You are on page 1of 14

วจ.

โครงร่างวิจยั ในชัน้ เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


1. ชือ่ โครงร่างวิจยั ในชัน
้ เรียน
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอ
บกระบวนการแก ป ญหา
DAPIC
ทีม
่ ีต อความสามารถในการแก้ปญ ั หาและความสามารถในการคิดอย างมีวจิ าร
ณญาณ เรือ ่ ง
การวิเคราะห์ขอ ้ มูล ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาป ที่ 5 โรงเรียนอนุกูลนารี
จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี การศึกษา 2561
2. ความสําคัญและความเป็ นมาของปัญหา
คณิตศาสตร์มีบทบาทสําคัญยิง่ ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์
ทําให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน
สามารถวิเคราะห์ปญ ั หาหรือสถานการณ์ ได้อย่างถีถ ่ ว้ นรอบคอบ
ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปญ ั หา
และนําไปใช้ในชีวต ิ ประจําวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน, 2551)
ถึงแม้วา่ คณิตศาสตร์จะมีความสําคัญต่อการพัฒนาชีวต ิ
แต่การศึกษาในปัจจุบน ์ างการเรียนในกลุม
ั นักเรียนมีผลสัมฤทธิท ่ สาระการเรียนรู ้
คณิตศาสตร์ยงั อยูใ่ นเกณฑ์ต่าํ
ดังจะเห็นจากผลคะแนนเฉลีย่ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน ้ ั พื้นฐาน (O-
NET) ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 วิชาคณิตศาสตร์ ปี การศึกษา 2560
ระดับประเทศมีคะแนนเฉลีย่ 24.53 ระดับสังกัดมีคะแนนเฉลีย่ 24.64
และโรงเรียนอนุกูลนารีมีคะแนนเฉลีย่ 20.82
ซึง่ ตํ่ากว่าระดับสังกัดและระดับประเทศ
การทีผ ์ างการเรียนเฉลีย่ ของนักเรียนอยูใ่ นระดับตํ่า
่ ลสัมฤทธิท
อาจจะมาจากหลายสาเหตุ เช่น
ธรรมชาติของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์เป็ นการคิดคํานวณ ความคิดรวบยอด
และทักษะ มีโครงสร้างแสดงความเป็ นเหตุผล สือ ่ ความหมายโดยใช้สญ ั ลักษณ์
ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นนามธรรมจึงยากต่อการเรียนรูแ ้ ละทําความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
(ยุพน ิ พิพธิ กุล. 2530 : 1-3) รวมทัง้ สุพตั รา จอมคําสิงห์ (2552,หน้า 2) กล่าวว่า
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีผ ่ า่ นมายังคงยึดรูปแบบครูเป็ นผูส ้ อน
หรือบอกคําตอบเป็ นส่วนใหญ่
โดยไม่ให้โอกาสส่งเสริมสนับสนุนให้นกั เรียนได้คด ิ
พิจารณาหาข้อมูลอย่างรอบด้านเพือ ่ หาข้อสรุปของบทเรียน
จึงทําให้นกั เรียนไม่ได้รบ ั การพัฒนาส่งเสริมด้านการใช้ความคิดทางคณิตศาสตร์
ในการเรียนรู ้ ซึ่งความคิดทางคณิตศาสตร์ เป็ นการนิยามข้อมูลให้กระจ่าง
ส่งผลให้เกิดความเข้าใจทางคณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพของแต่ละบุคคลซึง่ ส่
งผลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนคณิตศาสตร์
สอดคล้องกับประสบการณ์ สอนของผูว้ จิ ยั ซึง่ ประสบปัญหาการจัดกิจกรรมการเรีย
นการสอนทีน ่ กั เรียนไม่สามารถพิจารณาหาข้อมูลอย่างรอบด้านเพือ ่ หาข้อสรุปขอ
งการแก้ปญ ั หา
และไม่สามารถเชือ ่ มโยงข้อมูลมาใช้ในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์ได้
ส่งผลให้นกั เรียนไม่สามารถแก้ปญ ั หาได้
ดังนัน
้ สาเหตุทท ี่ าํ ให้ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อยูใ่ นเกณฑ์ต่าํ โดยเฉพาะ
ความสามารถ ด้านการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์คอ ื
นักเรียนมีปญ ั หาในเรือ ่ งของทักษะการอ่านทําความเข้าใจ
โจทย์และการวิเคราะห์โจทย์ ซึง่ เป็ นทักษะทีต ่ อ้ งอาศัยการคิด หากผูเ้ รียนไม่คด ิ
คิดไม่เป็ น หรือคิด ไม่ได้
ก็จะไม่สามารถพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้
การฝึ กการคิดให้กบ ั นักเรียน
จึงเป็ นสิง่ สําคัญทีค ่ วรทําควบคูไ่ ปกับการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศ
าสตร์โดยเฉพาะ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)
เป็ นการคิดในระดับสูงเป็ นการคิดทีม ่ ีการพิจารณา ไตร่ตรอง โดยใช้ขอ ้ มูลความรู ้
และประสบการณ์ เช่นการคิดทบทวนกระบวนการแก้ปญหาว่าถูกต้องเหมาะสม
หรือสมเหตุสมผลหรือไม่ อย่างไร (อัมพร ม้าคนอง. 2553: 22-24) ดังที่
โอลิเวอร์และยู เทอร์มอฮ์เลน (ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. 2544: 109; อ้างอิงจาก
Oliver and Utermohlen: 1995) กล่าว ว่า
ทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณจะทําให้นกั เรียนสามารถแก้ปญหาทีย่ งุ่ ยากซับซ้
อนและสามารถเลือกได้อย่างถูกต้องทัง้ ทีม ่ ีตวั เลือกอยูม ่ ากมาย และศันสนีย์
ฉัตรคุปต์(2544: 86-87) กล่าวว่า
ทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณเป็ นรากฐานสําคัญของการเรียนรู ้
เป็ นทักษะทีใ่ ช้ในการ วิเคราะห์และช่วยให้เข้าใจสิง่ ทีเ่ รียนรูไ้ ด้ดข ึ้
ี น
รวมทัง้ ยังเป็ นทักษะทีม ่ ีสว่ นสําคัญเกีย่ วข้องกับการใช้ ทักษะสําคัญอืน่ ๆ
ทีท ่ าํ ให้การเรียนรูส้ มั ฤทธิผ ์ ลอันเป็ นหนทางของการพัฒนาไปสูค ่ วามสามารถทีจ่ ะ
คิดได้ทาํ ได้ดว้ ยตัวเอง สอดคล้องกับชนาธิป พรกุล (2554: 9) ทีไ่ ด้กล่าวว่า
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณช่วยให้เข้าใจธรรมชาติ และเป้ าหมายของการเรียนรู ้
รูเ้ หตุผลของการค้นคว้าหาความรู ้ ทําให้รวู ้ า่ จะค้นหาอะไร อย่างไร
เมือ ่ ใดเรียกว่ารูต
้ วั อยูต
่ ลอดเวลาว่ากําลังทําอะไรอยูแ ่ ละทําเพือ
่ อะไร

ด้วยเหตุนี้ในการเริม ่ ต้นพัฒนานักเรียนให้มีทกั ษะกระบวนการแก้ปญ ั หาค


รูจะต้องสร้างพื้นฐานให้นกั เรียนเกิดความคุน ้ เคยกับกระบวนการแก้ปัญหา
(สิรพ ิ ร ทิพย์คง. 2545: 97)
โดยกระบวนการแก้ปญ ั หาหนึ่งทีช ่ ว่ ยให้แนวทางแก่นกั เรียนในการเริม ่ ต้นคิดหรื
อลงมือทํางานอย่างเป็ นระบบ คือ กระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
เป็ นกระบวนการแก้ปญ ั หาทีพ ่ ฒ
ั นามาจากหลักสูตรบูรณาการคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (IMaST) ของศูนย์คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์
ร่วมกับมูลนิธวิ ท ิ ยาศาสตร์แห่งชาติอเมริกา
โดยในหลักสูตรได้กาํ หนดให้การแก้ปญ ั หาเป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในโปรแกร
ม IMaST โดยใช้เป็ นเทคนิคการเรียนการสอนทีส ่ าํ คัญตลอดทัง้ โปรแกรม
ซึง่ เป็ นกระบวนการทีเ่ กิดจากการบูรณาการกระบวนการแก้ปญหาทางคณิตศาสต
ร์ตามแนวคิดของโพลยา วิธีการสืบเสาะหาความรูท ้ างวิทยาศาสตร์
และวงจรการแก้ปญหาทางธุรกิจและอุตสาหกรรมตามแนวคิดของชิวฮาร์ท
(Meier, Hovde, and Meier,1996: 234) กระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
เป็ นชือ ่ ทีเ่ กิดจากการนําตัวอักษรตัวแรกขององค์ประกอบในกระบวนการแก้ปัญห
ามาเรียงเป็ นชือ ่ เรียกกระบวนการเพือ ่ ให้สือ
่ ถึงความหมายของกระบวนการและเ
พือ ่ ให้งา่ ยต่อการนําไปใช้งาน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ดังนี้ขน ้ ั ตอน ดี
(D,Define) เป็ นขัน ้ ของการทําความเข้าใจปญหา
ระบุปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ อย่างชัดเจน ขัน ้ ตอน เอ (A, Assess)
เป็ นการประเมินสถานการณ์ ปญ ั หาเก็บรวบรวมข้อมูลทีส ่ ามารถนํามาใช้ในการพั
ฒนา
วิธีการแก้ปญ ั หา ขัน ้ ตอน พี (P, Plan)
เป็ นการวางแผนเพือ ่ หาวิธีทเี่ หมาะสมในการแก้ปญ ั หา
ขัน ้ ตอน ไอ (I, Implement) เป็ นขัน ้ ของการทําตามแผนทีว่ างไว้ ขัน ้ ตอน ซี (C,
Communicate) เป็ น
ขัน ้ การวิเคราะห์ประเมินผลและนําเสนอ จะเห็นได้วา่ กระบวนการแก้ปัญหา
DAPIC เป็ น
กระบวนการแก้ปญ ั หาทีช ่ ว่ ยชี้นําความคิดของนักเรียนให้สามารถมองเห็นแนวทา
งในการแก้ปญ ั หา
อีกทัง้ กระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC เป็ นกระบวนการทีย่ ืดหยุน ่ ไม่ซบ ั ซ้อน
ไม่มีการกําหนดว่าต้อง
เริม ่ ต้นจากองค์ประกอบใด
และไม่จาํ เป็ นต้องทําตามเป็ นลําดับขัน ้ ตอนหรือเป็ นวงจร ผูแ ้ ก้ปญ ั หาจะ
พิจารณาตามลักษณะของปัญหาว่าควรเริม ่ ต้นจากองค์ประกอบใด
และจะใช้องค์ประกอบใดบ้างด้วย
ความยืดหยุน ่ ดังกล่าว กระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
จึงถูกนํามาใช้อย่างกว้างขวางในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับมัธยมศึกษาการใช้คาํ ถามเป็ นอีกแนวทางหนึ่งในการ
พัฒนาความคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยการใช้คาํ ถามของครูมีความสําคั
ญเป็ นอย่างมากต่อการคิดและการมีสว่ นร่วมของนักเรียนในชัน ้ เรียน
ซึง่ คําถามทีค ่ รูคณิตศาสตร์ควรพยายามใช้ในห้องเรียนให้มากขึน ้ คือ
คําถามระดับสูง
เป็ นคําถามทีจ่ ะส่งเสริมการคิดระดับสูงให้กบ ั นักเรียนในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์และคิดอย่างมีวจิ ารณญาณเพือ ่ หาคําตอบของการแก้ปญ ั หา (อัมพร
ม้าคะนอง. 2553: 77-82) สอดคล้องกับแนวคิดของ โรสแมรี(Rosemary.
1973: 619)
ทีว่ า่ ในช่วงเวลาทีเ่ ทคโนโลยีกา้ วหน้าไปอย่างรวดเร็วมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีค ่ รูต้
องจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทก ี่ ระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดกระบวนการคิด
การเรียนรู ้ ส่งเสริมให้นกั เรียนได้พบสิง่ ใหม่ๆหรือมีทกั ษะการแก้ปญหาโดยใช้
ััความรูท ้ ไี่ ด้เรียนมา
ซึง่ สิง่ หนึ่งทีบ ่ ง่ บอกถึงวิธีการสอนเพือ ่ พัฒนากระบวนการเรียนรูข ้ องนักเรียนคือก
ารใช้คาํ ถามระดับสูงในการเรียน
จึงอาจกล่าวได้วา่ การใช้คาํ ถามระดับสูงของครูเป็ นการกระตุน ้ ให้
นักเรียนได้ฝึกใช้ความคิดในทางคณิตศาสตร์สามารถคิดหาวิธีในการแก้ปัญหาท
างคณิตศาสตร์ได้ดว้ ยตนเอง
ด้วยเหตุผลทีก ่ ล่าวมาข้างต้น
ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช
คําถามระดับสูงประกอบกระบวนการแก ป ญหา DAPIC
ทีม ่ ีต อความสามารถในการแก้ปญ ั หาและความสามารถในการคิดอย างมีวจิ าร
ณญาณ เรือ ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูล ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาป ที่ 5
โรงเรียนอนุกูลนารี จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี การศึกษา 2561
เพือ ่ เป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท ้ เี่ อื้อต่อการทีจ่ ะทําให้ผลสัมฤทธิท ์ า
งการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนดีขน ึ้
อีกทัง้ เพือ ้
่ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน

3. วัตถุประสงค์การวิจยั ในชัน ้ เรียน


1. เพือ ่ เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญ ั หา เรือ
่ ง การวิเคราะห์ขอ
้ มูล
ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาป ที่ 5
ทีไ่ ด้รบ
ั การจัดการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกระบว
นการแก ป ญหา DAPIC กับเกณฑ์
2. เพือ ่ เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ เรือ ่ ง
การวิเคราะห์ขอ ้ มูล ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาป ที่ 5
ทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกระบว
นการแก ป ญหา DAPIC กับเกณฑ์

4. สมมติฐานการวิจยั ในชัน ้ เรียน (ถ้ามี)


ความสามารถในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์และ
ความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
หลังได้รบ ั การจัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์โดย
ใช้คาํ ถามระดับสูงประกอบกระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC สูงกว่เกณฑ์
5. ขอบเขตของการวิจยั
5.1 ประชากร
ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ เป็ นนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โรงเรียนอนุกูลนารี
จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี การศึกษา 2561
5.2 กลุม่ ตัวอย่าง
กลุม
่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ เป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/12
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 โรงเรียนอนุกูลนารี จังหวัดกาฬสินธุ์ จํานวน
35 คน ซึง่ ได้มาจากวิธีการสุม ่ ตัวอย่างแบบกลุม ่ (Cluster Random
sampling) โดยใช้หอ ้ งเรียนเป็ นหน่ วยในการสุม ่ ด้วยการจับฉลากมา 1
ห้องเรียนจากห้องเรียนทัง้ หมด 13 ห้องเรียน
5.3 ตัวแปร
ตัวแปรต้น ได้แก่
การจัดการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกระบวนการแ
ก ป ญหา DAPIC
ตัวแปรตาม ได้แก่
1) ความสามารถในการแก้ปญ ั หา
2) ความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
5.3 ระยะเวลา
การวิจยั ครัง้ นี้ดาํ เนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561
โดยใช้เวลาจํานวน 15 คาบ
คาบละ 50 นาที
6. ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได้รบ ั
1.
นักเรียนทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอ
บกระบวนการแก ป ญหา DAPIC
ทําให้ความสามารถในการแก้ปญ ั หาและความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณ
ญาณของนักเรียนสูงขึน ้ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีน ่ กั เรียนควรได้รบ
ั การพัฒนา
เรือ
่ งจากมีความสําคัญต่อการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์
2.
เป็ นแนวทางสําหรับครูและผูท ้ เี่ กีย่ วข้องกับการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ไ
ด้นํา
ขัน
้ ตอนการจัดการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกระบ
วนการแก ป ญหา DAPICได้นําไปประยุกต์ ใช้ในบริบททีห ่ ลากหลาย
7. เอกสาร แนวคิด และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง (พอสังเขป)
1. เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
1.1 ทีม
่ าของกระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
1.2 แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาแนวคิด DAPIC
1.3 กระบวนการแก้ปญ ั หา DAPIC
2. เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับคําถามระดับสูง
2.1 ความหมายของคําถามระดับสูง
2.2 ความสําคัญของคําถามระดับสูง
2.3 ประเภทของคําถามระดับสูง
2.4 คําถามระดับสูงกับการแก้ปญ ั หาคณิตศาสตร์
2.5 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับคําถามระดับสูง
3.
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
3.1 ความหมายของการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
3.2 กระบวนการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
3.3 ยุทธวิธีการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
3.4 แนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
3.5 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์
4.
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.1 ความหมายของความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.2 กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.3 องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.4 ลักษณะของบุคคลทีม ่ ีการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.5 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณกับวิชาคณิตศาสตร์
4.6 การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
4.7 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

8. วิธีดาํ เนินการ
8.1 การสร้างเครือ ่ งมือ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั มี 2 ประเภท ได้แก่
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง
และเครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
8.1 1 เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง คือ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์ โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกร
ะบวนการแก ป ญหา DAPICทีค ่ รอบคลุมสาระการเรียนรูว้ ช ิ าคณิตศาสตร์
เรือ
่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูลจํานวน 15 แผน เป็ นเวลา 5 สัปดาห์
โดยผูว้ จิ ยั ดําเนินการสร้าง ดังนี้
1.1
ศึกษาแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์ โดยใช คําถามร
ะดับสูงประกอบกระบวนการแก ป ญหา DAPIC จากเอกสารและตําราต่างๆ
1.2
ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนอนุกูลนารีทอ ี่ งิ ตามหลักสูตรแกนกลางกา
รศึกษาขัน ้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์
1.3 ศึกษามาตรฐานการเรียนรู ้ ตัวชี้วดั
รายละเอียดของสาระการเรียนรู ้ การวัด และการประเมินผล
และแบ่งเนื้อหาให้เหมาะสมกับเวลาทีจ่ ะดําเนินการสอน
1.4
เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์ โดยใช คําถามระดับสูงประก
อบกระบวนการแก ป ญหา DAPIC จํานวน 15 แผน
ซึง่ แต่ละแผนประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ มาตรฐานการเรียนรู ้ สาระสําคัญ
ผลการเรียนรูท ้ ค
ี่ าดหวัง สาระการเรียนรู ้
กิจกรรมการเรียนรูข ้ น
้ ั เตรียมความพร้อม ขัน ้ จัดกิจกรรมการเรียนรู ้
ขัน ้ สรุปและสะท้อนความคิด สือ ่ /แหล่งเรียนรู ้ การวัดและประเมินผล

8.2.2. เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล


เครือ ่ งมือสําหรับใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา
และแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ รายละเอียดมีดงั นี้
8.2.2.1 แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา
แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา เรือ ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูล จํานวน 2
ฉบับ เป็ นแบบวัดคูข ่ นาน
ทีผ ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน ้ เพือ่ ศึกษาความสามารถในการแก้ปญ ั หาเป็ นแบบทดสอบแบบอัต
นัย จํานวน 5 ข้อ
แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา มีขน ้ ั ตอนการสร้างดังนี้
1) ผูว้ จิ ยั ศึกษาเนื้อหาเรือ ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
2) ศึกษาเอกสาร
และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการแก้ปญ ั หาเพือ
่ เป็ น
แนวทางในกําหนดกรอบพฤติกรรมความสามารถในการแก้ปญ ั หา
และการสร้างแบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา
3) สร้างแบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หาจํานวน 8 ข้อ
ซึง่ เป็ นแบบทดสอบแบบ
อัตนัย
โดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนแต่ละด้านขององค์ประกอบความสามารถในการแก้
ปัญหา
4)
ผูว้ จิ ยั นําแบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หาและเกณฑ์เสนอผูเ้ ชีย่ วชาญจํานวน
3 ท่าน เพือ ่ ตรวจสอบให้ขอ ้ เสนอแนะ และนํามาปรับปรุงแก้ไข
5)
ผูว้ จิ ยั นําแบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หาทีป ่ รับปรุงแก้ไขแล้วจากข้อ 4)
ไปใช้กบ ั นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ทีไ่ ม่ใช่กลุม ่ ตัวอย่าง
แล้วนํามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ทก ี่ าํ หนด
6) นําคะแนนทีไ่ ด้จากข้อ 5) มาหาค่าความเทีย่ งของแบบวัดโดยใช้ สูตร
สัมประสิทธ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)
โดยมีเกณฑ์คา่ ความเทีย่ ง ตัง้ แต่ 0.6 ขึน ้ ไป แล้วนํามาหาค่าความยาก (p)
อยูร่ ะหว่าง 0.20-0.80 และค่า อํานาจจําแนก (r) มีคา่ 0.2 ขึน ้ ไป
หากแบบวัดดังกล่าวไม่ได้ตามเกณฑ์ทต ี่ ง้ ั ไว้ ต้องนํามาปรับปรุงแก้ไข
7) เลือกแบบทดสอบทีม ่ ีคา่ ความเทีย่ ง ค่าความยาก
และค่าอํานาจจําแนกตามเกณฑ์ขอ ้ 6) ไปใช้กบ ั นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ทีเ่ ป็ นกลุม ่ ตัวอย่าง
8.2.2.2 แบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
แบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ เรือ ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
จํานวน 2 ฉบับ เป็ นแบบวัดคูข ่ นาน
ทีผ ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน ้ เพือ่ ศึกษาความสามารถในการแก้ปญ ั หาเป็ นแบบทดสอบแบบอัต
นัย จํานวน 5 ข้อ
แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา มีขน ้ ั ตอนการสร้างดังนี้
1) ผูว้ จิ ยั ศึกษาเนื้อหาเรือ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
2) ศึกษาเอกสาร
และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ เพือ ่ เป็ น
แนวทางในกําหนดกรอบพฤติกรรมความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
และการสร้างแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
3) สร้างแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ จํานวน 8
ข้อ ซึง่ เป็ นแบบทดสอบแบบ
อัตนัย
โดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนแต่ละด้านขององค์ประกอบความสามารถในการคิด
อย างมีวจิ ารณญาณ
4) ผูว้ จิ ยั นําแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
และเกณฑ์เสนอผูเ้ ชีย่ วชาญจํานวน 3 ท่าน เพือ ่ ตรวจสอบให้ขอ ้ เสนอแนะ
และนํามาปรับปรุงแก้ไข
5) ผูว้ จิ ยั นําแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
ทีป ่ รับปรุงแก้ไขแล้วจากข้อ 4) ไปใช้กบ ั นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ทีไ่ ม่ใช่กลุม ่ ตัวอย่าง แล้วนํามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ทก ี่ าํ หนด
6) นําคะแนนทีไ่ ด้จากข้อ 5) มาหาค่าความเทีย่ งของแบบวัดโดยใช้ สูตร
สัมประสิทธ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)
โดยมีเกณฑ์คา่ ความเทีย่ ง ตัง้ แต่ 0.6 ขึน ้ ไป แล้วนํามาหาค่าความยาก (p)
อยูร่ ะหว่าง 0.20-0.80 และค่า อํานาจจําแนก (r) มีคา่ 0.2 ขึน ้ ไป
หากแบบวัดดังกล่าวไม่ได้ตามเกณฑ์ทต ี่ ง้ ั ไว้ ต้องนํามาปรับปรุงแก้ไข
7) เลือกแบบทดสอบทีม ่ ีคา่ ความเทีย่ ง ค่าความยาก
และค่าอํานาจจําแนกตามเกณฑ์ขอ ้ 6) ไปใช้กบ ั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ทีเ่ ป็ นกลุม ่ ตัวอย่าง
8.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1)
ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนทําการทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบวัดความสามารถในการแก้
ปัญหา และแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
2) เมือ ่ นักเรียนทําแบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา
และแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
ผูว้ จิ ยั จะตรวจให้คะแนน
3)
ผูว้ จิ ยั จัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์ โดยใช คําถามระดับสูงประกอบกระบ
วนการแก ป ญหา DAPIC 4)
ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนทําการทดสอบหลังการทดลองโดยใช้แบบวัด ความสามารถในกา
รแก้ปญ ั หา และแบบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
ผูว้ จิ ยั จะตรวจให้คะแนน
8.3 การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
1)
วิเคราะห์ขอ ้ มูลจากคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หา เรือ่ ง
การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
เทียบกับเกณฑ์ทีก ่ าํ หนด โดยใช้สถิตส ิ าํ หรับการวิเคราะห์แบบ t-test for One
Sample
2)
วิเคราะห์ขอ ้ มูลจากคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย างมีวจิ าร
ณญาณ เรือ ่ ง การวิเคราะห์ขอ ้ มูลเทียบกับเกณฑ์ทีก ่ าํ หนด
โดยใช้สถิตส ิ าํ หรับการวิเคราะห์แบบ t-test for One Sample
9. เอกสารอ้างอิง
กฤษฎา วรพิน. (2554).
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู คณิตศาสตร โดยใช เทคนิค เค ดับเบิล้ ยูดี

แอลและการใช คําถามระดับสูงทีม
่ ีต อความสามารถในการแก ป ญหา
และความคงทนในการ
เรียนคณิตศาสตร ของนักเรยนชัน ้ มัธยมศกษาป ที่ 2.
วิทยานิพนธ ค.ม. (การศึกษา
คณิตศาสตร). กรุงเทพฯ:
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ถ ายเอกสาร.
กษมา วุฒสิ ารวัฒนา. (2548).
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร โดยเน นการเรียนรู จาก

ประสบการณ ทีม ่ ีต อความสามารถในการแก ป ญหาคณิตศาสตร แล


ะการคิดอย างมีวจิ ารณญาณ
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาป ที่ 3 จังหวัดพะเยา.
วิทยานิพนธ ค.ม. (การศึกษาคณิตศาสตร์).
กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.
ถ ายเอกสาร.
กัญญา วีรยวรรณธน. (2552). เทคนิคการตัง้ คําถาม.สืบค นเมือ่ 1
พฤศจิกายน 2561, จาก
http://www.nsdv.go.th/innovation/questioning.html
โครงการ PISA ประเทศไทย
สถาบันส งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556).
ผลการประเมิน PISA 2012
คณิตศาสตร การอาน
และวิทยาศาสตร บทสรุปสําหรับผู บริหาร.กรุงเทพฯ:
แอดวานซ พริน ้ ติง้ เซอร วิส.
จิราวัลย จิตรถเวช. (2552). การวางแผนและการวเคราะห ัิ การทดลอง.
กรุงเทพฯ: โครงการส งเสริม
และพัฒนาเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .
ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด:ทฤษฎีและการนําไปใช .
กรงเทพฯ ัุ : สํานักพิมพ์แห ง
จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.
อัมพร ม าคนอง. (2554).
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร: การพัฒนาเพือ ่ พัฒนาการ.
พิมพ ครัง้ ที่ 2.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ แห งจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.
Altintas,Esra ;& Ozdemir,Ahmet Sukru. (2012). The effect of
teaching with the mathematics
activity based on purdue model on critical thinking skills
and mathematics
problem solving attitudes of gifted and non-gifted
students. Procedia-Social and
Behavioral Sciences.46:853-857
Fung,D. (2014). Promoting critical thinking through effective
group work: A teaching
intervention for Hong Kong primary school students.
International Journal of
Educational Research. 66:45-62

Jacob,Seibu Mary. (2012). Mathematical achievement and


critical thinking skills in
asynchronous discussion forums. Procedia-Social and
Behavioral Sciences.31:
800-804
Jackson,L.(2000).Increasing Critical Thinking Skills To
Improve Problem-Solving Abillity in
Mathematics.Master of Arts Action Research
Project.Graduate Faculty.Saint Xavier
University.
Jeffrey,W.W.(2001,November/December). Higher Order
Teacher Questioning of Boys and
Girls in Elementary Mathematics Classrooms. Journal
for Research in Mathematics
Education. 95(2):84
Jihyun Lee. (2009). Universals and specifics of math self-
concept,math self-efficacy,and
math anxiety across 41 PISA 2003 participating
countries. Learning and Individual
Differences.19(2009):355-365
Luthans;et al.(2007).Positive Psychological
Capital:Measurement and Relationship with
Performance and Satisfaction. Published in Personnel
Psychology. 60(2007):
541-572
Meier,S.L.;et al. (1996). Problem Solving: Teachers9
Perceptions, Content Area
Models, and Interdisciplinary Connections. School
Science and Mathematics.
96(5):230-237
Nunokawa, K. (2005,September). Mathematical problem
solving and learning
mathematics:What we expect students to obtain.
Journal of Mathematical Behavior.24:325-340
(ลงชื(นายสุ

่ ) รปรีชา ลาภบุญเรือง) ผูอ
้ นุมตั โิ ครงการ
ผูเ้ สนอโครงร่้ าาํ งวิ
ผูอ จยั
นวยการโรงเรียนอนุกูลนารี
(นางสาวแพรไหม สามารถ)

(ลงชือ ่ )
ผูเ้ ห็นชอบโครงร่างวิจยั
(นายกิตติศกั ดิ ์ วรรณทอง)
หัวหน้ากลุม
่ บริหารวิชาการ

(ลงชือ ่ )
ผูเ้ ห็นชอบโครงร่างวิจยั
(นางชนัฏฎา จําเริญสรรพ์)
รองผูอ ้ าํ นวยการกลุม
่ บริหารงานวิชาการ

(ลงชือ
่ ) ผูอ้ นุมตั ิ
(นายสุรปรีชา ลาภบุญเรือง)
ผูอ
้ าํ นวยการโรงเรียนอนุกูลนารี

You might also like