You are on page 1of 12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕

วิชาสุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง เติบโตตามเกณฑ์ เวลา ๑ ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๑/๓วิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน
พ ๑.๑ ม.๑/๔ แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย

๒. สาระสำคัญ
การวิเคราะห์การเติบโตของตนเอง ต้องใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ส่วนแนวทางในการพัฒนา
ให้เติบโตนั้นมีหลายแนวทาง เราจึงต้องเรียนรู้และปฏิบัติเพื่อทำให้ตนเองเติบโตได้อย่างสมวัย
๓. เป้ าหมายการเรียนรู้
ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ หลักปรัชญา
สมรรถนะที่สำคัญ
(K) (P) อันพึงประสงค์ (A) เศรษฐกิจพอเพียง
๑. บอกเกณฑ์ ๑. ปฏิบัติตนให้ร่าง ๑. มีวินัย ๑. ความสามารถ ๑. หลักความพอ
มาตรฐานการเจริญ กายเจริญเติบโต ๒. ใฝ่ เรียนรู้ ในการคิด ประมาณ
เติบโตของวัยรุ่น ตามวัยได้ถูกต้อง ๓. มุ่งมั่นใน ๒. ความสามารถใน - นักเรียนรู้จักบริหาร
การทำงาน การใช้เทคโนโลยี เวลาในการทำ
๓. ความสามารถ กิจกรรมในการเรียน
ในการสื่อสาร การสอน
๔. ความสามารถ - นักเรียนทำกิจกรรม
ในการแก้ปัญหา ได้เต็มศักยภาพตนเอง

๔. สาระการเรียนรู้

๑. การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของวัยรุ่นตามเกณฑ์มาตรฐาน

๕. แนวทางบูรณาการการเรียนรู้

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(๑. หลักความพอประมาณ - นักเรียนรู้จัก
บริหารเวลาในการทำกิจกรรมในการเรียน
การสอน - นักเรียนทำกิจกรรมได้เต็ม
ศักยภาพตนเอง)
เติบโตตามเกณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
(การวาดกราฟและวิเคราะห์ภาวะการเจริญ
เติบโตของร่างกายเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน)
โดยนำค่าน้ำหนัก ส่วนสูง อายุ ไปเทียบกับ
เกณฑ์ของกรมอนามัย)
๖. การเตรียมตัวของผู้สอน
๑. ศึกษาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา และกำหนดเป้ าหมายการเรียนรู้
๒. ศึกษาเนื้อหาสาระ เรื่อง เติบโตตามเกณฑ์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ของบริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๓. วางแผนการจัดการเรียนการสอน และเตรียมสื่อ/นวัตกรรม
๗. สื่อ/นวัตกรรม
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. โปรแกรม PowerPoint เรื่อง เติบโตตามเกณฑ์
๓. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๑
๔. การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงวิดีโอและ
ข้อมูลต่างๆ ทำให้ผู้สอนสามารถนำสื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ไปยังผู้เรียนจากแอปพลิเคชัน
Aimphan Education
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้นี้ใช้วิธีการบูรณาการที่หลากหลายคือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบกรณีศึกษา

ชั่วโมงที่ ๕
ขั้นการกระตุ้นความสนใจ (๕ นาที)
๑. นักเรียนดูภาพที่ครูนำมา จากนั้นตอบคำถามกระตุ้นความคิดของครูว่า นักเรียนอยู่ในกลุ่มไหน

(ภาพตัวอย่าง)
๒. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นกับภาพดังกล่าว
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๕ นาที)
๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด และให้นักเรียนคิดวิเคราะห์จากคำถามต่อไปนี้
๓.๑ นักเรียนมีพัฒนาการการเจริญเติบโตต่างจากปี ที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง/สังเกตได้จากอะไร
๓.๒ ครูอธิบายเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
โดยนำค่าน้ำหนัก ส่วนสูง อายุ ไปเทียบกับเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
แล้วสอนให้นักเรียนศึกษาวิธีการอ่านกราฟและบันทึกผลในแบบบันทึกการเจริญเติบโต
ขั้นสอน (๓๐ นาที)
๔. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยกลุ่มละ ๕ คน นำผลการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ของทุกคนมาบันทึก
ในกราฟแผ่นเดียวกันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบกันถึงพัฒนาการในภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
แล้วส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการปฏิบัติของกลุ่ม เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนแสวงหา
แนวทางพัฒนาการทางกายของตนเอง
๕. ครูมอบหมายให้ทุกกลุ่มคิดแสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เติบโตสมวัย โดยวิธีการกระบวน
การกลุ่ม แล้วมีตัวแทนนำเสนอ

หมายเหตุ กิจกรรมในขั้นตอนนี้อาจใช้เวลาในการนำเสนองานของนักเรียน และร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้


แลกเปลี่ยนกัน ๒-๓ คาบ แล้วแต่จำนวนกลุ่มที่นำเสนอ เปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แสดง
ความคิดเห็น แนะนำในด้านการแสวงหาแนวทางในการพัฒนาให้เติบโตสมวัย แล้วสรุป
เป็นชิ้นงานกลุ่ม เลือกและทำชิ้นงานที่หลากหลายรูปแบบ

๖. ให้ทุกคนจัดทำแบบบันทึกการเจริญเติบโตของตนเอง ทั้งในรูปแบบข้อมูล และบูรณาการ


คณิตศาสตร์ในรูปแบบกราฟ เป็นชิ้นงานบุคคลส่งภายในสัปดาห์ต่อไป
๗. ครูสุ่มเลือกนักเรียนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งนำเสนอข้อมูล และวิธีการคำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย
โดยก่อนนำเสนอครูกระตุ้นด้วยคำถาม
- นักเรียนเคยได้ยินคำว่าดัชนีมวลกายหรือไม่/หมายถึงอะไร
- ดัชนีมวลกายเหมาะสมที่จะใช้กับใคร/มีสูตรอย่างไร
๘. ให้นักเรียนเลือกบุคคลในครอบครัว ๑ คน แล้วใช้สูตรหาค่าดัชนีมวลกายของบุคคลในครอบครัว
ท่านนั้นเพื่อประเมินว่าอยู่ในเกณฑ์ใด และควรแนะนำให้ปฏิบัติตนอย่างไร
ขั้นสรุป (๕ นาที)
๙. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๑
ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (๕ นาที)
๑๐. ตรวจสอบและประเมินใบงานในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๑ ใบงานที่ ๓.๓ เรื่องการ
เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของวัยรุ่น
๑๑. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง ภาวะการเจริญเติบโตของวัยรุ่น
๑๒.ครูผู้สอนเปิ ดโอกาสให้นักเรียนถามข้อสงสัย
หมายเหตุ การปฏิบัติงานของนักเรียนในแผนนี้ครูอาจบูรณาการขอความร่วมมือกับครูอนามัยของโรงเรียน
ในการฝึกนักเรียนทำสถิติลงในกราฟ สมุดบันทึกสุขภาพของนักเรียน
๙. การวัดและประเมินผล

เป้ าหมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน เครื่องมือ วิธีวัดผล เกณฑ์การประเมิน


ความรู้ ความเข้าใจ ๑. ใบงานที่ ๓.๓ เรื่องการเปรียบ ๑. แบบประเมิน ๑. สังเกตการร่วม ๑. ผ่านขั้นต่ำไม่น้อย
(K) เทียบการเจริญเติบโตของวัยรุ่น ใบงาน/ชิ้น กิจกรรมในชั้น กว่าร้อยละ ๖๐
งาน เรียน

ทักษะ/กระบวนการ ๑. กราฟเพื่อศึกษาเปรียบเทียบถึง ๑. แบบประเมิน ๑. สังเกตการร่วม ๑. ผ่านขั้นต่ำไม่น้อย


(P) พัฒนาการและแนวทางการพัฒนา ใบงาน/ชิ้น กิจกรรมในชั้น กว่าร้อยละ ๖๐
ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย งาน เรียน

คุณลักษณะอันพึง ๑. พฤติกรรม ๑. แบบประเมิน ๑. ตรวจด้วยการ ๑. ผ่านขั้นต่ำไม่น้อย


ประสงค์ (A) ในชั้นเรียน คุณลักษณะ สังเกตการร่วม กว่าร้อยละ ๖๐
อันพึงประสงค์ กิจกรรมในชั้นเรียน
สมรรถนะที่สำคัญ ๑. พฤติกรรม ๑. แบบประเมิน ๑. ตรวจด้วยการ ๑. ผ่านขั้นต่ำไม่น้อย
ในชั้นเรียน สมรรถนะ สังเกตการร่วม กว่าร้อยละ ๖๐
สำคัญของผู้ กิจกรรมในชั้น
เรียน เรียน
หลักปรัชญา ๑. หลักความพอประมาณ ๑. แบบสังเกต ๑. สังเกตพฤติกรรมผู้ ๑. ผ่านขั้นต่ำไม่น้อย
เศรษฐกิจพอเพียง - นักเรียนรู้จักบริหารเวลาในการทำ พฤติกรรมราย เรียนระหว่างการ กว่าร้อยละ ๖๐
กิจกรรมในการเรียนการสอน บุคคลตามหลัก เรียนรู้
- นักเรียนทำกิจกรรมได้เต็มศักยภาพ ปรัชญา
ตนเอง เศรษฐกิจพอ
เพียง

แบบประเมินใบงาน/ชิ้นงาน
กลุ่มที่.............เรื่อง........................................................................................................................
รายวิชา................................รหัสวิชา...............................ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่................................
คำชี้แจง ให้ครูผู้สอนทำเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน รวม หมายเหตุ
๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. รูปแบบของใบงาน/ชิ้นงาน
๒. ความถูกต้องของข้อมูล เนื้อหาสาระ
๓. ความตรงต่อเวลา
คะแนนรวม

ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/……….
เกณฑ์การประเมินแบบประเมินใบงาน/ชิ้นงาน
ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคุณภาพ
ประเมิน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. รูปแบบของ รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงาน
ใบงาน/ชิ้นงาน ต้องตามกำหนด มี ต้องตามกำหนด มี ต้องตามกำหนดมี ต้องตามกำหนดบาง ไม่ถูกต้องตาม
ความเป็นระเบียบ ความเป็นระเบียบ ความเป็นระเบียบ ส่วน กำหนด
เรียบร้อย ตกแต่ง เรียบร้อย แสดงถึง เรียบร้อย
อย่างสวยงาม แสดง ความคิดริเริ่ม
ถึงความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
สร้างสรรค์
๒. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระส่วนมาก เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระไม่ถูก
ของข้อมูล ครบถ้วน ละเอียด ครบถ้วน ละเอียด ถูกต้อง เพียงบางส่วน ต้อง
เนื้อหาสาระ ชัดเจน และมีการ ชัดเจน
สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
นอกเหนือจากบท
เรียน
๓. ความตรงต่อ ส่งงานภายในระยะ ส่งงานช้ากว่ากำหนด ส่งงานช้ากว่ากำหนด ส่งงานช้ากว่า ส่งงานช้ากว่า
เวลา เวลาที่กำหนด ๑ วัน ๒ วัน กำหนด ๓ วัน กำหนดเกิน ๓ วัน
ขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๓ – ๑๕ ดีมาก
๑๐ – ๑๒ ดี
๗–๙ ปานกลาง
๔–๖ พอใช้
๑–๓ ควรปรับปรุง
แบบสรุปผลการประเมิน
สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
ภาคเรียนที่…………………….ปี การศึกษา…………………

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะ
รหัสวิชา…………………………………………………………..

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด
ชื่อวิชา……………………………………………………………
ชั้น…………………………………………………………..……

รวมคะแนน
กลุ่ม…………………………………………..……………….….

ชีวิต
รหัส
ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๒๐
ประจำตัว

หมายเหตุ การให้คะแนนปรับเปลี่ยนได้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอนและสถานศึกษา


แบบรวมคะแนนการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ-สกุล…………………………………………………………....รหัสประจำตัว…………………………….…..…
ระดับชั้น………………..กลุ่ม………………...แผนกวิชา…………………….……………………………..….……
คะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์
ระดับพฤติกรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายเหตุ
ดีมาก ดี พอใช้ ควรแก้ไข
๓ ๒ ๑ ๐
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒.ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่ เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗.รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
หมายเหตุ คะแนนรวมภาคเรียนได้จากการนำคะแนนแต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์มารวมกัน แล้วหารด้วย ๘ (คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์)
คะแนนรวม ๘ ค่านิยมไทย = …………………..
คะแนนเฉลี่ย = …………………..

ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/………..

แบบสังเกตพฤติกรรมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………..…..รหัสประจำตัว……………………………..……………..
ระดับชั้น………………..…….……………………….....แผนกวิชา…………………….………………………………….…………

สรุปผล
พฤติกรรมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน ไม่ผ่าน หมายเหตุ
๑ ๐
หลัก ๑. หลักพอประมาณ ตัวอย่างพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้

๑. ปฏิบัติกิจกรรมได้เหมาะสมตามวัย
ห่วง
๒. วางแผนการสร้างเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับฐานะ
ของตนเอง
๓. ใช้เทคโนโลยีสุขภาพได้เหมาะสมและ
สอดคล้องต่อความต้องการ
๔. ช่วยเหลือผู้อื่นด้านสุขภาพตามกำลังความ
สามารถของตน
๕. อื่นๆ................................................................
๖. อื่นๆ................................................................
๒. หลักเหตุผล ตัวอย่างพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้
๑. ตัดสินใจด้วยตนเองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
และคุณธรรม จริยธรรม
๒. มีหลักเหตุและผลในการสร้างเสริมสุขภาพ
๓. เข้าใจความแตกต่างของสังคมและอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นได้
๔. ใช้ทรัพยากรในการสร้างเสริมสุขภาพให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
๕. อื่นๆ................................................................
๖. อื่นๆ................................................................
๓. หลักสร้างภูมิคุ้มกัน ตัวอย่างพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้
๑. ดูแลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของตนเอง
๒. เลือกรับวัฒนธรรมทางสุขภาพที่เหมาะสมกับการ
ดำเนินชีวิต
๓. สามารถปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงในด้าน
ต่างๆ ภายในสังคมได้อย่างมีความสุข
๔. นำประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสร้างเสริมสุขภาพ
๕. อื่นๆ................................................................
๖. อื่นๆ................................................................

สรุปผล
พฤติกรรมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน ไม่ผ่าน หมายเหตุ
๑ ๐
๑. เงื่อนไขความรู้ ตัวอย่างพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้
๑. นำความรู้และความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุข
ภาพไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
๒. มีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมในการสร้าง
เสริมสุขภาพ
๓. มีความรู้ในทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชา
สุขศึกษาอย่างถูกต้อง
๔. มีความรู้และความเข้าใจเรื่อง การใช้จ่ายทาง
สุขภาพ รู้วิธีเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายอย่างถูกต้อง
หลัก ๕. อื่นๆ................................................................

เงื่อนไข ๖. อื่นๆ................................................................
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ตัวอย่างพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้
๑. มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเอง
๒. ไม่ทุจริตในการสอบ
๓. ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพของสังคมที่ตนอาศัย
อยู่และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานั้น
๔. มีความสุภาพ เรียบร้อย รู้กาลเทศะ
๕. อื่นๆ................................................................
๖. อื่นๆ................................................................
รวมคะแนน

หมายเหตุ : แบบสังเกตนี้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ โดยข้อที่เว้นไว้ (อื่นๆ) เพื่อให้ผู้สอนสามารถเพิ่มเติมเรื่องที่ต้องการ


ประเมินตามสภาพจริง

เกณฑ์ประเมินการสังเกตพฤติกรรม
๒๖-๓๐ คะแนน = ดีมาก (มีพฤติกรรมที่กำหนดหรือใกล้เคียง ๒๖-๓๐ รายการ)

๒๑-๒๕ คะแนน = ดี (มีพฤติกรรมที่กำหนดหรือใกล้เคียง ๒๑-๒๕ รายการ)

๑๖-๒๐ คะแนน = พอใช้ (มีพฤติกรรมที่กำหนดหรือใกล้เคียง ๑๖-๒๐ รายการ)

๐-๑๕ คะแนน = ปรับปรุง (มีพฤติกรรมที่กำหนดหรือใกล้เคียง ๐-๑๕ รายการ)

ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/………..
บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
. .........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
ลงชื่อ......................................ผู้นิเทศ
ตำแหน่ง..................................
หมายเหตุ
แบบฟอร์มอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความคิดเห็นของแต่ละโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนที่เข้าสู่
โรงเรียนมาตรฐานสากล โครงการงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนในฝัน
โรงเรียนต้นแบบต่างๆ อาจมีการประเมิน หรือตัวชี้วัดอื่นๆ ที่โรงเรียนกำหนด นำเข้ามาใช้ในเรื่องของ
การบูรณาการในการสอนแต่ละเรื่องแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องได้

You might also like