You are on page 1of 11

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
เร่ื อง การลำเลี ยงสารเข้าและออกจากเซลล์

จัดทำโดย
ครู แสงดาว ลาภใหญ่

ชื่อ-นามสกุล………………………………………………………เลขที่………
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่…………….
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 1

การลำเลี ยงสารเข้าและ
ออกจากเซลล
1. โครงสร้ างของเมมเบรน (membrane structure)
เมมเบรน (membrane) เป็ นสว่ นที่ทำหน์ ้ าที่ในการหอ
่ หุม
้ เซลลแ์ ละ
หอ่ หุ้มออแกเนลล ์
ในเซลลย์ ูคาริ โอต ซ่ึงมีบทบาทในการกำหนดขอบเขตของเซลล ์ หรื อออแก
เนลลต ์ า่ งๆ ทำให้เกิดการแบง่ พื้นที่ข้ึนภายในเซลล ์

โครงสร้างของเมมเบรน (membrane structure) มีองคป ์ ระกอบ



หลักประกอบดว้ ยชั นฟอสโพลิ พิด (Phospholipid) เรี ยงตัว 2 ชั้น เรี ยกว่า
Phospholipid bilayer โดยจะหันด้านที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic tail) เข้าหากันทางด้านใน และ
หันด้านที่ชอบน้ำ (Hydrophilic head) ออกด้านนอกสัมผัสกับของเหลวหรื อสารละลายสิ่ ง
แวดล้อม ซึ่งยังมีโปรตีนบนเมมเบรน และลิพิดบนเมมเบรนแทรกอยู ร่ ะหวา่ ง
Phospholipid bilayer โดยการเรี ยงตัวแบบนี้ เรี ยกวา่
ฟลูอิดโมเซอิกโมเดล ( Fluid mosaic model ) 

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 2

⮚ ลิพิดบนเมมเบรน (membrane lipid) แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคือ


1. ฟอสโฟลิพิด (Phospholipid) เป็ นสาร
ชีวโมเลกุลโดยที่มีโครงสร้างทางเคมี ที่
คาร์บอนตำแหน่งที่ 3 จะจับกับหมู่ฟอสเฟต
และหมู่ฟอสเฟตนี้ มกั จะจับอยูก่ บั อะตอมหรื อ
กลุ่มสารอินทรี ย์ ทำให้เกิดเป็ นด้าน
Hydrophobic tail และ Hydrophilic head

2.ไกลโคลิพิด (Glycolipid) คือกลุ่มของ


ลิพิดที่มีน ้ำตาลหรื อคาร์โบไฮเดรตเป็ นองค์
3. สเตอรอยด์(Steroid) จะทำหน้าที่
ประกอบ
ในการรักษา fluidity ของเมมเบรน ใน
เซลล์สตั ว์ สเตอรอยด์จะมีองค์ประกอบ
หลักคือ คอเลสเตอรอล (cholesterol) แต่ถา้
เป็ นในเซลล์พืชจะเป็ นสารพวก
phytosterol แทน
⮚ โปรตีนบนเมมเบรน (membrane protein) แบ่งออกเป็ น 3 ชนิดตาม
ตำแหน่ง คือ
1.Integral protein เป็ นโปรตีนที่แทรก
อยูใ่ นเมมเบรน โดยทัว่ ไปส่ วนหัวที่มีข้วั จะหัน
ออกไปสัมผัสกับสิ่ งแวดล้อม แต่ส่วนที่ไม่มี
ขั้วจะแทรกตัวอยูใ่ นชั้น ฟอสโฟลิพิด
(Phospholipid)
2.Peripheral protein เป็ นโปรตีนที่จบั
กับเมมเบรนด้วยแรงยึดเหนี่ยวอย่างอ่อน 3.Lipid-anchored protein เป็ นโปรตีนที่มี
การสร้างพันธะถาวรกับโมเลกุลของลิพิดบน
เมมเบรน
จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 3

2. การลำเลียงสารผ่ านเข้ าออกเซลล์ (Cell transport)


❖ คุณสมบัติของเมมเบรน ❖ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการให้สาร
คือ เป็ นเยือ่ เลือกผ่าน เคลื่อนที่ผา่ นเยือ่ หุม้ เซลล์ได้คือ ขนาด
ของโมเลกุล ความมีข้วั ของโมเลกุล
และประจุของโมเลกุล

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

Passive transport Active transport Bulk transport หรื อ


Vesicular transport
Simple diffusion

Endocytosis Exocytosis
Osmosis

Facilitated diffusion Phagocytosis

Pinocytosis

Recepter – mediated
endocytosis

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 4

1. Passive transport

⮚ การแพร่ แบบธรรมดา (Simple diffusion)


เป็ นการแพร่ ของสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริ เวณที่สารละลายที่มีความเข้ม
ข้นต่ำ การแพร่ แบบนี้ จะมีอตั ราคงที่เมื่อความเข้มข้นของสารในบริ เวณต่างๆ เท่ากัน
อัตราการแพร่ สุทธิของตัวถูกละลายจะคงที่ เรี ยกว่า จุดสมดุลของการแพร่ (Dynamic
equilibirum)

ภาพตัวอย่างการแพร่ ของสี ในน้ำกลัน่

ภาพตัวอย่างการแพร่ ของแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ หลอด


เลือดฝอยและเซลล์เม็ดเลือดแดงบริ เวณถุงลมปอด

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 5

⮚ ออสโมซิส (Osmosis)
เป็ นการแพร่ ของน้ำผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์ (cell membrane) เนื่องจากเยือ่ หุม้ เซลล์มีคุณสมบัติใน
การยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นผ่านได้ การแพร่ ของน้ำจะแพร่ จากบริ เวณที่มีความเข้มข้นของตัวทำ
ละลายสูงไปยังบริ เวณที่มีความเข้มข้นของตัวทำละลายต่ำกว่า หรื อ Osmosis เป็ นการแพร่ ของน้ำ
จากบริ เวณที่มีน้ำมากเข้าไปสู่ในบริ เวณที่มีน ้ำน้อยกว่าโดยผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์
โดย Osmosis จัดเป็ นกระบวนการของสิ่ งมีชีวิต เพราะเซลล์ของสิ่ งมีชีวิตทุกชนิดจะแช่อยู่
ในสารละลายความเข้มข้นต่างๆกัน ซึ่งผลต่อรู ปร่ างของเซลล์แตกต่างกันออกไป โดยทัว่ ไป
สารละลายแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด สารละลายไฮเพอร์ ทอนิก (Hypertonic solution) สารละลาย
ไฮโพทอนิก (Hypotonic solution) และสารละลายไอโซทอนิก (Isotonic solution)

ภาพการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างของเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์พืชเมื่ออยูใ่ นความเข้มข้น


ของสารละลายแบบต่างๆ

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 6

⮚ การแพร่ แบบฟาซิลเิ ทต (Facilitated diffusion)


เป็ นการลำเลียงสารขนาด
ใหญ่ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผา่ นเข้าออก
ชั้น Pospholipid ได้โดยตรง ดังนั้นจึง
ต้องมีลำเลียงผ่านทางโปรตีนเมมเบรน
การลำเลียงสารแบบนี้ไม่ตอ้ งอาศัย ATP
มาช่วยในการลำเลียง เช่น การลำเลียง
น้ำเข้าสู่เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์
⮚ การลำเลียงแบบแอกทีฟ (Active transport)
เป็ นการลำเลียงในทิศทางจากความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริ เวณความ
เข้มข้นของสารละลายสูงกว่า ซึ่งต้องใช้พลังงานรู ปของ ATP ช่วยในการลำเลียงสาร
การลำเลียงแบบแอกทีฟ (Active transport) แบ่งเป็ น 2 แบบ
1. Primary active transport
เป็ นการลำเลียงโดยอาศัยพลังงานใน
รู ปของ ATP โดยตรงในการลำเลียงสาร
2. Secondary active transport
เป็ นการลำเลียงโดยอาศัยพลังงาน
ในรู ปของ ATP ทางอ้อม
เช่น การลำเลียงกลูโคสในเซลล์เยือ่ บุผวิ
ของลำไส้เล็ก

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 7

2. Bulk transport หรือ Vesicular

⮚ การลำเลียงสารแบบเอนโดไซโทซิส (Endocytosis)
เป็ นการลำเลียงสารขนาดใหญ่จากภายนอกเซลล์เข้ามาภายในเซลล์ โดยการบรรจุ
สารไว้ในถุงเวซิเคิล (Vesicle) ซึ่งการลำเลียงสารแบบนี้ จะเกิดได้ 3 แบบ คือ

• Phagocytosis • Pinocytosis • Recepter – mediated


- นำสารที่ไม่ละลายน้ำและมี - นำสารที่เป็ นของเหลว endocytosis
ขนาดใหญ่เข้าสู่ภายในเซลล์ หรื อสารที่ละลายน้ำเข้าสู่ - มีตวั รับอยูบ่ นเยือ่ หุม้ เซลล์ ทำ
- จะถูกโอบล้อมโดยเท้าเทียม เซลล์ หน้าที่จบั สารที่จะนำเข้าสู่เซลล์
(Pseudopodium) - กระบวนการหลักใน - ตัวรับและสารที่นำเข้าจะมีความ
- หลุดเข้าไปอยูใ่ นเซลล์ใน การนำของเหลวภายนอก เฉพาะเจาะจงต่อกัน
รู ปของ Food vacuole เซลล์เข้ามาภายในเซลล์ใน - เช่น การนำ
- เข้าสู่กระบวนการย่อย รู ปของถุงเวซิเคิลขนาด คอเลสเตอรอลเขา้ เซลล์
อาหารภายในเซลล์ เล็กจำนวนมาก ตับ
- เช่น การกินอาหารของ - เช่น การแลกเปลี่ยนสาร
อะมีบา บริ เวณหลอดเลือดฝอย

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 8

⮚ การลำเลียงสารแบบเอกโซไซโทซิส (Exocytosis)

- การลำเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญอ่ อกจากเซลล ์
- เวสเิ คิลรวมตัวกับเยื่อหุ้มเซลล ์
- สารที่อยูภ่ ายในเวสเิ คิลก็จะถูกปลอ่ ยออกไปนอกเซลล ์
- ่ การหลั่งเอนไซมย์ อ่ ยอาหารออกจากเซลลบ
เชน ์ ุผิว
ของกระเพาะอาหารเขา้ สูภ ่ ายในกระเพาะอาหาร

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 9

แบบฝึ กหัด
เรื่ อง การลำเลี ยงสาร
ออกจากเซลล์
จงเติมคำตอบให้ถูกตอ ้ ง

1. ชั นของ Phospholipid เรี ยงตัวเป็ น 2 ชั้น เรี ยกว่าอะไร
.
Hydrophobic tail และ Hydrophilic head
2. จงบอกความแตกต่างของ Hydrophobic tail และ Hydrophilic head
hydrophilic head จะหันด้านที่ชอบน้ำออก hydrophobic tail จะหันด้านที่ไม่
ชอบน้ำเข้าหากัน
3. จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การแพร่ แบบธรรมดา
การเคลื่อนที่ของสาร โดยไมอ่ าศั ยตัวพาหรื อตัวชว่ ยขนสง่ ใดๆ เชน่ การแพร่ของผง
.ดางทับทิม

- ออสโมซิ ส
การเคลื่อนที่ของน้ำหรื อตัวทำละลายผา่ นเยื่อเลือกผา่ น ซ่ึงในเซลลข์ องเราจะมีเยื่อหุ้ม
เซลลท ์ ่ีมีคุณสมบัติเป็ นเยื่อเลือกผา่ น โดยน้ำจะเคลื่อนที่จากบริ เวณที่สารละลายมี
ความเขม้ ขน ้ ต ่ำ (โมเลกุลของน้ำมาก) ไปยังบริ เวณที่มีสารละลายที่มีความเขม ้ ขน
้ สูง
(โมเลกุลของน้ำน้อย) เชน ่ การดูดซึมน้ำของรากพืช
- การแพร่ แบบฟาซิลิเทต
การลำเลียงสารจากบริ เวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปจนถึงบริ เวณที่มีความเข้มข้นของ
สารต่ำ แต่ตอ้ งอาศัยตัวพาเป็ นตัวกลาง ในการแพร่ ซึ่งมักเป็ นสารจำพวกโปรตีนที่มี
โมเลกุลขนาดเล็กเช่นกรดอะมิโน เช่นการลำเลียงสารที่เซลล์ตบั
- การลำเลียงแบบแอกทีฟ
เป็ นการลำเลียงในทิศทางจากความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริ เวณความเข้มข้นของ
สารละลายสูงกว่า ซึ่งต้องใช้พลังงานรู ปของ ATP ช่วยในการลำเลียงสาร
การลำเลียงแบบแอกทีฟ เช่น การหลัง่ ไฮโดรเจน​ไอออนจากเซลล์บุผวิ ของกระเพาะ
อาหารเข้าสู่ กระเพาะอาหาร

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม


เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (ว30141) เรื่อง การลำเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ หน้ า 10

4. จงยกตัวอย่างการลำเลียงสารแบบเอกโซไซโตซิสและการลำเลียงแบบเอนโดไซโตซิส
เอกโซไซโตซิส การหลัง่ เอนไซม์จากเยือ่ บุผนังกระเพาะอาหาร
เอนโดไซโตซิส การนำคอเลสเตอรอลเข้าเซลล์ตบั

5.จงบอกความแตกต่างของกระบวนการลำเลียงสารแบบเอนโดไซโทซิสที่ กำหนดให้ดงั
ต่อไปนี้ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1. Phagocytosis
2. Pinocytosis
3. Recepter – mediated endocytosis

์ ่ีพบได้ในเซลลจำ
Phagocytosis ลำเลียงสารเขา้ สูเ่ ซลลท ์ พวกอะมีบาและเซลลเ์ ม็ด
เลือดขาว เชน
่ การกินอาหารของอะมีบา

Pinocytosis การนำอนุ ภาคของสารที่อยูใ่ นรู ปของสารละลายเขา้ สูเ่ ซลล ์ โดยการ


ทำใหเ้ ยื่อหุม ่ การแลกเปลี่ยนสารบริ เวณ
้ เซลลเ์ วา้ เขา้ ไปในไซโทพลาซึมทีละน้อย เชน
หลอดเลือดฝอย

์ ่ีเกิดขึ้นโดยมี
Recepter – mediated endocytosis การลำเลียงสารเขา้ สูเ่ ซลลท
โปรตีนตัวรับบนเยื่อหุม
้ เซลล ์ เชน
่ การนำสารจำพวกลิโพโปรตีน

จัดทำโดย ครู แสงดาว ลาภใหญ่ โรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม

You might also like