าง โปรตีนจึงมีสมบัติรักษาดุลกรด-ด่าง ซึ่งมี
ความส้าคัญต่อปฏิกิริยาต่างๆ ภายในร่างกาย
ความต้องการโปรตีนของร่างกาย
• ควรได้รับโปรตีน 1 กรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
• ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการโปรตีน เช่น
– อายุ ทารกเป็นวัยที่ต้องการโปรตีนมากที่สุด คนที่มีอายุมากต้องการโปรตีนน้อยกว่าคนที่มี
อายุน้อย
– สภาพของร่างกาย เช่น หญิงมีครรภ์ต้องการโปรตีนมากกว่าคนปกติ เพราะต้องแบ่งให้กับ
ทารกในครรภ์ ผู้ที่พักฟื้นจากการเจ็บไข้ก็ต้องการโปรตีนมากเพราะต้องน้ามาซ่อมแซมส่วนที่
สึกหรอ
– อุณหภูมิของร่างกาย ถ้าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมต่้า ความต้องการโปรตีนจะสูง
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)rate)
Chlorophyll
CO 2 + H 2 O+ Energy (light ) Carbohydrates + H 2 O

✓เป็นสารอาหารที่มีส่วนประกอบเป็น คาร์บอน ไฮโดรเจน และ


ออกซิเจน
✓แหล่งที่ให้สารอาหารคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก
มัน ข้าวโพด
ประเภทของคาร์โบไฮเดรต
• แบ่งตามโครงสร้าง ได้ 3 ประเภท
– น้าตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharides) เช่น กลูโคส ฟรุคโตส
และกาแลกโตส ในธรรมชาติพบมากเฉพาะกลูโคส และฟรุคโตส
– น้าตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เช่น ซูโครสหรือน้าตาลทราย
น้าตาลน้าอ้อย (กลูโคส+ฟรุคโตส) มอลโตส (กลูโคส+กลูโคส) และ
แลกโตส (กลูโคส+กาแลกโตส)
–น้าตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharides) เช่น แป้ง เซลลูโลส
Glucose
Cellulose

Galactose Fructose
หน้าที/่ ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต
1. ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงานประมาณ 4
แคลอรี่ และเป็นพลังงานที่จะถูกร่างกายน้ามาใช้ก่อนสารอาหารไขมันและโปรตีน
ตามล้าดับ
2. ช่วยให้ร่างกายน้าสารอาหารโปรตีนไปใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ กล่าวคือ ถ้าร่างกายได้
พลังงานจากคาร์โบไฮเดรตมาใช้ไม่เพียงพอ ร่างกายจะน้าเอาโปรตีนมาสลายให้เกิด
พลังงาน แทนร่างกายก็จะผอมลงได้
3. ใช้เป็นพลังงานส้ารองของร่างกาย ถ้าร่างกายรับประทานพวกคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป
ส่วนเกินนีจะถูกปลี่ยนเป็นไขมันสะสมไว้ตามเนือเยื่อต่างๆของร่างกาย และจะถูกน้ามาใช้
เมื่อร่างกาย ขาดแคลนพลังงาน
4. เป็นองค์ประกอบทีส่ ้าคัญของตับ ซึ่งเป็นอวัยวะส่วนส้าคัญของร่างกายในการขจัด
สารพิษ ในเลือด
ความต้องการคาร์โบไฮเดรต
✓ร่างกายต้องการพลังงานจากสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
ประมาณ 50 – 50 ของพลังงานทังหมดที่ได้รับจากสารอาหาร
✓เราควรกินคาร์โบไฮเดรตประเภทแป้งให้ได้ประมาณ 300 –
400 กรัมต่อวัน จึงจะเพียงพอกับปริมาณพลังงานที่ร่างกาย
ต้องการ
ไขมัน (lipid)
ไขมัน (lipid)
➢ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
➢ไขมันเป็นสารอาหารที่ไม่สามารถละลายในน้าได้
➢รูปแบบของไขมัน
➢ถ้าอยู่ในของแข็ง เรียกว่า ไข (wax)
➢ถ้าอยู่ในสภาพของเหลว เรียกว่า น้ามัน (oil)
กรดไขมัน (fatty acid)
• เป็นส่วนประกอบที่ส้าคัญของไขมัน และมีความส้าคัญต่อร่างกายมี 2 ประเภท คือ
– กรดไขมันอิ่มตัวพบมากในไขมันสัตว์
– กรดไขมันไม่อิ่มตัว พบน้ามันพืช เช่น น้ามันถั่วเหลือง
• ไขมันเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูง เมื่อเทียบกับไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูง 9
cal / g เมื่อเปรียบเทียบกับสารอาหารประเภทอื่นที่มีปริมาณที่เท่า ๆ กัน
• ร่า งกายสามารถสะสมไขมั น ได้ ถ้ า เรากิ น อาหารที่ ใ ห้ พลั ง งานเกิ น ร่ างกายต้ อ งการ
ร่างกายจะสะสมอาหารส่วนเกินไว้ในรูปไขมัน เป็นเนือเยื่อไขมันอยู่ใต้ผิวหนังและตาม
อวัยวะต่าง ๆ

กรดไขมันทีไ่ ม่จำเป็ น กรดไขมันทีจ่ ำเป็ น
ชนิดกรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว
ประโยชน์ของไขมัน
1. ไขมันช่วยในการดูดซึมของวิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble Vitamins) เช่น
วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค
2. ไขมันช่วยปกป้องและกันความร้อน รวมทังคอยควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ โดย
ท้าหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน(Thermal Insulator) ของเนือเยื่อใต้ผิวหนังและอวัยวะที่
อยู่ภายในร่างกาย
3.ไขมันช่วยเป็นเสมือนกันชนให้ร่างกาย คือช่วยป้องกันการกระเทือนของอวัยวะภายใน
ร่างกาย ที่เกิดจากแรงกระแทกหรือการเคลื่อนไหวอย่างแรงของร่างกาย ซึ่งคอยป้องกันการ
บาดเจ็บของอวัยวะภายในร่างกาย
4. ไขมันเป็นส่วนประกอบส้าคัญของเนือเยื่อประสาท นั่นคือ เส้นประสาทของคนเราจะมี
ไขมันเป็นส่วนประกอบในอัตราที่สงู โดยเฉพาะจะหุ้มเส้นประสาท ช่วยในการป้องกัน
เส้นประสาทให้ท้างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อถูกสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนือและอวัยวะ
ต่างๆ ของร่างกาย
5. ไขมันเมื่อรวมกับโปรตีนก็คือ ไลโปโปรตีน (Lipoproteins) จะเป็นส่วนประกอบส้าคัญ
ของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะผนังเซลล์และไมโตคอนเดรีย ส่วนนีมีประโยชน์ส้าหรับคนเรามาก
เพราะร่างกายของเราประกอบเป็นตัวตนด้วยเซลล์หลายๆ ล้านเซลล์ และเซลล์ของร่างกาย
เรา จะผลิตทุกวันเพื่อซ่อมแซมส่วนที่สกึ หรอ นั่นคือ ถ้าขาดไขมัน ผนังเซลล์ของร่างกายเราก็
จะอ่อนแอ เซลล์ที่ตายไปก็ไม่สามารถสร้างขึนมาใหม่ได้
วิตามิน (vitamin)
• สารอาหารพวกนีไม่ให้พลังงานแก่ร่างกายแต่ร่างกายขาดไม่ได้
• วิตามิน หมายถึง สารอิน ทรี ย์ที่จ้า เป็ นต่อร่างกาย ร่างกายจะต้องการใน
ปริมาณที่น้อย แต่ร่างกายจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะท้าให้ร่างกายมีความผิดปกติเกิด
อาการต่าง ๆ เช่น เหน็บชา อ่อนเพลีย เป็นต้น
• วิตามินแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
- วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามิน C วิตามิน B ต่าง ๆ
- วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน A , D , E , K
ตารางแสดงแหล่งอาหารที่ให้วิตามินละลายในไขมัน
วิตามินที่ละลายในไขมัน แหล่งอาหาร หน้าที่ โรคเมื่อขาดอาหาร
ได้
วิตามิน A ตับ น้ามันตับปลา ไข่ -ช่วยในการ -เด็กไม่เจริญเติบโต
แดง เนย นม ผักสี เจริญเติบโตของกระดูก -มองไม่เห็นในที่สลัว
เหลือง สีเขียว ผลไม้ -ช่วยบ้ารุงสายตา -ในตาแห้งหรือในตา
บางชนิด -รักษาสุขภาพของ อักเสบ
ผิวหนัง -ผิวแห้งและหยาบ

วิตามิน D เนย นม ไขแดง ตับ ช่วยให้ร่างกายดูดซึม -เป็นโรคกระดูกอ่อน


ปลาทู ปลาซาดีน ธาตุแคลเซียม และ -เกิดรอยแตกในกระดูก
ฟอสฟอรัสที่ล้าไส้เล็ก และกระดูกผิดรูปร่าง
เพื่อให้กระดูกและฟัน
ตารางแสดงแหล่งอาหารที่ให้วิตามินละลายในไขมัน
วิตามินที่ละลายในไขมัน แหล่งอาหาร หน้าที่ โรคเมื่อขาดอาหาร
วิตามิน E ผักใบสีเขียว และ -ท้าให้เม็ดเลือดแข็งแรง -เกิดโรคโลหิตจางใน
เนือสัตว์ -ช่วยป้องกันการเป็น เด็กชาย อายุ 6 เดือน
หมันหรือการแท้ง ถึง 2 ขวบ
- เป็นหมันอาจท้าให้
แท้งได้
วิตามิน K ผักใบเขียวและเนือสัตว์ ช่วยให้เลือดเป็นลิ่มหรือ -เลือดแข็งตัวเร็วกว่า
แข็งตัว ปกติ
-ในเด็กแรกเกิดถึง 2
เดือนจะมีเลือดออก
ทั่วไป ตามผิวหนัง
ตารางแสดงแหล่งอาหารที่ให้วติ ามินละลายในน้าได้
วิตามินที่ละลายในน้า แหล่งอาหาร หน้าที่ โรคเมื่อขาดอาหาร
วิตามิน B1 ข้าวซ้อมมือ เครื่องในสัตว์ ตับ -ช่วยบ้ารุงประสาทและการ -อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ถั่วไข่แดง มันเทศ ยีสต์ ท้างานของหัวใจ -การเจริญเติบโตหยุดชะงัก
-ช่วยในการท้างานของ -เป็นโรคเหน็บชา
ทางเดินอาหารการขับถ่าย
วิตามิน B2 ไข่ นม ถั่ว เนือหมู ปลา ผักสี -ช่วยในการเจริญเติบโต -ผิวหนังแท้แตก
เขียวผลไม้เปลือกแข็ง อย่างเป็นปกติ -ลินอักเสบ
- ท้าให้ผิวหนัง ลิน ตา มี -เป็นโรคเหน็บชา
สุขภาพที่ดีแข็งแรง
วิตามิน B6 ตับ เนือ นม ถั่วลิสง ถั่วเหลือง -ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน -มีอาการบวม
เนือปลา -ช่วยในระบบย่อยอาหาร -ปวดตามข้อ
ระบบประสาท -ประสาทเสื่อม
-บ้ารุงผิวหนัง -คันตามผิวหนังผมร่วง
ตารางแสดงแหล่งอาหารที่ให้วติ ามินละลายในน้าได้
วิตามินที่ละลายในน้าได้ แหล่งอาหาร หน้าที่ โรคเมื่อขาดอาหาร

วิตามิน C ผลไม้จ้าพวกส้ม ฝรั่ง มะละกอ -ช่วยรักษาสุขภาพของฟัน -เส้นเลือดฝอยเปราะ


ผักสด คะน้า กะหล่้าปลี มะเขือ และเหงือก -แผลหายยาก
เทศ -ท้าให้หลอดเลือดแข็งแรง

วิตามิน B12 ตับ ไข่ เนือปลา นม -ช่วยในการสร้างเม็ดเลือด -โรคโลหิตจาง


แดง ช่วยในการสังเคราะห์ -เจ็บลิน เจ็บปาก
DNA -เส้นประสาทไขสันหลัง
-ช่วยในการเจริญเติบโตของ เสื่อมสภาพ
เด็ก
แร่ธาตุ (mineral)
• แร่ธาตุหรือเกลือแร่เป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ร่างกายต้องการและขาด
ไม่ได้
• เพราะเป็นส่วนประกอบของอวัยวะและเนือเยื่อบางอย่าง เช่น กระดูกและฟัน
เลือด
• บางชนิดเป็นส่วนประกอบสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเจริญเติบโต
ภายในร่างกาย เช่น ฮีโมโกลบิน เอมไซม์ เป็นต้น
• ช่วยในการควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายให้ท้างานปกติ
แร่ธาตุที่จ้าเป็นต่อร่างกาย
แร่ธาตุ แหล่งอาหาร หน้าที่ประโยขน์ โรคอาการเมื่อขาดแร่ธาตุ
แคลเซียม (Ca) เนือ นม ไข่ ปลากินได้ทัง -เป็นส่วนประกอบที่ -โรคกระดูกอ่อนและฟันผุ
กระดูก กุ้งฝอย ผักสีเขียว ส้าคัญของกระดูกและฟัน -เลือดไหลออกและแข็งตัวช้า
เข้ม -ควบคุมการท้างานของ -เติบโตช้า
หัวใจ กล้ามเนือ และ
ระบบประสาท

ฟอสฟอรัส (P) เนือ นม ไข่ ปลากิน ได้ทัง -เป็นส่วนประกอบที่ -โรคกระดูกอ่อนและฟันผุ


กระดูก กุ้งฝอย ผักต่าง ๆ ส้าคัญของกระดูกและฟัน -เติบโตช้า
- ช่วยสร้างเซลล์สมอง
และประสาท
แร่ธาตุ แหล่งอาหาร หน้าที่/ประโยชน์ โรคอาการเมื่อขาดแร่
ธาตุ
กำมะถัน (S) เนื้อสัตว์ นม ไข่ -สร้ำงโปรตีนในร่ำงกำย ยังไม่ทรำบแน่ชัด
-สร้ำงกล้ำมเนื้อต่ำง ๆ

โพแทสเซียม (K) เนื้อ นม ไข่ งำ ข้ำว -ควบคุมกำรทำงำนของ -ทำให้หัวใจวำย


เห็ด ผักสีเขียว หัวใจกล้ำมเนื้อและ -เป็นสิวในวัยรุ่น
ระบบประสำท
แร่ธาตุซึ่งมีความจ้าเป็นต่อร่างกายจะต้องการในปริมาณที่น้อย แต่
ร่างกายจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะท้าให้ร่างกายมีความผิดปกติเกิดอาการต่าง
ๆ หรือโรคภัยไข้เจ็บ
การเลือกรับประทานอาหาร
• การเลือกรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วนจะท้าให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ความ
ต้องการพลังงานและสารอาหารแต่ละประเภทของร่างกายคนเรานีมีความแตกต่าง
กัน ขึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ
• 1. ความแตกต่างทางเพศ ท้าให้มีการเลือกรับประทานอาหารต่างกัน เช่น ผู้ใหญ่ใน
วัยท้างาน เพศชายต้องการพลังงานและอาหารมากกว่าหญิง
• 2. ความแตกต่างของวัย เช่น ผู้หญิงวัยทอง อายุประมาณ 20 ขึนไป จะมีความ
ต้องการสารอาหารน้อยกว่าผู้หญิงที่อยู่ในวัยเรียนและวัยรุ่น
• 3. สภาพร่างกาย เช่น หญิงมีครรภ์ ต้องการอาหารเพื่อส่งต่อไปให้ลูกที่อยู่ในครรภ์
คนป่วยต้องการสารอาหารบางประเภทจ้านวนมากเพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
นอกจากนียังมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอีก เช่น
- อุณหภูมิของอากาศ
- การท้างาน
- ความแตกต่างของขนาดในร่างกายของแต่ละคน
ตารางแสดงค่าพลังงานและสารอาหารในอาหารบางชนิดต่อมวล 100 กรัม
อาหาร(100 กรัม) ค่าพลังงาน โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เส้นใย
(kcal) (g) (g) (g) (g)

มะม่วง 62 0.6 0.3 15.9 0.5


เนือหมู 376 14.1 35.0 0 0
ไข่ไก่ 163 12.9 11.5 0.8 0
ต้าลึง 28 4.1 0.4 4.2 1.0
ผักบุ้งไทย 30 3.2 0.9 2.2 1.3
ก๋วยเตี๋ยว 88 1.0 0 20.3 -
ข้าวเจ้า 155 20.5 0.4 34.2 0.1
อาหาร(100 กรัม) ค่าพลังงาน โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เส้นใย
(kcal) (g) (g) (g) (g)

นมถั่วเหลือง 37 2.8 1.5 3.6 0.1

นมวัว 62 3.4 3.2 4.9 0


ถั่วสิสง 316 14.4 26.3 11.4 1.3
วุ้นเส้น 79 0 0.1 19.3 -
กล้วยน้าว้า 100 1.2 0.3 26.1 0.6
โทษของการขาดสารอาหาร
• โรคที่เกิดจากการขาดสารโปรตีนและแคลอรี : เป็นโรคที่เกิดจาก
ร่างกายได้รับสารอาหารประเภทโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
น้อยกว่าไป หรือสารอาหารเหล่านีมีคุณภาพไม่ดี โรคที่พบบ่อย
• -มักเกิดกับเด็กอายุต่้ากว่า 6 ปี อาการของโรคเมื่อเด็กขาด คือ
ร่างกายผอมแห้ง
- มีการบวมที่ท้อง หน้า ขา ศีรษะโต ผิวหนังเหี่ยว
• การแก้ไข
• - ดื่มนมวัว หรือนมถั่วเหลือง เพิ่มขึนเพราะน้านมเป็นอาหารที่
ประกอบด้วยสารอาหารที่สมบูรณ์ที่สดุ
โรคที่ขาดวิตามิน
• การขาดวิตามินเอ
- ท้าให้เกิดโรคตาฟาง ตาบอดกลางคืน

• วิธีป้องกัน
• -กินอาหารประเภทไขมัน และผักใบเขียว ใบเหลือง
เช่น มะละกอ คะน้า ต้าลึง ไข่ นม มะม่วงสุก ผักบุ้ง
โรคที่ขาดวิตามิน ขาดวิตามินบีหนึ่ง
- ท้าให้เกิดใจสั่น โรคหัวใจโตและเต้นเร็ว หอบ
เหนื่อย โรคเหน็บชา
• การป้องกัน
- กินอาหารที่มีวิตามินบีหนึ่ง เช่น ข้าวซ้อมมือ ถั่ว
เม็ดแห้ง
- ควรหลีกเลี่ยงอาการที่ล้าลายวิตามินบีหนึ่ง เช่น
ปลาร้า หอยดิบ หมาก เมี่ยง ใบชา
โรคที่ขาดวิตามินบีสอง
• -ท้าให้เกิดโรคปากนกกระจอก เป็นแผลที่ปาก

• ป้องกันได้โดย
• - กินนมสด น้าเต้าหู้ ถั่วเหลือง
โรคที่ขาดวิตามินซี
- ท้าให้เกิดโรคลักปิดลักเปิด
เลือดออกตามไรฟัน
• แก้ไข
• - ทานอาหารที่มีรสเปรียว เช่น ส้ม
มะนาว มะขาม มะเขือเทศ
โรคที่ขาดแร่ธาตุแคลเซียม
- เป็นโรคกระดูกอ่อน
- กระดูกไม่แข็งแรง มักจะเกิดกับเด็กและหญิงให้นมบุตร
• อาการ
• -จะท้าให้ข้อต่อกระดูกบวม ขาโค้งโก่ง กล้ามเนือหย่อน กระดูก
ซี่โครงด้านหน้ารอยต่อนูน
• ท้าให้อกเป็นสันเรียกว่า อกไก่
• การป้องกัน
• -ให้กินอาการจ้าพวกเครื่องใน เช่น ตับ หัวใจ เลือด เนือสัตว์ ผัก
ใบเขียว เป็นต้น
โรคที่ขาดธาตุเหล็ก
- เป็นโรคโลหิตจาง ร่างกายอ่อนแอ
- เบื่ออาหาร ความต้านทานโรคต่้า
- เปลือกตาขาวซีด
- ลินอักเสบ เล็บเปราะ
• การป้องกัน
- ให้รับประทานอาหารจ้าพวกเครื่องใน เช่น ตับ หัวใจ เลือด
เนือสัตว์ ผักใบเขียว เป็นต้น
โรคที่ขาดไอโอดีน
- โรคคอหอยพอก ต่อมไทรอยด์บวม และถ้าเป็นในเด็กจะท้าให้ร่างกาย
แคระ
- สติปัญญา หรือที่เรียกว่า โรคเอ๋อ
• ป้องกันได้
• -โดยกินอาหารทะเล ของเค็ม เกลือสมุทร (เกลือที่มาจากทะเล)
โรคอ้วน
• เกิดจากการที่ร่างกายรับประทานอาหาร มากเกินความต้องการของร่างกาย ท้าให้มี
การสะสมไขมันในร่างกายเกินความจ้าเป็น โรคอ้วนจะท้าให้มีอาการโรคอื่นผสมได้ง่าย
เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดัน เป็นต้น
• การป้องกัน
• -หมั่นออกก้าลังกาย เลือกรับประทานอาหารทีไ่ ม่มีไขมัน
• - ควรปรึกษาแพทย์ ไม่ควรกินยาลดน้าหนัก
Assignment!
รายงานเดี่ยว
• ส้ารวจรายการอาหารที่เรารับประทานใน ๑ วัน
• - อาหาร ๓ มือ เป็นอย่างน้อย
• - ถ่ายรูปอาหารนันๆ ประกอบ
• - วิเคราะห์ว่า อาหารเมนูนันๆ มีสารอาหารอะไรบ้าง
ได้จากวัตถุดิบอะไร?
• - อาหารเมนูนันๆ มีประโยชน์หรือโทษอย่างไรบ้าง?
ข้อมูลเว็บไซต์ เพิม่ เติม
• http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/food.htm
• Food for Health
• โปรตีน http://www.oknation.net/blog/print.php?id=245461

You might also like