You are on page 1of 66

การจัดการเรียนรู้

อาจารย์ ดร.วิชยั เสวกงาม


การจัดการเรียนรู้ กับ ผลการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ หมายถึงการดาเนินการหรือการจัดสภาพการณ์
ของการเรียนการสอนตามหลักการหรือทฤษฎีของผูส้ อน เพื่อให้
ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนด
ผลการเรียนรู้ (learning outcome) หมายถึงสิ่งที่ผเ้ ู รียนสามารถทา
ได้อนั เป็ นผลมาจากการเรียนรู้ของผูเ้ รียน เป็ นการแสดงออกถึง
การเรียนรู้ของผูเ้ รียน ทัง้ ความรู้ ทักษะการคิด ทักษะการปฏิบตั ิ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้ของครูยคุ ใหม่
• นักเรียนสร้างความรู้ด้วยตัวเอง
• นักเรียนเรียนรู้ผา่ นการลงมือปฏิบตั ิ
• นักเรียนมีผลการเรียนรู้ (learning outcome) ครบทุกด้าน คือ
ความรู้ ทักษะการคิดและทักษะการปฏิบตั ิ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
• นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้าน Literacy, Numeracy และ
Reasoning ability
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)
การจัดการเรียนรู้ของครูยคุ ใหม่
• ครูจดั การเรียนรู้ให้เป็ นไปตาม
• หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน
้ ฐาน พ.ศ. 2551
• แนวทางของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
• แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• อาเซียนศึกษา
• ครูใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)
21st Century Skills Framework

OECD (2008) 5
21st Century Skills Framework
Core Subjects 21st Century Themes
• ภาษาประจาชาติ / การอ่าน • ความตระหนักสานึ กระดับโลก
• ภาษาของโลก - ภาษาอังกฤษ การเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการรู้
• ศิลปะ เรื่องการเป็ นผูป้ ระกอบการ
• ภูมิศาสตร์
• การรู้เรื่องความเป็ นพลเมือง
• ประวัติศาสตร์
• คณิตศาสตร์ • การรู้เรื่องสุขภาพ
• วิทยาศาสตร์
• การปกครอง / การเป็ นพลเมือง
OECD (2008)

6
21st Century Skills Framework
Learning & Innovation Skills Information, Media & Technology Skills
▪ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการ  การรู้เรื่องสารสนเทศ
แก้ปัญหา  การรู้เรื่องสื่อ
▪ การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม  การรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและ
▪ การสื่อสาร และการร่วมมือ การสื่อสาร

OECD (2008)

7
21st Century Skills Framework
Life & Career Skills
 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
ความคิดริเริ่มและการนาตนเอง
 ทักษะทางสังคมและข้ามวัฒนธรรม
 ผลิตภาพ และความรับผิดชอบใน
หน้ าที่
้ า และความรับผิดชอบ
 ความเป็ นผูน

OECD (2008)
8
ที่มา: http://เศรษฐกิจพอเพีย9ง.net/
ที่มา: http://www.thisasean.com/
10
จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้
▪ ผูเ้ รียนรู้อะไร
▪ ผูเ้ รียนรู้สึกอย่างไร Cognitive

▪ ผูเ้ รียนทาอะไรได้

Affective Psychomotor
Bloom's Revised Taxonomy of Cognitive Domain

ที่มา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
ให้คาจากัดความ (define)
ความรูค้ วามจา จาลอง (duplicate)
เป็ นความสามารถในการ จัดทารายการ (list)
เก็บรักษาประสบการณ์
ท่องจา (memorize)
ต่างๆ ที่ได้รบั รู้ และ
สามารถระลึก ระลึก (recall)
สิ่งนัน้ ได้เมื่อต้องการ พูดซา้ (repeat)
ทาซา้ (reproduce)
บอก (state)
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
จัดหมวดหมู่ รายงาน (report)
ความเข้าใจ (classify) คัดเลือก (select)
เป็ นความสามารถในการ บรรยาย (describe)
แปลความ (translate)
จับใจความสาคัญของสาระ
อภิปราย (discuss)
ได้ โดยแสดงออกมาใน ถอดความ
รูปการแปลความ ตีความ อธิบาย (explain) (paraphrase)
หรือขยายความ ระบุชื่อ (identify)
ค้นหา (locate)
จาได้ (recognize)
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
เลือก (choose) ทากาหนดการ
การนาไปใช้ (schedule)
สาธิต (demonstrate)
เป็ นความสามารถของ ร่างแบบ (sketch)
แสดงบทบาท
ผูเ้ รียนในการนาความรูไ้ ป
(dramatize) หาคาตอบ (solve)
ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่างๆ ได้ โดยอาศัยความรู้ คานวณ (compute) ใช้ (use)
ความจา และความเข้าใจ แสดงตัวอย่าง เขียน (write)
(illustrate)
ดาเนินการ (operate)
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
ประเมินค่า/ตีราคา (appraise)
การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ (compare)
เป็ นความสามารถของ เทียบความแตกต่าง (contrast)
ผูเ้ รียนในการคิด แยกแยะ วิพากษ์ (criticize)
เรือ่ งราวสิ่งต่างๆ ออกเป็ น บอกความแตกต่าง (differentiate)
ส่วนย่อยหรือองค์ประกอบ แบ่งแยก (discriminate)
ที่สาคัญได้ และมองเห็น แสดงให้เห็นความแตกต่าง (distinguish)
ความสัมพันธ์ของส่วนที่
ตรวจสอบ (examine)
เกี่ยวข้องกัน
ทดลอง (experiment)
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
ประเมินคุณค่า (appraise)
การประเมินค่า โต้แย้ง (argue)
เป็ นความสามารถของ แก้ต่าง (defend)
ผูเ้ รียนในการตัดสินคุณค่า
พิจารณาตัดสิน (judge)
ของสิ่งต่างๆ ทัง้ เนื้ อหาและ
วิธีการที่เกิดขึน้ อาจจะ เลือก (select)
กาหนดขึน้ เองจากความรู้ สนับสนุน (support)
ประสบการณ์
ให้คณ
ุ ค่า (value)
ประเมิน (evaluation)
ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
Cognitive Domain
ประกอบ/รวบรวม (assemble)
การสร้างสรรค์ สร้าง (construct)
เป็ นความสามารถของ
สร้างสรรค์ (create)
ผูเ้ รียนในการผสมผสาน
ส่วนย่อยๆ เข้าด้วยกัน ให้ ออกแบบ (design)
เป็ นรูปแบบหรือโครงสร้าง พัฒนา (develop)
ใหม่ การสร้างผลิตภัณฑ์
หรือความคิดเห็นมุมมอง คิดค้น (formulate)
ใหม่ๆ แต่ง/ประพันธ์ (write)
Krathwohl's Taxonomy of Affective Domain

ที่มา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html
Affective Domain 1. การรับรูห้ รือการยอมรับ (receiving)
เป็ นการแปลความหมายความรูส้ ึกที่เกิด
จากสิ่งเร้า หรือปรากฏการณ์
2. การตอบสนอง (responding)
เป็ นการแสดงออกมาในรูปของความเต็ม
ใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้า
3. การเกิดค่านิยม (valuing)
เป็ นการเลือกปฏิบตั ิ ในสิ่งที่สงั คมยอมรับ
หรือปฏิบตั ิ ตามในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ ง จนกลายเป็ น
ความเชื่อและเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนัน้
4. การจัดระเบียบค่านิยม (organizing)
Affective Domain
เป็ นการรวบรวมค่านิยมใหม่ที่เกิดขึน้ จาก
แนวคิดและการจัดระบบค่านิยมที่จะยึดถือต่อไป
หากไม่สามารถยอมรับค่านิยมใหม่ ก็จะยึดถือ
ค่านิยมเก่าต่อไปแต่ถ้ายอมรับค่านิยมใหม่กจ็ ะ
ยกเลิกค่านิยมเก่าที่ยึดถือ
5. การสร้างลักษณะนิสยั ตามค่านิยมที่ยึดถือ
(characterization by value)
เป็ นการนาค่านิยมที่ยึดถือมาใช้เป็ นตัว
ควบคุมพฤติกรรม ที่เป็ นนิสยั ประจาตัวของตน
ให้ประพฤติปฏิบตั ิ แต่สิ่งที่ถกู ต้องดีงาม
Dave's Taxonomy of Psychomotor Domain

ที่มา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html
1. การเลียนแบบ (imitation)
Psychomotor Domain เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รียนรับรู้หลักการปฏิบตั ิ ที่
ถูกต้อง หรือ เป็ นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ
2. กระทาตามแบบ (manipulation)
เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รียนพยายามฝึ กตามแบบที่
ตนสนใจและพยายามทาซา้ เพื่อให้เกิดทักษะตาม
แบบที่ตนสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบตั ิ งานได้ตาม
ข้อแนะนา
3. ความถูกต้องตามแบบ (precision)
เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั ิ งานได้
ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องชี้แนะ พยายามหาความ
ถูกต้องในการปฏิบตั ิ และพัฒนาเป็ นรูปแบบของ
ตัวเอง
4. การกระทาที่มีความต่อเนื่ องประสานกัน
Psychomotor Domain (Articulation)
เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รียนปฏิบตั ิ ตามรูปแบบ
ที่ได้ตดั สินใจเลือกเป็ นของตัวเองและจะปฏิบตั ิ
ตามรูปแบบนัน้ อย่างต่อเนื่ องและสมา่ เสมอ จน
สามารถปฏิบตั ิ งานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และ
คล่องแคล่ว
5. การทาจนธรรมชาติ (Naturalization)
เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั ิ สิ่ง
นัน้ ๆ ได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติ ดู
เป็ นไปอย่างธรรมชาติไม่ขดั เขิน
การออกแบบการเรียนการสอน
(Instructional Design)
กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน
• มุ่งไปที่ ‘การเรียนรูท
้ ี่ได้รบั การวางแผนหรือออกแบบมาล่วงหน้ า’
(Intentional Learning)
• เกี่ยวข้องกับบุคคลที่หลากหลาย เช่น ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบการ
เรียนการสอน ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาระความรูข้ องวิชานัน้ ๆ นักประเมินผล ฯลฯ
• ดาเนินการได้ในหลายระดับ เช่น ระดับบทเรียน ระดับหน่ วยการเรียน
รายวิชา หรือตลอดหลักสูตร
• มีลาดับขัน้ ตอน และประกอบด้วยกิจกรรมย่อยในแต่ละขัน้ ตอน
• คานึ งถึงธรรมชาติของสถานการณ์การเรียนรูว้ ่าสามารถเกิดขึน
้ ได้ทงั ้ ภายใน
และภายนอกบุคคล
ADDIE Model
ขัน้ การวิเคราะห์

ขัน้ การออกแบบ

ขัน้ การพัฒนา

ขัน้ การนาไปใช้
ขัน้ การประเมินผล
• วิเคราะห์: ทาความเข้าใจในเป้ าหมาย+ความ
ต้องการของหลักสูตร บริบทของสถานศึกษา และ
ADDIE Model
บริบทในการจัดการศึกษาของชาติ
• ออกแบบ: กาหนดเป้ าหมาย/ผลการเรียนรูท
้ ี่คาดหวัง
กาหนดหัวข้อการเรียนรู้ บทเรียน หรือหน่ วยการ
เรียนรู้ จัดลาดับก่อน/หลัง กาหนดแนวทางการ
จัดการเรียนรูข้ องแต่ละหน่ วย/แผน และกาหนดแนว
ทางการประเมินผล
ADDIE Model
• พัฒนา: กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมการ
เรียนรู้ แนวทางการจัดการ ชัน้ เรียน การ
ประเมินผล ตลอดจนเลือก/ระบุสื่อการเรียนการสอน
ที่จะนามาใช้
• นาไปใช้: นาร่องทดลองใช้ และนาไปใช้ในบริบทจริง
• ประเมินผล: ประเมินผลในทุกขัน้ ตอน และเสนอ
แนวทางในการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้
ขัน้ ตอนการออกแบบการเรียนการสอน
1. การกาหนดเนื้ อหาสาระและมโนทัศน์ และการกาหนดวัตถุประสงค์
o การวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน และตัวบ่งชี้
o การวิเคราะห์มโนทัศน์
• มโนทัศน์ หลัก
• มโนทัศน์ ย่อย
• การเชื่อมโยงมโนทัศน์
o การวิเคราะห์ทกั ษะและกระบวนการ
ขัน้ ตอนการออกแบบการเรียนการสอน
1. การกาหนดเนื้ อหาสาระและมโนทัศน์ และการกาหนดวัตถุประสงค์
o การวิเคราะห์คณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์
o การกาหนดวัตถุประสงค์ให้ครอบคลุม 3 ด้าน คือ
• ด้านความรู้
• ด้านทักษะและกระบวนการ
• ด้านคุณลักษณะ
ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ
สาระการเรียนรู้ แก้ปัญหา ให้เหตุผล สื่อสาร 4 เชื่อม คิด ซื่อสัตย์ มีวินัย ………. ............
มาตรฐาน ตัวชี้วดั 1 , 2 3 โยง 5 สร้างสร
รค์ 6
บทที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
1. รูปเรขาคณิต 3 มิติ ค 3.1 ม. 3/1 ● ○ ○ ○ ● ○
2. ปริมาตรของปริซึม ค 2.1 ม. 3/2
● ○ ○ ● ○ ● ●
ค 2.2 ม. 3/1
3. ปริมาตรของทรงกระบอก ค 2.1 ม. 3/2
● ● ○ ○ ○ ● ●
ค 2.2 ม. 3/1
4. ปริมาตรของพีระมิด ค 2.1 ม. 3/2
● ● ○ ○ ○ ● ○
ค 2.2 ม. 3/1
5. ปริมาตรของกรวย ค 2.1 ม. 3/2
● ● ○ ○ ○ ● ●
ค 2.2 ม. 3/1
6. ปริมาตรของทรงกลม ค 2.1 ม. 3/2
● ● ○ ○ ○ ● ○
ค 2.2 ม. 3/1
......... ● ● ●
● หมายถึง สิ่งที่เน้ น ต้องมีวตั ถุประสงค์ กิจกรรมการเรียน
การสอนที่แสดงว่าส่งเสริมให้เกิดสิ่งที่เน้ น และมีการวัดและ
ประเมินผล

○ หมายถึง สิ่งที่ไม่เน้ น แต่คาดว่าน่ าจะมีหรือเกิดขึน้ แต่อาจ


ไม่ระบุชดั เจนในวัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนการสอน
และการวัดและประเมินผล
ขัน้ ตอนการออกแบบการเรียนการสอน
2. การกาหนดการวัดและการประเมินผล การกาหนดวัตถุประสงค์ให้
กาหนดวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์ ภาระงาน ชิ้นงาน
แบ่งออกตามวัตถุประสงค์ได้ 3 ด้าน คือ
• การวัดและการประเมินผลด้านความรู้
• การวัดและการประเมินผลด้านทักษะและกระบวนการ
• การวัดและการประเมินผลด้านคุณลักษณะ
ขัน้ ตอนการออกแบบการเรียนการสอน
3. การกาหนดแนวทาง / ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน
4. การกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
5. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
6. การนากระบวนการเรียนการสอนที่ออกแบบไปใช้
7. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
▪ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) เป็ นขัน้ ตอนที่ใช้ในการสืบสอบ
ทาโครงงาน และทาวิจยั
▪ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skills) เป็ นทักษะทาง
ปัญญา หรือทักษะการคิด เป็ นทักษะการคิดทัง้ ระดับพืน้ ฐาน และการคิด
ระดับสูง
▪ จิตวิทยาศาสตร์ (scientific mind) เป็ นคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน นักวิทยาศาสตร์น้อย นักวิจยั เช่น มีคณ ุ ลักษะ 8 ประการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เป็ นต้น
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)

36
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)
Scientific Method
First you make an observation of the world around Make an observation
Take notes and record all the things that you found Ask a question
Then you ask a simple question something that you Form a hypothesis
want to learn
And make a prediction
Then you form a hypothesis to explain what you
observed Do a test or experimentation
Then you make a prediction about how it's gonna go Analyze data
Do a test with a control and variable and draw a conclusion
Then you analyze the data and draw a conclusion Scientific Method
Do the scientific method to avoid all confusion
ที่มา: http://www.havefunteaching.com/
37
5 STEPs Learning to
Question

Learning to Learning to
Service Literacy Search
Numeracy
Reasoning
ability

Learning to
Learning to
Communi-
Construct
cation
38
From 5 STEPs to 21st Century Skills

Literacy
21st
Numeracy
5 STEPs Century
Reasoning Skills
ability

39
5 STEPs
ตอบแทนสังคม
สื่อสาร
สร้างองค์ความรู้
แสวงหาสารสนเทศ
ตัง้ คาถาม

พิมพันธ์ เดชะคุปต์40 (2556)


5 STEPs

ขัน้ ตอนที่ 1 การเรียนรูต้ งั ้ คาถาม หรือขัน้ ตัง้ คาถาม


o นักเรียนฝึ กสังเกตสถานการณ์ ปรากฏการณ์ต่างๆ จนเกิดความสงสัย
o นักเรียนฝึ กตัง้ คาถามสาคัญ รวมทัง้ การคาดคะเนคาตอบ ด้วยการ
สืบค้นความรูจ้ ากแหล่งต่างๆ และสรุปเป็ นคาตอบชัวคราว่

41
5 STEPs

ขัน้ ตอนที่ 2 การเรียนรูแ้ สวงหาสารสนเทศ เป็ นขัน้ ตอนการออกแบบ/


วางแผนเพื่อรวบรวมข้อมูล สารสนเทศ จากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ รวมทัง้ การ
ทดลอง การออกแบบเก็บข้อมูล

42
5 STEPs

ขัน้ ตอนที่ 3 การเรียนรูเ้ พื่อสร้างองค์ความรู้ เป็ นขัน้ ที่นักเรียนมีการ


วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ การสื่อความหมายข้อมูลด้วย
แบบต่างๆ หรือด้วยผังกราฟิก การแปลผล จนถึงการสรุปผล หรือการสร้าง
คาอธิบาย เป็ นการสร้างองค์ความรู้ ซึ่งเป็ นแก่นของความรูป้ ระเภท (1)
ข้อเท็จจริง (2) คานิยาม (3) มโนทัศน์ (4) หลักการ (5) กฎ ตลอดจน (6)
ทฤษฏี ได้ด้วยตนเอง

43
5 STEPs

ขัน้ ตอนที่ 4 การเรียนรูเ้ พื่อการสื่อสาร คือขัน้ นาเสนอความรู้ด้วยการใช้


ภาษาที่ถกู ต้อง ชัดเจน และเป็ นที่เข้าใจ อาจเป็ นการนาเสนอด้วยการเขียน
และนาเสนอด้วยวาจา

44
5 STEPs

ขัน้ ตอนที่ 5 การเรียนรูเ้ พื่อตอบแทนสังคม เป็ นขัน้ ตอนของการฝึ กนักเรียน


ให้นาความรูท้ ี่เข้าใจ นาการเรียนรูไ้ ปใช้ประโยชน์ เพื่อส่วนรวม หรือเห็น
ประโยชน์ ต่อส่วนรวมด้วยการทางานเป็ นกลุ่ม ร่วมกันสร้างผลงานที่ได้จาก
การแก้ปัญหาสังคมอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งอาจเป็ นความรู้ แนวทาง สิ่งประดิษฐ์
ซึ่งอาจเป็ นนวัตกรรม ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม อันเป็ นการแสดงออก
ของความเกือ้ กูล (caring) และแบ่งปัน (sharing) ให้สงั คมมีสนั ติและยังยื
่ น

45
พิมพันธ์ เดชะคุปต์46 (2556)
47
48
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs
การทางานให้สาเร็จ (ชาวนากับลา)
1. ระบุคาถาม ปัจจัยอะไรบ้างที่ทาให้เราทางานไม่สาเร็จตามเป้ าหมาย
2. ขัน้ แสวงหาสารสนเทศ คาดคะเนคาตอบโดยใช้หลักการให้เหตุผลเชิงอธิบาย ครูให้
นักเรียนเรียนรู้ด้วยการเล่านิทาน เรื่อง ชาวนากับลา
2.1 ขัน้ ตัง้ คาถาม ทาไมชาวนาและลูกชายจึงแบกลาเดินมา ทาไมลาที่แบกมาจึงตกน้า
2.2 คาดคะเนคาตอบ
ลาดิ้น 2 คนแบกไม่ไหว
ชาวนาและลูกโมโห โยนลงน้า 1. สรุปอ้างอิง
ลาตาย จึงโยนทิ้งน้า 2. ให้เหตุผลเชิงอธิบาย (abductive)
........
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)
49
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs
การทางานให้สาเร็จ (ชาวนากับลา)
ครูเล่านิทานประกอบภาพ
1) ชาวนากับลูกจูงลาเพื่อพาไปขาย มีคนมาทักว่า ทาไมไม่ขี่ลา
2) ลูกขี่ลา และชาวนาจูงลา มีคนมาทักว่า ทาไมชาวนาไม่ให้ลกู จูง
3) ชาวนาขี่ลา และลูกจูง มีคนมาทักว่าอากาศร้อยจะตายไป ทาไมไม่ขี่ลาล่ะ
4) ชาวนากับลูกขี่ลา มีคนมาทักว่า ทาไมทรมานสัตว์
5) ชาวนากับลูกหามลา พอถึงสะพานข้ามลาธาร ลาตกไปในน้า

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)


50
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs
การทางานให้สาเร็จ (ชาวนากับลา)
3. ขัน้ สร้างองค์ความรู้
1) คาถาม วิเคราะห์เหตุการณ์ในแต่ละตอน มีอะไรเกิดขึน้
2) ชาวนากับลูกเปลี่ยนพฤติกรรมเพราะเหตุใด
3) สรุปผลที่แท้จริงที่ลาตกน้า
4) สรุปผล เรื่องนี้ อะไรเป็ นสาเหตุที่ทาให้ชาวนาและลูกทางานไม่สาเร็จ (inductive)
4. ขัน้ สื่อสาร
1) สื่อสารด้วยการเขียน เสนอความรู้ที่ได้ประกอบการเขียนภาพ และคาสอนใจ ใช้ผงั
กราฟิก (GOs)
2) สื่อสารด้วยการแสดงบทบาทสมมุติแบบย่อๆ หน้ าห้องเรียน
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)
51
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs
การทางานให้สาเร็จ (ชาวนากับลา)
5. ขัน้ ตอบแทนสังคม
1) ให้สร้างนิยายเรื่องใหม่ที่เกิดขึน้ ในประชาคมอาเซียนประเทศใดก็ได้
ตามความสนใจ ที่สะท้อนปัจจัยที่เป็ นอุปสรรคการทางานให้สาเร็จ
2) จากนัน้ ให้จดั ทานิทานเรื่องนัน้ เป็ นเล่ม และตกแต่งให้สวยงาม โดย
คานึ งถึงหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3) งานนี้ อาจทาเดี่ยว หรือกลุ่มโดยไม่เกิน 3 คน จงทางานด้วยความ
มุ่งมันและรั
่ บผิดชอบ

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2556)


52
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ 3
เรื่องการประเมินค่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จานวน 4 คาบ
สาระการเรียนรู้
วิธีการประเมินความน่ าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ อย่างง่ายๆ
การประเมินความน่ าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในหลักฐานสมัยอยุธยา
การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทัง้ ความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในสมัยอยุธยา
ความสาคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลและตีความทางประวัติศาสตร์
สถานภาพของพระมหากษัตริยไ์ ทยในสมัยอยุธยา

ชัยรัตน์ โตศิลา (2556)


53
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

ขัน้ ที่ 1 ขัน้ อภิปรายเพื่อกาหนดประเด็นศึกษา (คาบที่ 1)


1. ผูส้ อนสนทนากับผูเ้ รียนในประเด็นเกี่ยวกับสถานภาพของพระมหากษัตริยไ์ ทยในสมัย
อยุธยา โดยผูส้ อนใช้คาถามเพื่อนาไปสู่การอภิปรายดังนี้
1.1 ชุมชนไทยบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาก่อนที่จะมีการก่อตัง้ เป็ นอาณาจักร
อยุธยานัน้ แต่เดิมเคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติใดมาก่อน
1.2 หลักฐานที่บง่ บอกถึงการที่ชมุ ชนไทยบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาก่อนพุทธ
ศตวรรษที่ 18 เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมนัน้ มีอะไรบ้าง
1.3 นอกจากอาณาจักรขอมแล้วชุมชนไทยบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาก่อนพุทธ
ศตวรรษที่ 18 เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรอื่น ๆ อีกหรือไม่ ถ้ามีได้แก่อาณาจักร
ใดบ้าง และมีหลักฐานที่สนับสนุนถึงการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรต่าง ๆ อะไรบ้าง
54
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

ขัน้ ที่ 1 ขัน้ อภิปรายเพื่อกาหนดประเด็นศึกษา (คาบที่ 1)


2. จากคาถามในกิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและอภิปรายถึงลักษณะ
การปกครองของอาณาจักรอยุธยาที่อาจจะได้รบั อิทธิพลมาจากอาณาจักรต่าง ๆ ก่อนที่จะมี
การก่อตัง้ เป็ นอาณาจักรอยุธยา
3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายลักษณะการปกครองในสมัยอยุธยา จากนัน้ ร่วมกัน
ตัง้ สมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะการปกครองในสมัยอยุธยาและสถานภาพของพระมหากษัตริย์
ไทยในสมัยอยุธยา ทัง้ นี้ ผสู้ อนจะเขียนสมมติฐานที่ผเู้ รียนร่วมกันตัง้ บนกระดาน แล้วให้
ผูเ้ รียนจดสมมติฐานดังกล่าวลงในสมุด

55
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 2 ขัน้ วิเคราะห์หลักฐานหลัก (คาบที่ 1)

1. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนศึกษาหลักฐานชัน้ ต้นทางประวัติศาสตร์จากใบงานที่ 1

“สมเดจพระเจ้ารามาธิบดีบรมไตรโลกนารถมหามงกุฎเทพ ให้นักเรียนวิเคราะห์
มนุษยวิสทุ ธิสรุ ิ ยวงษองคพุทธางกูร บรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่ หลักฐานตามประเด็น ดังนี้
หัวทรงทศพีธราชธรรมถวัลราชประเวนี ศรีบรมกระษัตราธิราช 1. สาระสาคัญ/แนวคิดหลัก
พระบาทดารงภูมมณทล สกลสีมาประชาราษฎร บรมนารถบรม ของหลักฐาน
บพิตร” 2. วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน
3. อคติของผูเ้ ขียน
วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ, กฎมณเทียรบาล 4. ประเด็นคาถามที่มีต่อ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ, หน้ า 63, 65. เนื้ อหาในหลักฐานดังกล่าว
56
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน (คาบที่ 2 และ 3)
1. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนศึกษาหลักฐานชัน้ ต้นทางประวัติศาสตร์จานวน 3 ชิ้น
หลักฐานที่ 1
“ราชสานักพระเจ้าแผ่นดินนัน้ กว้างใหญ่ไพศาลดูสง่างามยิ่ง...เวลาเสด็จออกขุนนาง...ขุน
นางข้าราชการและตารวจที่คมุ อาวุธต่างคุกเข่าหมอบอยู่ด้วยความเคารพเบือ้ งพระบาท...ชาว
ต่างประเทศที่เข้าเฝ้ า จะต้องคุกเข่าประสานมือทัง้ สองน้ อมศรีษะ และหมอบลงด้วยอาการที่
เคารพอย่างยิ่ง เมื่อจะกราบทูลข้อความใด ๆ จะต้องกล่าวคานาพระนาม และสรรเสริญพระ
บารมีเสียก่อน กระแสพระราชโองการของพระองค์เฉี ยบขาด เปรียบประดุจโองการแห่งพระผู้
เป็ นเจ้า ซึ่งข้าราชบริพารจะต้องปฏิบตั ิ และดาเนินตาม...ในขณะเสด็จพระราชดาเนินนี้ บรรดา
ราษฎรที่เฝ้ าอยู่ตามระยะทางต่างก็พนมมือหมอบราบอยู่บนพืน้ ดิน ราวกับกระทาความเคารพ
บูชาพระผูเ้ ป็ นเจ้าฉะนัน้ ...” โยสต์ สเคาเต็น, “จดหมายเหตุของโยสต์ สเคาเต็นในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรง
ธรรมและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง”, ใน ประชุมพงศาวดารฉบบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, หน้ า 260-262 57
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน (คาบที่ 2 และ 3)
1. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนศึกษาหลักฐานชัน้ ต้นทางประวัติศาสตร์จานวน 3 ชิ้น
หลักฐานที่ 2
“คานาหน้ าพระนามของพระเจ้าแผ่นดินฟังดูโอ่หรูเป็ นอย่างยิ่ง และเลยเถิดเกินมนุษย์ ...
ถ้าผูใ้ ดพูดถึงพระเจ้าแผ่นดิน แม้ผพู้ ดู จะไม่มีความสาคัญอันใด คานาหน้ าพระนามก็จะไม่น้อย
ไปกว่าถ้อยคาเหล่านี้ คือ พระพุทธิเจ้าข้าขอรับพระราชโองการใส่เกล้าใส่กระหม่อม...พระ
ประมุขของประเทศที่สวยงามนี้ ยิ่งใหญ่กว่าพระเจ้าเสียอีก...พระองค์ทรงเป็ นสมมติเทพ...พระ
เจ้าแผ่นดินเป็ นผูม้ ีเกียรติและได้รบั ความเคารพจากไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของพระองค์มากกว่าเทพ
เจ้าเสียอีก...”
ฟาน ฟลีต, “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม”, ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของ
ฟาน ฟลีต (วัน วลิต), หน้ า 22-25.
58
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน (คาบที่ 2 และ 3)
1. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนศึกษาหลักฐานชัน้ ต้นทางประวัติศาสตร์จานวน 3 ชิ้น
หลักฐานที่ 3
พระมาทรงยศโยศพัน พรหมา
มาพ่างมารถเป็ น ปิ่นแก้ว
พระมาเทียบเทียมสมา ธิราช เพชรแฮ
มาเทียบมาทบแผ้ว แผ่นไตร
ลิลิตยวนพ่าย. พระนคร: ศิลปบรรณาคาร, 2513. หน้ า 4.

ผูเ้ รียนร่วมกันวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในแต่ละหลักฐานในประเด็นเกี่ยวกับสาระสาคัญเบือ้ งของ


หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ ผูเ้ ขียน หัวข้อหลัก ช่วงเวลาที่เขียน ประเภทของหลักฐาน สาระสาคัญ/
แนวคิดหลักของหลักฐาน วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน และอคติของผูเ้ ขียน
59
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน (คาบที่ 2 และ 3)
2. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และตีความ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ทงั ้ 3 ชิ้นกับข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 2 โดยมีประเด็นที่นาไปสู่การอภิปรายดังนี้
2.1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 3 มีความสัมพันธ์กบั หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 2 อย่างไร
2.2 วิถีชีวิตของประชาชนที่พบจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 2 และ
ขัน้ ตอนที่ 3 มีลกั ษณะอย่างไรบ้าง
2.3 ข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 3 มีความ
เหมือนหรือแตกต่างกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนที่ 2 อย่างไรบ้าง ให้ยกตัวอย่าง
ข้อมูลที่นามาใช้สนับสนุนการวิเคราะห์
60
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน (คาบที่ 2 และ 3)
3. ผูส้ อนอธิบายถึงแนวทางในการค้นคว้าหลักฐานทางประวัติศาสตร์จากแหล่งข้อมูลต่าง
ๆ ให้กบั ผูเ้ รียน จากนัน้ แบ่งกลุ่มผูเ้ รียนออกเป็ น 5 กลุ่มแล้วมอบหมายให้ผเู้ รียนไปสืบค้นและ
รวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กบั ประเด็นที่กาลังศึกษา / สมมติฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้ร่วมกันตัง้ ขึน้ ในขัน้ ตอนที่ 1

61
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ทดลองสืบค้น (คาบที่ 4)
1. ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มนาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามที่กลุ่มตนได้สืบค้นและรวบรวมมา
จากนัน้ ผูส้ อนให้ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่ม
ตนพร้อมทัง้ บันทึกข้อมูลดังกล่าวลงในสมุดตามประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สาระสาคัญเบือ้ งของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ ผูเ้ ขียน หัวข้อหลัก ช่วงเวลา
ที่เขียน ประเภทของหลักฐาน สาระสาคัญ/แนวคิดหลักของหลักฐาน วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน
และอคติของผูเ้ ขียน
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในขัน้ ตอนนี้ กบั ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ในขัน้ ตอนที่ 2 และ 3

62
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 5 ขัน้ นาเสนอข้อค้นพบ (คาบที่ 4)
1. ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้ าชัน้ เรียน โดยนักเรียนที่นัง่ ฟังต้องจดบันทึกการ
นาเสนอพร้อมทัง้ ตัง้ ประเด็นคาถามจากที่แต่ละกลุ่มนาเสนอ
2. ผูส้ อนตัง้ คาถามเพื่อนาไปสู่การสรุปบทเรียน ดังนี้
2.1 การวิเคราะห์ ตีความ และประเมินความน่ าเชื่อถือหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีวิธีการ
อย่างไรบ้าง
2.2 การวิเคราะห์ ตีความ และประเมินความน่ าเชื่อถือหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี
ความสาคัญต่อการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน ครอบครัว
ชุมชน และประเทศชาติอย่างไร
2.3 จากการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสถานภาพของพระมหากษัตริยไ์ ทยใน
สมัยอยุธยาทาให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับลักษณะสถานภาพของพระมหากษัตริยไ์ ทยในสมัยอยุธยาอย่างไรบ้าง
2.4 สถานภาพของพระมหากษัตริยไ์ ทยในสมัยอยุธยามีความสาคัญต่อการปกครองบ้านเมือง
อย่างไรและส่งผลมาสู่การปกครองประเทศไทยในปัจจุบนั อย่างไร
63
เปรียบเทียบวิธีการทางประวัติศาสตร์ กับ 5 STEPs
ขัน้ ที่ 1 ขัน้ อภิปรายเพื่อกาหนดประเด็นศึกษา ตัง้ คาถาม

ขัน้ ที่ 2 ขัน้ วิเคราะห์หลักฐานหลัก แสวงหาสารสนเทศ

ขัน้ ที่ 3 ขัน้ แยกแยะหลักฐาน สร้างองค์ความรู้

ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ทดลองสืบค้น สื่อสาร

ขัน้ ที่ 5 ขัน้ นาเสนอข้อค้นพบ ตอบแทนสังคม


64
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. การเรียนการสอน
1.1 การบรรลุจดุ ประสงค์
1.2 การเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
1.3 ผลงานของนักเรียน
1.4 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
1.5 ตัวผูส้ อน
2. ปัญหา/สิ่งที่ต้องการพัฒนา
3. แนวทางในการแก้ไขปัญหา
4. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ชัยรัตน์ โตศิลา (2556)
65
ทักษะที่จาเป็ น
1. การทางานกลุ่มอย่างต่อเนื่ อง
2. การประยุกต์ความรูแ้ ละการเรียนรู้
3. การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (creative problem solving)
4. ทักษะความรับผิดชอบ
5. ทักษะการแสดงความเกือ้ กูล และการแบ่งปัน

66

You might also like