You are on page 1of 66

สัปดาห์ที่ ๑๒

เคมีไฟฟ้ า
เคมีไฟฟ้ า
ปฏิกิริยารีดอกซ์
เซลล์กัลวานิก
ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่นมาตรฐาน
การเกิดขึน้ เองได้ของปฏิกิริยารีดอกซ์
ผลของความเข้มข้นต่อค่า emf ของเซลล์
แบตเตอรี่
การกัดกร่อน
การแยกสลายด้วยไฟฟ้ า
เคมีไฟฟ้ า(electrochemistry)
• เคมีไฟฟ้ า คือ สาขาของเคมีที่เกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานไฟฟ้ าและ
พลังงานเคมี
ปฏิกิริยารีดอกซ์

• กระบวนการไฟฟ้ าเคมี คือ ปฏิกิริยารีดอกซ์


(ออกซิเดชั่น-รีดักชั่น)
ปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยา
ไฟฟ้ า
 ปฏิกิริยารีดอกซ์ จะมีการถ่ายโอน e จากสาร
หนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง เช่น
เลขออกซิเดชั่น
0 +1 +2
0
Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq)
เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell)
การทดลองจุ่มโลหะสังกะสี
(Zn) ลงในสารละลาย
CuSO4
ผล โลหะสังกะสี (Zn) กร่อน
และมีโลหะสีน้ำตาล
แดง(Cu)มาเกาะที่สังกะสี
สารละลายสี ฟ้าจางลง
Zn(s) + Cu (aq)  Zn2+(aq) +
2+

Cu(s)
Zn เป็ นตัวรีดิ Cu2+ตัวออกซิ
วส์ เกิดปฎิ ไดส์
เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell)
• ทำโดยแยกตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวส์ออกจาก
กันแล้วใช้ตัวกลางที่นำไฟฟ้ าช่วยในการถ่าย
โอน e
• เมื่อปฏิกิริยาเกิดสม่ำเสมอก็จะมีการไหลของ
e- เกิดกระแสไฟฟ้ าขึน ้

6
นิยามในเรื่องของเซลล์กัล
วานิก
• แอโนดคือขัว ้ ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
• แคโทด คือ ขัว ้ ที่เกิดปฎิกิริยารีดักชั่น
• กระแสไฟฟ้ า(e)ไหลจากขัว ้
แอโนด(Zn)ไปแคโทด(Cu)
• ขัว
้ สังกะสี คือ แอโนด (anode =
oxidation)
Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-
• ขัว้ ทองแดง คือ แคโทด (cathod =
reduction)
• สะพานเกลือ(salt bridge) : เป็ นตัวกลางที่
นำไฟฟ้ า ทำให้วงจรไฟฟ้ าสมบูรณ์ ให้
ไอออนสามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางด้าน
หนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งได้
• เป็ นท่อรูปตัวยู(U)กลับหัว ภายในบรรจุสาร
ละลายอิเล็กโทรไลต์ที่ไม่ทำปฏิกิริยากับ
ไอออนอื่นในสารละลาย เช่น KCl ,
KNO3หรือ NH4NO3
ความต่างศักย์ของเซลล์
 ความต่างศักย์ของเซลล์ คือ ความแตก
ต่างของศักย์ไฟฟ้ าระหว่างแอโนด กับ
แคโทด
 วัดด้วยโวลท์มิเตอร์
 อาจแทนด้วยคำว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้ า หรือ
emf(E) และศักย์ของเซลล์
 ความต่างศักย์ของเซลล์ ขึน้ กับ ธรรมชาติ
ของอิเล็กโทรด และไอออน , ความเข้ม
ข้นของไอออน และอุณหภูมิที่เซลล์ทำงาน
การเขียนแผนภาพเซลล์หรือเซลล์
ไดอะแกรม
ของเซลล์กัลวานิก
เส้นเดียวแทนขอบเขตวัฎ
ภาค

Zn(s) Zn (1M) 2+

Cu (1M) Cu(s)
2+

เขียนแอโนด เขียนแคโทด
เส้นตัง้ ฉากคู่
ทางซ้ายของ ทางขวาของ
แทนสะพานเกลือ
เส้นคู่ เส้นคู่
11
ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่นมาตรฐาน(E ) o

• ภายใต้สภาวะ
มาตรฐาน(ความเข้มข้น
สารละลาย 1 M, P=1
atm, T= 25oC)
• ศักย์ไฟฟ้ าสำหรับปฏิกิริยา
รีดักชั่นของ H+ มีค่า = 0
ดังนี ้
2H+(1M)+2e ขัว
้ ไฮโดรเจนมาตรฐาน
-
H2(1atm)
(standard hydrogen elect
E =0 V
o
: SHE
• Eo= ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่
SHE ใช้วัดศักย์ไฟฟ้ าของอิเล็กโทรด
อื่นๆได้
เช่น Zn(s) / Zn2+(1M) // H+(1M)
/H2(1atm) / Pt(s)
anode: Zn(s) Zn2+(aq)+2e-
cathode: 2H+(1M)+ 2e-  H2(1atm)

Redox: Zn(s)+ 2H+(1M) Zn2+(aq)+


EH
0
=E0
– E0
2(1atm)
cell cathode anode
E0cell = E0H+/H2 – E0Zn2+/Zn
0.76 V = 0 - E0Zn2+/Zn ,  E0Zn2+/Zn =
-0.76 V
Note: Pt(s) ทำหน้าที่เป็ นพื้นผิวให้เกิด 13
SHE ใช้วัดศักย์ไฟฟ้ าของอิเล็กโทรด
อื่นๆได้+
Pt(s) / H2(1atm) / H (1M)//
Cu2+(1M) / Cu(s)
anode: H2(1atm)  2H+(1M)+ 2e-
cathode: Cu2+(aq)+2e-  Cu(s)
Redox: H2(1atm) +Cu2+(1M) 
2H+0(1M) +Cu(s)
E cell = E0cathode – E0anode
E0cell = E0Cu2+/Cu – E0H+/H2
0.34 V = E0Cu2+/Cu - 0 ,  E0Cu2+/Cu
= 0.34 V
า E ของ Zn และ Cu เอามาหา emf
0

ของเซลล์ได้
Zn(s) /Zn2+(1M) // Cu2+(1M) /Cu(s)
anode: Zn(s)  Zn2+(1M)
+2e-
cathode: Cu2+(1M)+2e-  Cu(s)
Redox: ค่า emf
Zn(s)ของเซลล์
+Cu2+(1M) 
Zn2+(1M) +Cu(s)
เท่ากับ
E0cell = E0cathode – E0anode
E0cell = E0Cu2+/Cu–
E0Zn2+/Zn 15
ตาราง ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่นมาตรฐาน
ที่ 25oC
ตาราง ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่นมาตรฐานที่
25oC
ตาราง ศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่นมาตรฐาน
ที่ 25 C
o
สรุปข้อมูลจากตารางศักย์ไฟฟ้ ารีดักชั่
นมาตรฐาน
 ค่า E0 เป็ นค่าของปฏิกิริยาไปข้างหน้า(รีดัก
ชั่น)
 ค่า E0 เป็ น + มาก แสดงว่า สามารถรับ e-
ง่าย
(เป็ นตัวออกซิไดส์แรง) เช่น F2
 ค่า E0 เป็ น - มาก แสดงว่าสามารถรับ e-
ยาก(ให้ e-ง่าย) (เป็ นตัวรีดิวส์แรง) เช่น Li+
 ถ้าเขียนสมการกลับข้าง ค่า E0 เปลี่ยน
เครื่องหมายเป็ นตรงกันข้าม เช่น Li+ + e- 
Li(s) E0 = -3.05
 เขียนกลับสมการ Li(s)  Li+ + e- E0 =
+3.05
สรุปข้อมูลจากตารางศักย์ไฟฟ้ ารีดัก
ชั่นมาตรฐาน
• ครึ่งปฏิกิริยานี ้ ผันกลับได้ (เป็ นได้ทงั ้ แอโนด
และแคโทด) ขึน ้ กับว่าไปจับคู่กับอะไร ถ้าอยู่
บรรทัดบน(มากกว่า) จะเป็ นแคโทด(รับ e-) อยู่
บรรทัดล่าง(น้อยกว่า)เป็ นแอโนด(ให้ e-) เรียก
ว่า กฎทแยงมุม
Cu2+ (1M) + 2e-  Cu(s) E0 = 0.34
Zn2+ (1M) + 2e-  Zn(s) E0 = -0.76
ปฏิกิริยาที่เกิด คือ
Zn(s) Zn2+ + 2e- E0 =
-0.76 E 0
cell=0.34-(-
Cu2++ 2e-  Cu(s) E0 = 0.34
Ex. จงทำนายการเกิดปฏิกิริยา
เมื่อเติม Br2 ลงใน
สารละลายที่มี NaCl และ NaI-
•ใน สลล. มี Br2 , Na , Cl , I
+ -

•ดูตาราง 21.1 เรียงค่า E0


•Cl2(g)+2e-  2Cl- E0 = +1.36
•Br2(l)+2e-  2Br- E0 = +1.07
E0cell=+1.07-
•I2(s) + 2e-  2I- E0 = +0.53
(+0.53)
•Na+ + e-  Na(s) E0 = -2.71 =+0.54
•สรุป anode 2I-  I2(s) + 2e-
cathode: Br2(l)+2e-  2Br-
Redox: 2I-(1M) +Br2(l)  I2(s) + 2Br- 21
แบบฝึ กหัด Sn สามารถรีดิวส์ Zn2+
ภายใต้สภาวะมาตรฐานได้หรือไม่
 ดูตาราง 21.1 เรียงค่า E0
 Sn2+(aq) + 2e-  Sn(s) E0= -0.14

 Zn2+(aq) + 2e-  Zn(s) E0= -0.76


 ตามกฎทแยงมุม Sn ไม่สามารถรีดิวส์
Zn2+ ได้
 หรือดูว่า Zn2+ มีค่า E0= -0.76 น้อยกว่า
Sn2+ ทำให้ไม่สามรถชิง e- จาก Sn ได้ จึง
ไม่เกิดปฏิกิริยา
แบบฝึ กหัด 21.3 จงคำนวณค่า emf ของ
เซลล์กัลวานิกที่ประกอบด้วยแคดเมียมอิเล็กโท
รดใน สลล. Cd(NO3)2 1M และโครมเมียมอิ
เล็กโทรด ใน สลล. Cr(NO3)3 1M ที่ 25oC
• มี Cd กับ Cr ดูตาราง 21.2 เรียงค่า E0 ด้วย
• Cd2+ + 2e-  Cd(s) E0 = -0.40
• Cr3+ + 3e-  Cr(s) E0 = -0.74
• ใช้กฎทแยงมุม หรือ ดูว่า Cd2+ ชิง e- ได้ดี
กว่า Cr3+ ดังนัน
้ Cd เป็ นแคโทด(รีดักชั่น)
Cr เป็ นแอโนด(ออกซิเดชั่น)
• emf = E0cat – E0an = -0.40-(-0.74)
=-0.40+0.74= 0.34
ผลของความเข้มข้นต่อค่า emf
ของเซลล์
การหาค่า E cell ในกรณีไม่ใช่สภาวะ
0

มาตรฐาน เช่น ความเข้มข้นไม่ใช่ 1 M เรา


จะใช้สมการเนินสท์(Nernst Equation) ใน
การคำนวณ ค่า E เป็ น + จึงเกิดปฏิกิริยา ถ้า
เป็ น – แสดงว่าไม่เกิด(หรือเกิดในทิศตรง
ข้าม)E = E0
cell– 0.0257V ln Q ที่ 25oC
หรือ n
E = E0cell– 0.0592V log ทีQ่ 25oC
n = จำนวน e- ที่ถ่าnยเทในปฏิกิริยารวมของ
ลล์
Q = ผลหารปฏิกิริยา(จากเรื่องสมดุลเคมี)
0 0 0
ทบทวนเรื่องค่าผลหารปฏิกิริยา(Q)ใน
เรื่องสมดุลเคมี
จากสมการ aA + bB cC +
dD ความเข้มข้น
จะได้ว่า สารละลายใช้
หน่วย
โมล/ลิตร(M/l)
Q= [C] .[D] ย่อย(atm)
c dแก๊สใช้ความดัน

[A] .[B]
a b

25
ตย. Zn(s)+Cu (aq)  Zn
2+ 2+

(aq)+Cu(s)
Cu2++ 2e-  Cu(s) E0 = 0.34
Zn2++ 2e-  Zn(s) E0 = -0.76
E0cell = E0cat – E0an = 0.34-(-0.76)
= ย1.10
เขี V
นสมการเนิ นสท์ ดังนี ้
E = 1.10V– 0.0257V ln
[Zn ]
2+ 2 [Cu 2+
]

เอาค่าความเข้มข้น(โมล/ลิตร หรือ atm มา


ใส่แล้วคำนวณ)
Ex จงทำนายปฏิกิริยานีว ้ ่าเกิดได้เองหรือไม่
ที่ 298 K Co(s)+Fe2+(aq)  Co2+(aq
)+Fe(s)
กำหนดให้ [Co2+]=0.15M , [Fe2+]=0.68
M
• Anode: Co(s) Co2+(aq)+2e- E0=
-0.28
• Cathode: Fe2+(aq)+2e-  Fe(s)
E0= -0.44 ล บ
• E0cell = (-0.44)-(-0.28) = -0.16 Vเป็น ม่เกิด
E =-0.16V–
• แทนค่าสมการเนิ0.0257V
น สท์ ln [Co 2+
] ไ
n [Fe2+]
E =-0.16V– 0.0257V ln=[0.15]
2 [0.68]
-0.14V 27
แบบฝึ กหัด 21.6 จงทำนายปฏิกิริยานีว ้ ่า
เกิดได้เองหรือไม่ที่ 25oC Cd(s)+Fe2+(aq)
 Cd2+(aq)+Fe(s)
กำหนดให้ [Fe2+]=0.60M, [Cd2+]=0.010
M•
Anode: Cd(s) Cd2+(aq)+2e-
E0= -0.40
• Cathode: Fe2+(aq)+2e-  Fe(s)
E0= -0.44
• E0cell = -0.44-(-0.40) = -0.04 V ป็น+
E =-0.04V– 0.0257V ln เ
ก ิด
• แทนค่2+าสมการเนิ
n น[Fe
สท์ ]
2+ เ
[Cd ]
E =-0.04V– 0.0257V ln=
[0.01] 2 [0.60]
+0.0126V
แบบฝึ กหัด จงคำนวณค่า emf ของเซลกัลป์
วานิก ที่ประกอบ
ด้วยครึ่งเซลล์ Cd2+/Cd และPt/H+/H2 เมื่อ [
Cd2+]=0.2M,[H+]=0.16M,PH2=0.8 atm
• Anode: Cd(s)  Cd2+(aq)+2e- E0 =
-0.40
• Cathode: 2H+(aq) +2e-  H2(g) E0= 0
• Redox: Cd(s)+2H+(aq)Cd2+(aq)+H2(g)
E0cell=0-(-
+
E =0.4V– 0.0257V ln[Cd ][H ]ป็ น
0.4)=0.4V 2เ
2+

n นสท์ [H ] ก ด

• แทนค่าสมการเนิ
+ 2

E =0.4V– 0.0257V ln [0.2][0.8]
=
2 [0.16]2 +0.376V 29
เซลล์ความเข้มข้น
 จะใช้สารชนิดเดียวกัน/ไอออนเดียวกันมา
ทำเซลล์กัลวานิก เพื่อให้กระแสไฟฟ้ าก็ได้
 แต่ต้องให้ความเข้มข้นไอออนต่างกัน จึง
จะมีความต่างศักย์ไฟฟ้ าเกิดขึน้ ได้
 เซลล์ชนิดนีเ้ รียกว่า “เซลล์ความเข้มข้น”
 เช่น
Zn(s)/Zn2+(0.1M)//Zn2+(1M)/Zn(s)
Zn(s)/Zn2+(0.1M)//Zn2+(1M)/Zn(s)

 Anode: Zn(s) 
Zn2+(0.1M) + 2e-
 Cathode: Zn2+(1M)+2e-  Zn(s)
 Redox: Zn2+(1M) 
Zn2+0 (0.1M)
E =E cell– 0.0257V ln
 ค่า 2+emf ของ
n cell
[Zn เท่
2+
] า กั บ
[Zn ]dil conc

E = 0 – 0.0257V ln= +0.0296V


[0.1] 2 [1] 31
เซลล์ชีวภาพ คือ เซลล์ความเข้มข้น
นั่นเอง

• ศักย์ไฟฟ้ าของ mambrane คือ ศักย์ไฟฟ้ า


ที่เกิดขึน
้ ทัง้ 2 ด้านของเมมเบรนชนิดต่างๆ
ของเซลล์
• ศักย์ของเซลล์ทำให้เกิดการแพร่ขยายของ
สัญญาณประสาทและการเต้นของหัวใจ32
 การฝึ ก หลายระดับ หลายหลักสูตร ของ
สถาบันทหาร-ตำรวจ
ในหลายๆประเทศ ไม่เฉพาะแต่
ประเทศไทย มักจะมีส่วนใดส่วนหนึ่งที่ให้
ผู้รับการฝึ กขาดน้ำ มากน้อยแตกต่างกัน ซึ่ง
จะเชื่อมโยงถึงการเสียเกลือแร่ด้วย
 ก็คงจะมีประโยชน์ และได้ฝึกการปรับตัว ฝึ ก
ความอดทนได้บ้าง  แต่ ทัง้ ผู้ฝึก และผู้รับ
การฝึ ก มีความรู้เพียงพอหรือไม่ ได้รับคำ
แนะนำเพียงพอหรือไม่ มีความรอบคอบเฝ้ า
ระวัง ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงและสัญญา
นอันตรายต่างๆของร่างกายได้ถูกต้องทัน
 ทหาร-ตำรวจ หลายคนมี "หัวจิตหัวใจ" ที่
แข็งแกร่งกว่า
ขีดจำกัดของร่างกาย   เขาไม่มีวันจะยอม
แพ้ เขาไม่มีวันจะขอพักขอทุเลาการฝึ ก เขา
ไม่มีวันจะออกนอกแถว เขาไม่มีวันจะทิง้
เพื่อนหรือทิง้ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
 เราได้ยินข่าวสูญเสียคนพวกนีไ้ ป คนแล้วคน
เล่า ในบางหลักสูตรที่หนักหนาสาหัส ทัง้ ใน
ประเทศและต่างประเทศ จากการขาดน้ำ
และขาดเกลือแร่
 หลาย สถาบันพยายามที่จะลดความสูญเสีย
ตรงจุดนี ้ โดยการ ศึกษา ติดตามความรู้
ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาทีเกี่ยวข้อง และ
นำมาใช้ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับภารกิจอย่ 34
าง
เหตุผลที่ขาดสมดุลเกลือแร่แล้วเสีย
ชีวิตได้
•  เกลือแร่ เป็ นสิ่งจำเป็ นต่อร่างกายมาก ที่
สำคัญก็มี โซเดียม โปตัสเซียม และแคลเซี่ยม
การทำงานของกล้ามเนื้อทุกส่วน จะต้องมี
กระบวนการแลกเปลี่ยนสารเหล่านี ้ เข้าๆ
ออกๆเซลล์ต่างๆของร่างกายรวมทัง้ เซลล์
กล้ามเนื้อหัวใจ
• แคลเซี่ยมก็สำคัญมาก ขาดนิดขาดหน่อย
หัวใจจะเต้นไม่ปกติ แต่โชคดีที่ร่างกายมีแคล
เซี่ยมสะสมอยู่มากในกระดูก พอจะหมุนเวียน
มาสนับสนุนได้
  
osapol http://www.afaps.ac.th/forum/index.php?topic=
เหตุผลที่ขาดสมดุลเกลือแร่แล้วเสีย
ชีวิตได้
  โซเดียม ก็สำคัญ แต่มีปริมาณในเลือดสูงกว่า
โปตัสเซียม ขาดไปบ้างก็ยังพอมีเวลาปรับตัว
ไหว เช่นมี ๑๔๐ ขาดไป ๑๐ ก็ยังเหลือ ๑๓๐
คิดเป็ นเปอร์เซนต์ก็ไม่มากนัก
 แต่โปตัสเซียม มีแค่ระดับหลักหน่วย สมมุติว่า
มี ๔  ถ้าขาดไป ๑ เหลือ ๓ เท่ากับว่าขาดไป
ถึง ๒๕ เปอร์เซ็นต์
 การขาดโปตัสเซียมทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
และหยุดเต้นได้
 การออกกำลังกายหนัก มีเหงื่อออกมาก จะ
เสี ย โซเดี ย มได้ ม าก
tp://www.afaps.ac.th/forum/index.php?topic=7.60

แหล่งอาหารโปแตสเซียม
 กระจายอยู่ในอาหารทั่วไปตามธรรมชาติ
ทัง้ ในพืช สัตว์ เช่น ในถั่ว ธัญพืช ผักใบ
เขียว เนื้อสัตว์ต่างๆ ผลไม้ต่างๆ เช่น ส้ม
กล้วย ลูกพรุน
 โปแตสเซียมที่อยู่ในอาหารจะอยู่ในรูป
เกลือหรือสารประกอบที่ละลายน้ำได้ดี
หลักการดื่มน้ำ
 ข้อมูลวิจัยพบว่า หลังออกกำลังกายแล้ว ให้
ดื่มน้ำ
 พบว่า แต่ละคนดื่มน้ำไป ประมาณ สามใน
สี่ส่วน ของปริมาณน้ำ(เหงื่อ)ที่เสียไปเท่านัน

ก็จะพึงพอใจ รู้สึกสดชื่น หายกระหายน้ำ
 ดังนัน ้ เมื่อเล่นกีฬา หรือ ออกกำลังกายใดๆ
แล้ว  หากเราดื่มน้ำไปสามแก้ว แล้วรู้สึกว่า
สดชื่น พอเพียง หายกระหายแล้ว  แสดงว่า
ร่างกายเรายังขาดน้ำอีกประมาณหนึ่งแก้ว
 ให้ด่ ม
ื เพิ่มไปอีก 1 แก้ว ให้เพียงพอกับ
ความต้องการ
เราต้องทดแทนเกลือแร่มากน้อย
แค่ ไ หน
  โดยทั่วไป คนปกติ ที่แข็งแรงดี มักจะมี
ปริมาณเกลือแร่ที่จำเป็ นสำรองอยู่ในระบบ
ต่างๆของร่างกายอย่างพอเพียง โดยไม่ต้อง
ทดแทนเพิ่มเติมเป็ นพิเศษใดๆ หากออกกำลัง
กายหนักปานกลาง เป็ นเวลาประมาณ ๔๕
นาที ถึง ๑ ชม. หรือเต็มที่ก็ หนึ่งชั่วโมงครึ่ง
ซึ่งเป็ นเกณฑ์ที่คนทั่วๆไปเล่นกีฬา หรือออก
กำลังกายเพื่อสุขภาพกันโดยทั่วไป
 แต่ในการเล่นกีฬาหนักๆเพื่อการแข่งขัน หรือ
การฝึ กต่างๆ ในระบบของทหาร-ตำรวจ จะมี
ความหนัก ความนาน มากกว่าที่กล่าวไว้แล้ว
มักจะมีการเสียเหงื่อ(ซึ่งก็คือเสียน้ำและเกลือ
แร่) มากจนถึงจุดที่จำเป็ นจะต้องได้รับ
แบตเตอรี่
 แบตเตอรี่ เป็ นเซลล์กัลป์ วานิก หรือ
อนุกรมของเซลล์กัลป์ วานิก ที่ต่อกันแล้ว
สามารถใช้เป็ นแหล่งไฟฟ้ าได้
แบตเตอรี่ชนิดเซลล์แห้ง(dry cell
battery)
คือ เซลล์เลดลังเช่
ใช้ในกระบอก
ไฟฉาย,วิทยุ
แอโนด คือ กระบอก
สังกะสี ที่สัมผัสอยู่กับ
MnO2 และ อิเล็กโทรไลต์
(NH4Cl,ZnCl2ในน้ำ)
มีศักย์ไฟฟ้ าประมาณ 1.5
V
แบตเตอรี่ปรอท
 ใช้มากในอุตสาหกรรมการ
แพทย์และอิเล็กทรอนิกส์
 ราคาสูงกว่าเซลล์แห้ง
 บรรจุในกระบอกเหล็กกล้า
ไร้สนิม
 Zn(Hg)
+HgO(s)ZnO(s)+Hg(l
 ให้ศักย์ไฟฟ้ า 1.35V คงที่
กว่า
แบตเตอรี่ตะกั่ว

มี 6 เซลล์ ให้


กระแสไฟฟ้ า
เซลล์ละ 2 V
รวม 12V
สามารถชาร์จ
ใหม่ได้
Anode: Pb(s)+SO42-(aq) เกิ ดปฏิ4ก(s)+2e-
PbSO ิริยาย้อน
Cat: PbO2(s)+4H+(aq)+SO42-กลั บได้
(aq)+2e-
PbSO4(s)+2H2O(l)
ข้อควรทราบเกี่ยวกับแบตเตอรี่
 ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้ าในแบตเตอรี่ ใช้กรดซัล
ฟุริก ดังนัน
้ ระดับการปล่อยประจุไฟฟ้ า
ของแบตเตอรี่ สามารถตรวจสอบได้โดย
การวัดค่าความหนาแน่นของอิเล็กโทร
ไลต์(กรดซัลฟุริก) ด้วยไฮโดรมิเตอร์ ควรมี
ค่าเทากับ หรือมากกว่า 1.2 g/mg
 ในพื้นที่อากาศหนาวเย็น จะสตาร์ทรถติด
ยาก เนื่องจาก ความหนืดของอิเล็กโทร
ไลท์เพิ่มขึน้ ไอออนเคลื่อนที่ได้ช้ามาก
ทำให้กำลังไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ลดลง
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
 ใช้ Li ซึ่งให้ e-ง่ายที่สุด
นน.เบาที่สุด
 Recharge ใหม่ได้ หลายร้อย
ครัง้
 ใช้กับ Notebook,มือถือ,กล้อง
ดิจิทัล
 Anode: Li(s)Li+ + e-
 Cathode:Li++CoO2 +e-
LiCoO2(s)
เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell)

 เป็ นเซลล์กัลวานิกที่
ต้องป้ อนสารตัง้ ต้น
อย่างต่อเนื่องให้
สามารถทำงานได้
 เช่น เชื้อเพลิง H2-
O2ใช้งานในยาน
อวกาศ ได้น้ำมาให้
นัก-บินอวกาศบริโภค
Anode: 2H2(g) + 4OH (aq) 
4H2O(l) + 4e-
Cathode: O (g) + 2H O(l) +4e- 4OH-
การกัดกร่อน(Corrosion)

 เป็ นการเสื่อมสภาพของโลหะโดย
กระบวนการเคมีไฟฟ้ า
 การเกิดสนิม ก่อให้เกิดการสูญเสีย
งป.ทร.ในการซ่อมบำรุงเรือรบ เป็ นวงเงิน
จำนวนมาก
H+มาจาก CO2
กับ น้ำ เกิด
เป็ นกรด HFe(s)
Anode: 2CO 3  Fe2+
(aq)+2e-
E0
=
-0.44V
Cathode: O2(g)+4H+(aq)+4e-2H2O(l)
E0= 1.23V
Redox: 2Fe(s)+O2(g)+4H+(aq) 2Fe2+(aq)
+ 2H2O(l)
0 48
Fe2+ ถูกออกซิไดส์ต่อด้วย O2 เป็ น
Fe2O3.xH2O
 4Fe2+(aq)+O2(g)+(4+2x)H2O(l)
2Fe2O3.xH2O(s)+8H+(aq)
 Fe2O3.xH2O คือ สนิมเหล็ก
 มีความพรุน ทำให้น้ำและออกซิเจนเข้าทำ
ปฏิกิริยาต่อได้
 ดังนัน
้ เมื่อเกิดสนิมแล้ว
จะผุกร่อนต่ออย่างรวดเร็ว
สนิมของอะลูมิเนียม(ออกไซด์ของ
อะลูมิเนียม)

 Al เกิดออกไซด์ได้ง่ายกว่าเหล็ก(เสีย e-
ง่ายกว่า)
 แต่ลักษณะออกไซด์ (Al2O3) ไม่ละลายน้ำ
จึง ทำหน้าที่ป้องกันผิวอะลูมิเนียมที่อยู่
ทองแดงและเงินก็เกิดการกัดกร่อนได้แต่
ช้ากว่าเหล็ก

 Cu เกิดเป็ น CuCO3 (สารสีเขียว-แพทิน


า) ป้ องกันผิวทองแดง
 Ag เกิด Ag2S ป้ องกันผิวเงินเช่นกัน
การป้ องกันการผุกร่อนของโลหะ

 ใช้สีเคลือบผิว
 การซ่อมทำสีตัวเรือใต้แนวน้ำ
 การซ่อมทำสีตัวเรือเหนือแนวน้ำ
การป้ องกันการผุกร่อนของโลหะ

 การทำให้ผิวโลหะไม่ว่องไวปฏิกิริยาด้วย
กระบวนการ passivation คือ การทำ
ปฏิกิริยากับตัวออกซิไดส์ที่แรง เช่น กรดไน
ตริก ทำให้เกิดชัน
้ ออกไซด์บางๆ เคลือบผิว
การป้ องกันการผุกร่อนของโลหะ

 การทำให้เป็ นโลหะผสม หรือ อัลลอย เช่น


เหล็กกล้าไร้สนิม (โลหะผสมของเหล็กกับ
โครเมียม)
 การเคลือบผิวเหล็กด้วยดีบุก
หรือ สังกะสี
จงใช้ค่า E0 อธิบายว่าเมือเกิดรอย
ขีดข่วนบนโลหะต่อไปนี ้ ข้อใด
เหล็กจะผุกร่อนเร็วกว่า
(a) เหล็กที่เคลือบดีบุก
(b) เหล็กเคลือบสังกะสี
(a) เหล็กที่เคลือบดีบุก
• เมื่อเกิดรอยขีดข่วนบนโลหะ
• เหล็กผุเร็วขึน
้ เพราะ Sn มีศักย์ไฟฟ้ ารีดัก
ชั่นมากกว่า Fe จึงชิง e- จากเหล็กได้
• Anode: Fe  Fe2++2e- E0=-
0.44V
• Cathode: Sn2++2e- Sn E0=-
0.14V
• E0cell = (-0.14)-(-0.44) = 0.30 V
(b)เหล็กเคลือบสังกะสี
 เมื่อเกิดรอยขีดข่วนบนโลหะ
 เหล็กผุช้ากว่า เพราะ Zn มีศักย์ไฟฟ้ ารี
ดักชั่นต่ำกว่า Fe จึงเสีย e- แทนเหล็กได้
 Anode: Zn  Zn2++2e- E0=-
0.76V
 Cathode: Fe2++2e- Fe E0=-
0.44V
 E0cell = (-0.44)-(-0.76) = 0.32 V
การป้ องกันการผุกร่อนของโลหะแบบ
แคโทดิก

 Cathodic protection : ทำโดยให้โลหะที่


ต้องการป้ องกันเป็ นแคโทด โดยเอาโลหะอีก
ชนิดที่มีค่า E0 ต่ำกว่าเป็ นแอโนด (เสีย e-
แทน) เช่น Zinc anode หรือสังกะสีกัน
การแยกสลายด้วย
ไฟฟ้ า(electrolysis)
การแยกสลายด้วย
ไฟฟ้ า เป็ นกระบวน
การที่ใช้พลังงานไฟฟ้ า
ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
การแยกโซเดียมคลอไรด์ด้วยเป็ นอุปกรณ์สำหรับ
ไฟฟ้ า การแยกสลายด้วย
ขัว
้ บวก(oxidation) Anode:
ไฟฟ้ า 2Cl-Cl2(g)
+2e-
ขัว้ ลบ(reduction) Cathode: 2Na+ + 2e-
การแยกสลายน้ำด้วยไฟฟ้ า

ได้ O2ที่ขว
ั ้ +(oxidation,anode)
ได้ H2ที่
การแยกสลายสารละลาย NaCl ในน้ำด้วย
ไฟฟ้ า
 กรณีนม ี ้ ีน้ำมาเกี่ยวข้องด้วย ต้องพิจารณาค่า
E0 เทียบกับของน้ำว่าจะแยกได้สารอะไรที่
แอโนดและแคโทด
 ปฏิกิริยาที่อาจเกิดที่แอโนด คือ
(1) 2Cl-(aq)  Cl2(g) + 2e- E0 = -
(1.36)
(2) 2H2O(l) O2(g)+4H+(aq)+4e- E0 =
-(1.23)
 ค่า E0 ของปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (2)>(1)
แสดงว่า (2) มีโอกาสเกิดมากกว่า (1) แต่ว่า
0
การแยกสลายสารละลาย NaCl ในน้ำ
ด้วยไฟฟ้ า
 ปฏิกิริยาที่อาจเกิดที่แคโทด คือ
(3) 2H2O(l)+2e-H2(g)+2OH-(aq) E0 =
-0.83
(4) Na+(aq) +e-  Na(s) E0= -2.71
 ค่า E0 ของปฏิกิริยารีดักชั่น (3)>(4) แสดงว่า
(3) มีโอกาสเกิดมากที่สุด
การแยกสลายสารละลาย NaCl ในน้ำ
ด้วยไฟฟ้ า

ปฏิกิริยาที่เกิดจริง
คือ

Anode: (1) 2Cl-(aq)  Cl2(g) + 2e-

Cathode:(4) 2H2O(l)+2e-H2(g)+2OH-
(aq) 63
สรุป การแยกสลายด้วยไฟฟ้ า
 ถ้าเป็ นสารหลอมเหลว เช่น NaCl
หลอมเหลว
อิออนบวก(Na+) จะรับ e- ที่ขว ั ้ ลบ คือ
แคโทด
อิออนลบ(Cl-) จะให้ e- ที่ขว
ั ้ บวก คือ
แอโนด
 ถ้าเป็ นสารละลายจะมีน้ำเข้ามาเกี่ยวด้วย
ต้องเปรียบเทียบค่า E0 กับน้ำว่าตัวไหน
แรงกว่า จะเกิดปฏิกิริยา
แบบฝึ กหัด หากเราแยกสลายสารละลาย
CuSO4 ในน้ำ ผลิตภัณฑ์ที่เกิดที่แอโนดและ
แคโทดคืออะไร
• กำหนดค่า E0 ดังนี ้
 O2(g)+4H+(aq)+4e-  2H2O(l) E0 =
+1.23
 S2O82-+2e-  SO42-(aq) E0 =
+2.01
 Cu2+(aq)+2e-  2Cu(s) E0 =
+0.34
 2H2O(l)+2e-  H2(g)+2OH-(aq) E0
แบบฝึ กหัด หากเราแยกสลายสารละลาย
CuSO4 ในน้ำ ผลิตภัณฑ์ที่เกิดที่แอโนดและ
แคโทดคืออะไร
CuSO4 แตกตัวให้ Cu2+ กับ SO42-
 ที่ Anode อาจเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี ้
(1) 2H2O(l) O2(g)+4H+(aq)+4e- E0 = -
(1.23)
(2) SO42-(aq) S2O82-+2e- E0 = -
(2.01)
ที่แอโนด ค่า E0 (1)>(2)  เกิด (1)
 ที่ Cathode อาจเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี ้
(3) Cu2+(aq)+2e- 2Cu(s) E0 =
+0.34
- - 0

You might also like