You are on page 1of 64

ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


4.1 มวลอะตอม
1
จากการทดลองพบว่า He 1 อะตอม มีมวลเป็ น 4 เท่าของ ( 12 ของมวล C–12 1 อะตอม)
จึงถือกันว่า He มีมวลอะตอม = 4 หรื อ 4 a.m.u.
โดย 1 a.m.u. = 1.66 x 10–24 กรัม
มวลของอะตอมที่มีหน่วยเป็ น a.m.u. ( หรื อไม่มีหน่วย ) เราจะเรี ยกว่ามวลอะตอมของ
ธาตุ ส่ วนมวลของอะตอมที่มีหน่วยเป็ นกรัมจะเรี ยกว่า มวลธาตุ 1 อะตอม ซึ่ งหาค่าได้จาก
มวลธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10–24
เมื่อ มวลธาตุ 1 อะตอม คือมวลทีม่ ีหน่ วยเป็ นกรัม
มวลอะตอมของธาตุ คือมวลทีม่ ีหน่ วยเป็ น a.m.u. หรื อไม่ มีหน่ วย
ตัวอย่าง. ธาตุ Be มีมวลอะตอมเท่ากับ 9 ถามว่า Be 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
1. 1.66 x 10–24 2. 1.66 x 10–23 3. 1.49 x 10–24 4. 1.49 x 10–23
ตอบข้ อ 4.
วิธีทำ โจทย์บอก มวลอะตอมของ Be = 9 a.m.u.
มวล Be 1 อะตอม = ?
จาก มวลธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10–24
จะได้ มวล Be 1 อะตอม = 9 x 1.66 x 10–24
มวล Be 1 อะตอม = 14.9 x 10–24 กรัม
มวล Be 1 อะตอม = 1.49 x 10–23 กรัม
นัน่ คือธาตุ Be 1 อะตอม จะมีมวล 1.49 x 10–23 กรัม
1. โซเดียม (Na) มีมวลอะตอมเท่ากับ 23 เพราะอะตอมโซเดียมมีมวลเป็ น 23 เท่าของมวล
ของข้อใดต่อไปนี้
1 1
1. C12 2. 12 ของ C12 3. Na23 4. 23 ของ Na23

1
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
2. ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
1. 1.66 x 10–24 2. 1.66 x 10–23 3. 1.16 x 10–24 4. 1.16 x 10–23

3. ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม


1. 3.320 x 10–24 2. 3.320 x 10–23 3. 4.648 x 10–24 4. 4.648 x 10–23

4. ธาตุ D 2 อะตอมมีมวล 36.52 x 10–24 กรัม ถามว่าธาตุ D จะมีมวลอะตอมเท่าใด


1. 10 2. 11 3. 20 4. 22

2
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
เนื่ องจากธาตุ บ างชนิ ดจะมีหลายไอโซโทปท าให้ม วลของแต่ล ะอะตอมมี ค่าไม่เท่ ากัน
ดังนั้นเมื่อจะกล่าวถึงมวลอะตอมของธาตุเหล่านี้จึงต้องหามวลอะตอมเฉลี่ยมาใช้อา้ งอิง
มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุใดๆ สามารถหาค่าได้จากสมการ
(% x M)
มวลอะตอมเฉลี่ย = 100
เมื่อ M คือมวลอะตอมของแต่ละไอโซโทป
% คือเปอร์ เซ็นต์ของแต่ละไอโซโทปที่มีในธรรมชาติ
5. สมมติธาตุ M มี 3 ไอโซโทปคือ
เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 80 1
ไอโซโทปที่ 2 15 2
ไอโซโทปที่ 3 5 3
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M
1. 1.25 2. 1.73 3. 1.88 4. 2.01

6. สมมติธาตุ X ในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทปคือ


เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 10 9
ไอโซโทปที่ 2 90 10
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
1. 9.15 2. 9.38 3. 9.75 4. 9.90

3
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
7. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทปในธรรมชาติคือ
เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 80 12
ไอโซโทปที่ 2 15 13
ไอโซโทปที่ 3 5 14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
1. 12.15 2. 12.25 3. 12.75 4. 12.90

8. จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M ซึ่งมี 2 ไอโซโทปคือ


เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 92 14
ไอโซโทปที่ 2 8 15
1. 14.08 2. 14.55 3. 14.69 4. 14.86

9. ธาตุ X มี 2 ไอโซโทป คือ X10 ( มีมวลไอโซโทป = 10.3 ) ในปริ มาณ 80% และอีก
ไอโซโทปหนึ่ งในปริ ม าณ 20% หากมวลอะตอมเฉลี่ ย ของธาตุ X เท่ า กับ 10.6 มวล
ไอโซโทปของไอโซโทปอีกตัวจะเท่ากับ
1. 11.2 2. 11.4 3. 11.6 4. 11.8

4
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
10. ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิ ด ที่มี มวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลาดับ
หากมวลอะตอมของธาตุ D เท่ ากับ 10.20 ปริ มาณในธรรมชาติ ของ D ที่ มี ม วลอะตอม
11.00 จะเท่ากับกี่เปอร์เซ็นต์

4.2 มวลโมเลกุล
เนื่ องจากโมเลกุลเกิ ดจากการรวมตัวกันของอะตอม ดังนั้นการหามวลโมเลกุลจึงหาได้
จากการนาเอามวลอะตอมของอะตอมที่เข้ามารวมกันนั้นมาบวกกัน
เช่น NO มีมวลโมเลกุล = มวลอะตอมของ N + มวลอะตอมของ O
= 14 + 16
= 30
หรื อ H2O มีมวลโมเลกุล = ( มวลอะตอมของ H x 2 ) + มวลอะตอมของ O
= ( 1 x 2 ) + 16
= 18

ฝึ กทำ. จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้
1) HCN 2) CO2 3) H2O 4) H2 SO4 5) CH3 COOH

5
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
11. ถ้ามวลสู ตร KMO4 = 158 จงคานวณหามวลอะตอมของ M ( K = 39 , O = 16 )
1. 55 2. 45 3. 40 4. 35

12. ถ้านาสารประกอบ C3H8 มา 22 กรัม วิเคราะห์หา C จะได้ C กี่กรัม


1. 9 2. 12 3. 16 4. 18

13. สารประกอบชนิดหนึ่งจากการวิเคราะห์พบว่าประกอบด้วย Zn , Al และ O โดยมีสัดส่ วน


จานวนอะตอมเป็ น 1 : 2 : 4 ตามลาดับ ถ้านาสารดังกล่าวมา 18.3 กรัม มาวิเคราะห์หา
Zn จะได้ Zn หนักกี่กรัม ( Zn = 65 , Al = 27 )
1. 0.47 2. 0.92 3. 1.17 4. 6.5

6
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.3 โมล
ปริ มาณ 1 โมลของสารใดๆ มีความหมายได้ 3 แบบ ได้แก่
1) หมายถึงปริ มาณสารที่มีจานวนอนุภาค 6.02 x 1023 อนุภาค ( เลขอาโวกาโดร )
เช่น อะตอม H 1 โมลของอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม
โมเลกุล NO 1 โมลของโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล
ไอออน Cl– 1 โมลของอิออน = 6.02 x 1023 ไอออน
2) หมายถึงสารใดๆ ซึ่ งมีมวลเท่ากับมวลโมเลกุลหรื อมวลอะตอมแต่มีหน่วยเป็ นกรัม
เช่น H2O 1 โมเลกุล จะมีมวลเท่ากับ 18 ( เรี ยกมวลโมเลกุล )
ดังนั้น H2O 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล )
จะมีมวลเท่ากับ 18 กรัม
( คือเท่ากับมวลโมเลกุลแต่มีหน่วยเป็ นกรัม )
3) หมายถึงแก๊สหรื อไอใดๆ ที่มีปริ มาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิ เมตร ( ลิตร ) ที่ STP

1 โมล ( 1 atm , 0oC )

จานวนอนุภาค มีมวลเท่ากับมวลโมเลกุลหรื อ แก๊สหรื อไอปริ มาตร 22.4 Lit(dm3)


6.02x1023 อนุภาค มวลอะตอม แต่มีหน่วยเป็ นกรัม ที่ STP (1 atm , 0oC)
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับโมล
g N V จานวนอนุภาค ย่อย
แก๊ส
n = M = 6.02  10 = 22.4 = k ( 6.02 x 1023 )
23
เมื่อ n คือจานวนโมลตัวถูกละลาย
g คือมวลตัวถูกละลายที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุล หรื อมวลอะตอมตัวถูกละลาย
N คือจานวนโมเลกุล
V คือปริ มาตรแก๊สซึ่ งเป็ นตัวถูกละลาย ( ลิตร , dm3 )
แก๊ส
k คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
7
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
14. แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริ มาตรกี่ลิตร
1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

15. แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 88 กรัม ที่ STP จะมีปริ มาตรกี่ลิตร


1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

16. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริ มาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีจานวนโมเลกุลกี่โมเลกุล


1. 3.01 x 1023 2. 12.04 x 1023 3. 15.05 x 1023 4. 18.06 x 1023

17. แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ปริ มาตร 56000 cm3 ที่ STP จะมีจานวนโมเลกุลกี่โมเลกุล

1. 3.01 x 1023 2. 12.04 x 1023 3. 15.05 x 1023 4. 18.06 x 1023

8
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

18. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริ มาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุล
เท่าไร
1. 11.2 2. 16.0 3. 18.0 4. 20.5

19(แนว มช) สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย H 1 อะตอม N 1 อะตอม และ O


3 อะตอม สารนี้มวล 31.5 กรัม จะมีกี่โมเลกุล
1. 3.01 x 1023 2. 4.05 x 1023 3. 5.12 x 1023 4. 7.02 x 1023

20(แนว มช) แก๊สชนิ ดหนึ่งมีปริ มาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม แก๊สนี้น่าจะได้แก่
1. NH3 2. CH4 3. C2 H6 4. CO2

9
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
21. แก๊สชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 3 กรัม/ ลิตร ที่ STP แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด
1. 12.0 2. 24.6 3. 44.8 4. 67.2

22. แก๊ส CO2 มีความหนาแน่นกี่ กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ STP


1. 1.96 2. 1.96 x 10–3 3. 3.92 4. 3.92 x 10–3

23(แนว มช) ถ้านักเรี ยนดักน้ าบริ สุทธิ์ มา 2 cm3 น้ านั้นจะมีจานวนโมเลกุลเท่าใด


กาหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1.0 g/cm3
1. 0.11 2. 36 3. 6.69 x 1022 4. 1.20 x 1024

10
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
24. กรดแอซีติก ( CH3COOH ) 15 กรัม จะมีจานวนออกซิเจนอยูก่ ี่อะตอม
( C = 12 , H = 1 , O = 16 )
1. 6.02 x 1023 2. 3.01 x 1023 3. 2.41 x 1023 4. 1.20 x 1023

25. น้ า 4.5 กรัม ประกอบด้วยไฮโดรเจนกี่อะตอม


1. 3.01 x 1023 อะตอม 2. 1.66 x 1023 อะตอม
3. 1.20 x 1024 อะตอม 4. 2.40 x 1023 อะตอม

26. Fe4 [ Fe (CN)6 ]3 1.2 x 10–6 โมล จะมี Fe กี่อะตอม


1. 2.5 x 1015 2. 5.1 x 1015 3. 5.1 x 1018 4. 2.5 x 1018

11
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
27. ออกซิเจน ( O2 ) ปริ มาตร 11.2 ลิตร ที่ STP มีจานวนอิเล็กตรอนกี่ตวั
( ออกซิเจน 1 อะตอม มีอิเล็กตรอน 8 ตัว )
1. 16 2. 6.02 x 1023 3. 9.6 x 1024 4. 4.8 x 1024

28. กรดซัลฟุริก ( H2SO4 ) จานวนหนึ่ งประกอบด้วยไฮโดรเจน ( H ) 2.01 x 1023 อะตอม


กรดซัลฟุริกจานวนนี้มีกี่โมล
1. 0.55 2. 0.23 3. 0.195 4. 0.167

29. แก๊ส A4B6 ซึ่งมีจานวนอะตอมทั้งหมด 6.02 x 1023 อะตอม จะมีปริ มาตรเท่าใด


1. 22.4 dm3 2. 224 dm3 3. 2400 cm3 4. 2240 cm3

12
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
30. แก๊ส X2O3 5.6 dm3 ที่ STP มีมวลเท่ากับมีเทน ( CH4 ) 2 โมล จงหามวลอะตอม
ของ X
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

31. S8 กี่กรัมจึงจะมีจานวนโมเลกุลเท่ากับ SO2 6.4 กรัม


1. 2.56 2. 25.60 3. 256.00 4. 2560.00

32. ถ้าไนโตรเจน ( N2 ) 4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ X โมเลกุล แอมโมเนีย ( NH3 )


4 กรัม จะมีกี่โมเลกุล
17 X 28 X
1. 28 2. 17 3. 4 X 4. X

13
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.4 สารละลาย
4.4.1 ความเข้ มข้ นของสารละลาย
การบอกความเข้มข้นของสารละลายสามารถบอกได้หลายวิธีดงั นี้
1) โมลำริตี หรื อโมลำร์ หรื อโมลต่ อลิตร ( mol/dm3 หรื อ M )
หมายถึงจานวนโมลของตัวละลายที่มีในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิ เมตร ( ลิตร )
เช่ นสารละลาย NaOH เข้มข้น 5 โมล/ลิ ตร หมายความว่ามี NaOH 5 โมล ละลายอยู่ใน
สารละลายนี้ 1 ลิตร
สู ตรการคานวณความเข้ มข้ นแบบโมลาร์
สู ตรที่ 1 ใช้ สาหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ ตัวถูกละลายลงในตัวทาละลาย
c v จานวนอนุภาค ย่อย
g Vแก๊ส cสารละลาย v อนุภาคย่อย
n = M = 22.4 = 1000 = 1000 k = k ( 6.02 x 1023 )
เมื่อ n คือจานวนโมลตัวถูกละลาย
g คือมวลตัวถูกละลายที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
Vแก๊ส คือปริ มาตรแก๊สซึ่ งเป็ นตัวถูกละลาย ( ลิตร , dm3 )
cสารละลาย คือความเข้มข้นของสารละลาย ( โมล/ลิตร )
cอนุภาคย่อย คือความเข้มข้นของอนุภาคย่อยในสารละลาย ( โมล/ลิตร )
v คือปริ มาตรของสารละลาย ( cm3 )
k คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
สู ตร 2 ใช้ เมื่อนำสำรละลำยเดิมมำทำกำรปรับเปลีย่ นควำมเข้ มข้ นหรื อปริมำตร
c1 v 1 = c 2 v 2
เมื่อ c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายตอนแรกและตอนหลังตามลาดับ
(โมล/ลิตร )
v1 , v2 คือปริ มาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลาดับ

14
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
สู ตร 3 ใช้ เมื่อผสมสำรละลำยหลำยตัวเข้ ำด้ วยกัน
cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + …
เมื่อ c1 , c2 , cรวม คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ
สู ตร 4 ใช้ หำควำมเข้ มข้ นอนุภำคย่ อยบำงตัวในสำรละลำยผสม
cไอออนรวม vรวม = k1 c1 v1 + k2 c2 v2 + …
เมื่อ cไอออนรวม คือความเข้มข้นรวมของอนุภาคย่อยนั้นๆ ในสารละลายผสม
c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ
k1 , k2 คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารที่ 1 และ 2
ตามลาดับ
33. นากลูโคส (C6H12O6) 90 กรัม มาละลายน้ าจนได้สารละลายอันมีปริ มาตร 500 cm3
จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 1.0 2. 1.8 3. 3.0 4. 3.5

15
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

34. ในการเตรี ยมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol / dm3 จานวน 5 ลิตร ต้องใช้ NaOH
กี่กรัม ( Na = 23 , O = 16 , H = 1 )
1. 1.0 2. 2.0 3. 10.0 4. 20.0

35. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในน้ ากลัน่ เป็ นสารละลาย
300 cm3 ถ้าแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่ โมล/ลิ ตร

1. 0.83 2. 1.03 3. 2.44 4. 3.50

36. สารละลาย CuSO4 15.95 g / dm3 เข้มข้นเป็ นกี่ mol/dm3 ( Cu = 63.5 , S = 32 )


1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

16
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
37. นาโซเดียมซัลเฟต ( Na2SO4 ) 71 กรัม มาละลายน้ า เป็ นสารละลาย 500 cm3 สารละ
ลายที่ได้จะมีความเข้มข้นของ Na+ ไอออนกี่โมลต่อลิตร
1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

38. Sr(OH)2 เป็ นเบสแก่เมื่อนา Sr(OH)2 61 กรัม มาละลายในน้ า 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร


สารละลายที่ได้จะมีความเข้มข้น OH– ไอออนกี่โมลต่อลิตร ( Sr = 88 , O = 16 , H = 1)
1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

39. สารละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 5 mol/dm3 ปริ มาตร 1 dm3 เมื่อเติมน้ าลงไปจนปริ มาตรสุ ด


ท้ายรวมเป็ น 10 dm3 ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็ นเท่าใด
1. 0.40 2. 0.50 3. 4.00 4. 5.00

17
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

40. สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรี ยมให้ความเข้มข้นเป็ น


2 mol/dm3 จะต้องเติมน้ าจนมีปริ มาตรเป็ นกี่ cm3
1. 50 2. 100 3. 150 4. 200

41. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทาให้เจือจางเป็ น 1 ลิตร สาร
ละลายนี้เข้มข้นเท่าใด
1. 0.10 2. 0.70 3. 2.00 4. 5.00

42. สารละลายชนิ ดหนึ่ งเข้มข้น 2 mol/dm3 ปริ มาตร 1 dm3 เมื่ อเติมน้ าลงไปอีก 4 dm3
ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็ นเท่าใด
1. 0.40 2. 0.50 3. 4.00 4. 5.00

18
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

43. สารละลายเข้มข้น 3 M 100 cm3 จะทาให้มีความเข้มข้น 2 M ต้องเติมน้ าเย็นกี่ cm3


1. 50 2. 100 3. 150 4. 200

44. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 mol/dm3 จานวน 50 cm3 จาก HCl
เข้มข้น 4 mol/dm3 จะต้องเติมน้ าอีกกี่ cm3
1. 12.5 2. 25.0 3. 37.5 4. 50.0

45. ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่ งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จานวน 300 cm3 กับ
HCl ขวดที่ 2 ซึ่ งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จานวน 200 cm3 แล้วเติมน้ าลงไปอีก 500
cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3
1. 0.10 2. 0.70 3. 2.00 4. 5.00

19
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

46. เมื่อผสม NaOH 1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 กับ NaOH 2 mol/dm3 จานวน 50 cm3
และ NaOH 4 mol/dm3 200 cm3 แล้วเติมน้ าลงไป 100 cm3 จงหาความเข้มข้นใหม่
1. 1.10 2. 2.20 3. 3.00 4. 3.50

47. ผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.4 โมล/ลิตร จานวน 30 cm3 กับสารละลาย NaOH
เข้มข้น 0.3 โมล/ลิตร จานวน 20 cm3 แล้วเติมน้ ากลัน่ ลงไปจนมีปริ มาตรเป็ น 180 cm3
จะได้สารละลาย NaOH เข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 0.10 2. 1.00 3. 1.50 4. 1.80

48. ถ้านาสารละลาย NaCl ที่มีความเข้มข้น 3 M จานวน 200 cm3 มาผสมกับสารละลาย


NaCl ที่มีความเข้มข้น 1.5 M จานวนหนึ่ ง สารละลายผสม NaCl ที่ได้มีความเข้มข้น
2.1 M สารละลาย NaCl ที่มีความเข้มข้น 1.5 M ที่ใช้ผสมมีปริ มาตรเท่าใด
1. 150 2. 250 3. 300 4. 350

20
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

49. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จานวน 10 cm3 กับสารละลาย NaCl 4 mol/dm3 จานวน
100 cm3 จาก นั้นเติ ม NaCl อีก 175.5 กรัม แล้วเติมน้ าจนมี ปริ มาตร 500 cm3 จงหา
ความเข้มข้นสาร ผสมในหน่วย mol/dm3
1. 3.42 2. 6.84 3. 4.42 4. 8.84

50. ผสม NaCl เข้มข้น 2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 กับ MgCl2 3 mol/dm3 จานวน
100 cm3 และ AlCl3 1 mol/dm3 จ านวน 50 cm3 จงหาความเข้ม ข้น ของ Cl– ใน
หน่วย mol/dm3
1. 3.80 2. 4.40 3. 6.20 4. 8.80

21
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
2) โมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )
หมายถึงจานวนโมลของตัวละลายที่ละลายในตัวทาละลาย 1 กิ โลกรัม มีหน่ วย
เป็ นโมล/กิโลกรัม เช่นสารละลายยูเรี ยเข้มข้น 3 โมแลล หมายความว่ามียเู รี ย 3 โมล ละลาย
ในตัวทาละลาย 1 กิโลกรัม เป็ นต้น
สมกำรใช้ หำควำมเข้ มข้ นแบบโมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )
m = จานวนโมลตัวถูกละลาย
มวลตัวทาละลาย ในหน่วยกิโลกรั ม
เมื่อ m คือความเข้มข้นแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )

สมการใช้ หาความเข้ มข้ นแบบโมแลลจากความเข้ มข้ นแบบโมลาร์ ( โมล/ลิตร )


D = c ( 1000 M + m1 )
เมื่อ D คือความหนาแน่นของตัวถูกละลาย(ตัวละลาย) ( g/cm3 )
c คือความเข้มข้นแบบโมลาร์ ( โมล/ลิตร )
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
m คือความเข้มข้นแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )

51. เมื่อละลายน้ าตาลทราย (C12H22O11) 34.2 กรัม ในน้ า 500 กรัม สารละลายจะมีความ
เข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมแลล (m)
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.4 4. 0.8

22
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

52. สารละลาย A มีความเข้มข้น 5 mol/kg จงหาความเข้มข้นเป็ น mol/dm3 กาหนดให้มวล


โมเลกุลของสาร A เท่ากับ 120 ความหนาแน่นของสาร A 1.2 g/cm3
1. 3.75 2. 4.81 3. 5.33 4. 6.25

53. กรดเปอร์ คลอริ ก (HClO4) มีความเข้มข้น 5 mol/dm3 มีความหนาแน่ น 1.54 g/cm3 จง


หาความเข้มข้นเป็ น mol / kg
1. 3.75 2. 4.81 3. 5.33 4. 6.25

3) เศษส่ วนโมล หมายถึงอัตราส่ วนจานวนโมลของสารนั้นต่อจานวนโมลของสารทั้งหมด


ในสารละลาย ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย X
เช่นถ้าสารละลายประกอบด้วยสาร A 2 โมล B 5 โมล และ C 3 โมล
จะได้วา่ เศษส่ วนโมลของ A ( XA ) = 2  25  3 = 102 = 0.2
เศษส่ วนโมลของ B ( XB ) = 2  55  3 = 105 = 0.5
เศษส่ วนโมลของ C ( XC ) = 2  35  3 = 103 = 0.3

ถ้านาเศษส่ วนโมลของสารคูณด้วย 100 ผลที่ได้เรี ยกว่าร้อยละโดยโมล จากตัวอย่าง


นี้จะได้วา่ ร้อยละโดยโมลของ A = 0.2 x 100 = 20
ร้อยละโดยโมลของ A = 0.5 x 100 = 50
ร้อยละโดยโมลของ A = 0.3 x 100 = 30

23
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
54. สารละลายหนึ่ งประกอบด้วยสาร A 2 โมล B 1 โมล และ C 2 โมล เศษส่ วนโมล
ของสารแต่ละชนิดคือข้อใดต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )
1. 0.2 , 0.1 , 0.2 2. 0.4 , 0.2 , 0.4
3. 2.0 , 1.0 , 2.0 4. 4.0 , 1.0 , 2.0

55. สารละลายชนิดหนึ่ งเกิดจากการผสมสาร A ซึ่งมีมวลโมเลกุล 40 และไม่แตกตัว จานวน


20 กรัม ลงในน้ า 180 กรัม จงหาร้อยละโดยโมลของสาร A ในสารละลายนี้
1. 0.0476 2. 0.476 3. 4.76 4. 47.6

4) ร้ อยละ หรื อส่ วนในร้ อยส่ วน (parts per hundred , pph )


การบอกความเข้มข้นแบบนี้ จาแนกได้เป็ น 3 แบบย่อย ได้แก่
ก. ร้ อยละโดยมวลต่ อมวล ( ร้ อยละโดยมวล ) หมายถึงมวลตัวละลายที่มีสารละลาย
100 หน่วยมวลเดียวกัน เช่นสารละลาย NaCl เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล หมายความว่า
มี NaCl 15 กรัม ละลายในสารละลาย 100 กรัม
หรื อ มี NaCl 15 กิโลกรัม ละลายในสารละลาย 100 กิโลกรัม
ข. ร้ อ ยละโดยปริ ม าตรต่ อ ปริ ม าตร ( ร้ อยละโดยปริ ม าตร ) หมายถึ งปริ ม าตรตัว
ละลายที่มีสารละลาย 100 หน่วยปริ มาตรเดียวกัน เช่นสารละลาย HCl เข้มข้นร้อยละ 3 โดย
ปริ มาตร หมายความว่า

24
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

มี HCl 3 cm3 ละลายในสารละลาย 100 cm3


หรื อ มี HCl 3 ลิตร ละลายในสารละลาย 100 ลิตร
ค. ร้ อยละโดยมวลต่ อปริ มำตร หมายถึ งมวลตัวละลายที่มีส ารละลาย 100 หน่ วย
ปริ มาตรที่สอดคล้องกัน
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็ นกรัม (g) ต้องใช้หน่วยปริ มาตรเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็ นกิโลกรัม (kg) ต้องใช้หน่วยปริ มาตรเป็ นลิตร (dm3)
เช่นสารละลายกลูโคส 20% โดยมวลต่อปริ มาตร หมายความว่า
มีกลูโคส 20 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3
หรื อ มีกลูโคส 20 กิโลกรัม ละลายในสารละลาย 100 ลิตร
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบร้ อยละ

ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลตัวถูกละลาย x 100


มวลสารละลาย
ร้อยละโดยปริ มาตรต่อปริ มาตร = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 100
ปริ มาตรสาร ละลาย
ร้อยละโดยมวลต่อปริ มาตร = มวลตัวถูกล ะลาย (กรั ม)3 x 100
ปริ มาตรสารละลาย (cm )
56. เมื่อละลายกลูโคส 30 กรัม ในน้ ากลัน่ 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นร้อย
ละโดยมวลเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 2. 15 3. 18 4. 20

25
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

57. สารละลาย HCl เข้ม ข้น 2% โดยปริ ม าตร/ปริ ม าตร จานวน 200 cm3 จะมี HCl
ปริ มาตรกี่ cm3
1. 2.00 2. 2.80 3. 4.00 4. 4.80

58. เมื่อใช้ NaOH 0.5 โมล เตรี ยมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริ มาตร จะ
ได้สารละลายกี่ cm3
1. 33.33 2. 40.00 3. 66.67 4. 80.00

สมการทีใ่ ช้ เปลี่ยนความเข้ มข้ นจากแบบร้ อยละไปเป็ นโมล/ลิตร


กรณีที่ 1 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวลต่อมวล หรื อโดยปริ มาตรต่อปริ มาตร
เป็ นโมล/ลิตร ใช้สมการ
c = 10 M %D

เมื่อ c คือความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร


% คือความเข้มข้นแบบร้อยละโดยมวล หรื อโดยปริ มาตร
D คือความหนาแน่นสารละลาย (g/cm3)
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

26
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
กรณีที่ 2 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวล/ปริ มาตร เป็ นโมล/ลิตร ใช้สมการ
c = 10M%
เมื่อ c คือความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร
% คือความเข้มข้นแบบร้อยละโดยมวลต่อปริ มาตร
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
59. สารละลายกลูโคส (C6H12O6) เข้มข้น 30 % โดยมวลต่อมวล มีความหนาแน่น 9 g/cm3
จะมีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

60. NaOH เข้มข้น 20 % โดยมวล/ปริ มาตร จงหาความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร


1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

61. ต้องการสารละลาย H2SO4 0.1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 จากสารละลาย H2SO4
ในขวดที่ มี ค วามเข้ม ข้น 49% โดยมวล ถ้าสารละลายในขวดนี้ มี ค วามหนาแน่ น 1.25
g/cm3 ต้องดูดสาร H2SO4 ในขวดมากี่ cm3 แล้วเติมน้ าให้ได้ปริ มาตรทั้งหมด 100 cm3
1. 0.80 2. 1.60 3. 6.25 4. 12.50

27
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

62. มีสารละลายอยู่ 3 บีกเกอร์ บีกเกอร์ที่ 1 จานวน 200 cm3 มีสาร A เข้มข้นร้อยละ 8


โดยมวล มี ความหนาแน่ น 1.2 g/cm3 บีกเกอร์ ที่ 2 จานวน 400 cm3 มีสาร A เข้มข้น
0.2 mol/dm3 บี กเกอร์ ที่ 3 มี ส าร A 12 กรัม เมื่ อนาสารละลายในบี ก เกอร์ ท้ งั 3 มาเท
รวมกันแล้วเติมน้ าอีก 100 cm3 สารละลายผสมเข้มข้นกี่ mol/dm3
( A มีมวลโมเลกุล = 48 )
1. 1.04 2. 1.25 3. 1.49 4. 1.72

5) ส่ วนในล้ำนส่ วน (parts per million , ppm )


หมายถึ ง มวลหรื อ ปริ ม าตรตัว ละลายที่ มี ส ารละลาย 1 ล้านส่ วนของมวลหรื อ
ปริ ม าตรหน่ วยเดี ยวกัน เช่ นสารตะกัว่ ปนเปื้ อนในน้ าเข้ม ข้น 0.1 ส่ วนในล้านส่ วนโดยมวล
หมายความว่ามีตะกัว่ อยู่ 0.1 กรัมอยูใ่ นสารละลาย 1 ล้านกรัม เป็ นต้น
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบส่ วนในล้ำนส่ วน
ppm ( มวล ) = มวลตั วถูกละลาย
มวลสารละลาย x 10
6

ppm ( ปริ มาตร ) = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 106


ปริ มาตรสาร ละลาย
เนื่องจากมวลสารละลายจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลตัวทาละลาย ดังนั้นมวลทั้งสองตัว
นี้ จึงใช้คานวณแทนกันได้ และปริ มาตรสารละลายจะมี ค่าใกล้เคี ยงกับปริ มาตรตัวทาละลาย
ดังนั้นปริ มาตรทั้งสองตัวนี้จึงใช้คานวณแทนกันได้เช่นกัน
28
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
6) ส่ วนในพันล้ำนส่ วน (parts per billion , ppb )
หมายถึงมวลหรื อปริ มาตรตัวละลายที่มีสารละลาย 1 พันล้านส่ วนของมวลหรื อ
ปริ มาตรหน่วยเดียวกัน เช่นสารปรอทปนเปื้ อนในน้ าเข้มข้น 0.8 ส่ วนในพันล้านส่ วนโดยมวล
หมายความว่ามีปรอทอยู่ 0.8 กรัมอยูใ่ นสารละลาย 1 พันล้านกรัม เป็ นต้น
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบส่ วนในพันล้ำนส่ วน
ppb ( มวล ) = มวลตั วถูกละลาย x 109
มวลสารละลาย
ppb ( ปริ มาตร ) = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 109
ปริ มาตรสาร ละลาย
63. เมอร์ คิวรี (II) ไนเตรต ( Hg (NO3)2 ) 0.1 กรัม ละลายในน้ า 100 กรัม สารละลายนี้ จะมี
ความเข้มข้นกี่ส่วนในล้านส่ วนโดยมวล
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000

64. ถ้าในอากาศ 100 cm3 มีไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ 3 x 10–5 cm3 จงหาความเข้มข้น


ของไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ในหน่วยส่ วนในพันล้านส่ วนโดยปริ มาตร
1. 30 2. 300 3. 3000 4. 30000

29
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.2 สมบัติบางประการของสารละลาย
เมื่อนาสารใดๆ ไปละลายในตัวทาละลาย สาร
ละลายที่ได้จะมีจุดเดือดสู งขึ้น และจุดเยือกแข็งต่าลง
กว่าจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของตัวทาละลายนั้น เช่น
น้ าบริ สุทธิ์ จะมีจุดเดือดที่ 100oC จุดเยือกแข็งที่ 0oC
ถ้านาสารใดๆ ไปละลายในน้ า สารละลายที่ได้จะมี สารละลาย
จุดเดือดสู งกว่า 100oC และมีจุดเยือกแข็งต่ากว่า 0oC ในน้ า
เสมอ คุณสมบัติของสารละลายข้อนี้เรี ยกคุณสมบัติ
คอลลิเกทีฟ ( colligative )
ข้อต้องทราบเกี่ยวกับคุณสมบัติคอลลิเกทีฟ
1) จุดเดือดที่เพิ่ม และจุดเยือกแข็งที่ลด จะขึ้นกับชนิดของตัวทาละลาย ไม่ข้ ึนกับ
ชนิดของตัวถูกละลาย
2) จุดเดือดที่เพิ่ม และจุดเยือกแข็งที่ลด จะแปรผันตรงกับความเข้มข้นของสารละลาย
สมการที่ใช้คานวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกทีฟ
w x 1000
Tจุดเดือดสารละลาย – Tจุดเดือดตัวทาละลาย = Kb m = Kb ( w1 x M )
2
w1 x 1000
Tจุดเยือกแข็งตัวทาละลาย – Tจุดเยือกแข็งสารละลาย = Kf m = Kf ( w x M )
2
เมื่อ Kb คือค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด ( oC / m )
Kf คือค่าคงที่การลดลงของจุดเยือกแข็ง ( oC / m )
m คือความเข้มข้นของสารละลายแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )
w1 คือมวลตัวถูกละลาย
w2 คือมวลตัวทาละลาย
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

30
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
65(แนว En) เมื่อเติม NaCl จานวนหนึ่ งลงในน้ า จุดเดื อดและจุดเยือกแข็งของสารละลายจะ
เป็ นเช่นใด
จุดเดือด จุดเยือกแข็ง
1. เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
2. ลดลง ลดลง
3. เพิ่มขึ้น ลดลง
4. ลดลง เพิ่มขึ้น

66(แนว En) สาร X 5 กรัม ละลายในเบนซิ น 20 กรัม สารละลายเดือดที่อุณหภูมิ 83.3oC


จุดเดือดของ X และเบนซิ นเท่ากับ 300 และ 80.1oC ตามลาดับ ถ้า Kb ของเบนซิ นเท่า
กับ 2.53oC/m สาร X มีมวลโมเลกุลเท่าไร
1. 20 2. 198 3. 316 4. 396

31
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
67(แนว มช) เมื่ อ ละลายสาร A 2.76 กรั ม ในเอทานอล 10 กรั ม พบว่าสารละลายมี จุด
เดือด 82.16oC จงหามวลโมเลกุลของสาร A ( กาหนดให้ จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ
78.52oC , ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด ( Kb ) ของเอทานอลเป็ น 1.22oC/m )
1. 92 2. 184 3. 316 4. 396

68(แนว En) สาร A มีมวลโมเลกุล 100 g/mol สามารถละลายน้ าได้แต่ไม่แตกตัว ถ้าต้องการ


ให้สารละลาย A ในน้ ามีจุดเยือกแข็งที่ –7.44oC จะต้องใช้สาร A กี่กรัม ละลายในน้ าครึ่ ง
กิโลกรัม ( กาหนดค่า Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86o C . mol–1. kg–1 )
1. 20 2. 40 3. 200 4. 400

69. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 100 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม สาร


ละลายนี้จะมีจุดเดือดเท่าใด
ให้ มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย = 50 , Kb ของน้ า = 0.5oC/m , จุดเดือดปกติของน้ า = 100oC
1. 100.5oC 2. 101.0oC 3. 101.5oC 4. 102.0oC

32
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
70. สารละลายชนิ ดหนึ่ งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 100 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม สาร
ละลายนี้จะมีจุดเยือกแข็งเท่าใด กำหนด มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย = 50 ,
ค่า Kf ของน้ า = 1.86oC/m , จุดเยือกแข็งปกติของน้ า = 0oC
1. –0.93oC 2. –1.86oC 3. –3.72oC 4. –4.65oC

71(แนว มช) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 20 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม


จะมีจุดเยือกแข็งเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
( กาหนดให้ ตัวถูกละลายมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40 และน้ ามีค่า Kf เท่ากับ 1.8oC/m )
1. –0.9oC 2. –1.8oC 3. –3.6oC 4. –4.5oC

72. สารละลายของตัวถูกละลายชนิ ดใดจะมีจุดเดือดสู งที่สุด ถ้าสารละลายเหล่านั้นมีความ


เข้มข้น 1.0 โมล/กิโลกรัม และมีน้ าเป็ นตัวทาละลายเหมือนกัน
( K = 39 , S = 32 , O = 15 , Na = 23 , P = 31 , Cl = 35.5 , Ca = 40 )
1. K2SO4 2. Na3PO4 3. CaCl2 4. C6H12O6

33
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.5 การคานวณเกีย่ วกับสู ตรเคมี
4.5.1 การคานวณหาสู ตรเอมพิริคัลและสู ตรโมเลกุล
สู ตรโมเลกุล เป็ นสู ตรที่บอกให้เรารู ้ วา่ ในหนึ่ งโมเลกุลของสารใดๆ ประกอบไปด้วย
อะตอมของธาตุอะไรบ้าง และอย่างละกี่อะตอม
สู ตรอย่างง่าย (สู ตรเอมพิริคลั ) เป็ นสู ตรที่แสดงอัตราส่ วนอย่างต่าของแต่ละธาตุที่เข้า
มารวมตัวกัน
ตัวอย่างเช่ น สู ตรโมเลกุลของกลูโคสคือ C6 H12 O6
จากสู ตรจะเห็ นว่าในหนึ่ งโมเลกุลของกลูโคสจะประกอบด้วย คาร์ บอน ( C) 6
อะตอม ไฮโดรเจน (H) 12 อะตอม และออกซิเจน (O) 6 อะตอม
จากสู ตรโมเลกุล หากดึงตัวร่ วมจะได้
(C6 H12 O6) = ( CH2O )6
สู ต รที่ เหลื อ ในวงเล็บ ( คื อ CH2O ) จะเป็ นสู ต รที่ แ สดงอัต ราส่ วนอย่า งต่ า ของ
จานวนอะตอม เรี ยกสู ตรในวงเล็บนี้วา่ สู ตรอย่ างง่ าย
โปรดสั งเกตว่า
(สู ตรอย่างง่าย) n = สู ตรโมเลกุล
และ (มวลจากสู ตรอย่างง่าย) n = มวลโมเลกุล
73. นาสารประกอบชนิดหนึ่งมาแยกสลายจนหมด จะได้คาร์บอน( C ) 1.2 กรัม ไฮโดรเจน(H)
0.2 กรั ม และออกซิ เจน (O) 1.6 กรั ม เท่ านั้น ถ้าสารมี ม วลโมเลกุ ล 60 จงหาสู ต ร
โมเลกุลของสารนี้
1. CH2O 2. C2H4O2 3. C3H6O3 4. C4H8O4

34
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
74. ออกไซด์ชนิดหนึ่งมี As 65.2% และ O 34.8% โดยมวลออกไซด์น้ ีมีมวลโมเลกุลเท่ากับ
230 สู ตรของออกไซด์เป็ นอย่างไร ( As = 75 , O = 16 )
1. AsO2 2. As2 O3 3. As2 O4 4. As2 O5

75. สาร A ประกอบด้ ว ยธาตุ N , H , O เมื่ อ สาร A 64 กรั ม สลายตัว จะได้ แ ก๊ ส


ไนโตรเจน 28 กรัม และไอน้ า 36 กรัม ถ้ามวลโมเลกุลของสาร A เท่ากับ 64 จงหา
สู ตรโมเลกุลของ สาร A นี้
1. NH2O 2. NHO3 3. N2H4O2 4. N3H6O3

4.5.2 การคานวณมวลเป็ นร้ อยละจากสู ตร


การหามวลร้อยละของสารจากสู ตรโมเลกุลสามารถหาได้จากสมการ
ร้อยละของธาตุ A ในสารประกอบ = มวลธาตุ A x 100
มวลของสารประกอบ
76. มวลร้อยละของธาตุ C ใน CO2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13.33 2. 20.00 3. 27.27 4. 33.33

35
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
77. มวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5 H2O มีคา่ เท่ากับข้อใด ( Cu = 63.5 , S = 32 )
1. 36.07 2. 45.50 3. 57.72 4. 63.33

78. จากข้อที่ผา่ นมา มวลร้อยละของน้ ามีค่าเท่ากับข้อใด


1. 36.07 2. 45.50 3. 57.72 4. 63.33

79(แนว มช) สาร A เป็ นสารบริ สุทธิ์ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ ประกอบด้วยคาร์ บอน 27
อะตอม คิดเป็ นร้ อยละโดยมวลของคาร์ บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวล
โมเลกุลเท่าไร
1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8

36
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.6 การคานวณปริมาณสารในปฏิกริ ิยาเคมี


4.6.1 ระบบ กับ สิ่ งแวดล้อม
ระบบ คือส่ วนที่อยูภ่ ายในขอบเขตของการศึกษาทั้งก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
( คือสิ่ งที่เราต้องการศึกษานัน่ เอง )
สิ่ งแวดล้อม คือส่ วนที่อยูภ่ ายนอกขอบเขตของการศึกษาทั้งหมด
ตัวอย่างเช่นหากเราต้องการศึกษาการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าเพื่อให้ได้แก๊สไฮโดรเจน
และออกซิ เจน ระบบ ( คือสิ่ งที่เราต้องการศึกษา ) ซึ่ งได้แก่น้ าก่อนการทดลอง และแก๊สไฮ-
โดรเจนกับออกซิ เจนกับน้ าที่เหลื อหลังการทดลองเท่านั้น นอกนั้นถื อว่าเป็ นสิ่ งแวดล้อมหมด
รวมไปถึงเครื่ องมือ อุปกรณ์ ภาชนะที่ใช้ทาการทดลองก็ถือเป็ นสิ่ งแวดล้อมเช่นกัน
ประเภทของระบบ
1. ระบบปิ ด คือระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลระหว่างระบบกับสิ่ งแวดล้อม
2. ระบบเปิ ด คือระบบที่มีการถ่ายเทมวลระหว่างระบบกับสิ่ งแวดล้อม
ตัวอย่าง 1. ใส่ ผงสังกะสี ลงในกรด HCl ในภาชนะเปิ ดฝา เกิดปฏิกิริยาตามสมการ
Zn(s) + 2 HCl(aq)  ZnCl2(s) + H2(g)
ปฏิกิริยานี้จะเกิดแก๊ส H2 ซึ่งจะหนีหายไป ทาให้เกิดการถ่ายเทมวลออกไป
สู่ สิ่งแวดล้อม จึงเป็ นระบบเปิ ด
2. เผาหิ นปูนในภาชนะปิ ดฝาสนิท เกิดปฏิกิริยาตามสมการ
CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g)
ปฏิกิริยานี้จะเกิดแก๊ส CO2 แต่เนื่ องจากอยูใ่ นภาชนะปิ ดจึงถ่ายเทมวลไป
ไหนไม่ได้ จึงเป็ นระบบเปิ ด
3. เติมสังกะสี ลงในสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต
Zn(s) + CuSO4(aq)  ZnSO4(aq) + Cu(s)
ระบบนี้ไม่เกิดแก๊สใดๆ ดังนั้นไม่วา่ จะอยูใ่ นภาชนะเปิ ดหรื อปิ ดฝา ก็จะไม่
เกิดการถ่ายเทมวล จึงเป็ นระบบปิ ด

37
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.6.2 กฎทรงมวล
กฎทรงมวลกล่าวว่า “ มวลรวมของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับมวลรวมของสาร
หลังเกิดปฏิกิริยา ”
ตัวอย่าง ในปฏิกริ ยา A + B  C + D
มวลรวมของ A กับ Bก่อนปฏิกิริยา = มวลรวมของ C กับ D หลังปฏิกิริยา
80. นาโซดาซักผ้ามา 2.86 กรัม ทาปฏิกิริยากับกรดเกลือ 0.73 กรัม จะเกิดเกลือแกง 1.17
กรัม น้ า 1.98 กรัม ถ้าการทดลองนี้ เป็ นไปตามกฏทรงมวลเกิดแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
กี่กรัม
1. 0.22 กรัม 2. 0.36 กรัม 3. 0.44 กรัม 4. 4.4 กรัม

81. นาโซเดียมซัลเฟต (Na2SO4) 142 กรัม มาทาปฏิกิริยากับแบเรี ยมคลอไรด์ (BaCl2)


208 กรัม เกิดโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 117 กรัม ถ้าการทดลองนี้เป็ นไปตามกฎทรง มวล
ปฏิกิริยาดังกล่าวจะเกิดแบเรี ยมซัลเฟต (BaSO4) กี่กรัม

38
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.6.3 กฎสั ดส่ วนคงที่
กล่ าวว่ า “ เมื่อธาตุต้ งั แต่ 2 ชนิ ดขึ้นไปมารวมตัวกันเกิดเป็ นสารประกอบชนิ ดหนึ่ งๆ
อัตราส่ วนโดยมวลของธาตุที่เป็ นองค์ประกอบนั้น ย่อมมีค่าคงที่เสมอ ไม่วา่ สารประกอบนั้นจะ
เตรี ยมขึ้นโดยวิธีใด หรื อจะเตรี ยมกี่ครั้งก็ตาม ”
ตัวอย่าง หากน าธาตุ ไ ฮโดรเจนมาท าปฏิ กิ ริย ากับ ธาตุ ออกซิ เจนเพื่ อ ให้ เกิ ด น้ า จะ
พบว่าต้องใช้อตั ราส่ วนโดยมวลของธาตุไฮโดรเจนต่อธาตุออกซิ เจนเท่ากับ 1 : 8 เสมอ ไม่ว่า
จะเตรี ยมน้ าด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม
มวลธาตุไฮโดรเจน มวลธาตุออกซิเจน
1 8
2 16
3 24
4 32
5 40

82. สมมุ ติ คาร์ บ อน( C ) 3 กรั ม สามารถรวมตัว กับ ออกซิ เจน (O) 8 กรั ม แล้วเกิ ด เป็ น
สารประกอบชนิ ดหนึ่ ง หากต้องการสารประกอบชนิ ดเดี ยวกันนี้ โดยเตรี ยมจากคาร์ บอน
15 กรัม ต้องใช้ออกซิ เจนกี่กรัมจึงจะทาปฏิ กริ ยากันพอดี และสารประกอบที่เกิดจะมีมวล
กี่กรัม ( ตอบตามลาดับ )
1. 40 , 55 2. 20 , 35 3. 30 , 45 4. 50 , 65

83. เมื่อเผาลวดแมกนี เซี ยมในออกซิ เจน พบว่าแมกนี เซี ยม 1.52 กรัม รวมตัวพอดี กบั ออกซิ -
เจน 1.00 กรัม ถ้าเผาไหม้ลวดแมกนีเซี ยม 7.60 กรัม จะได้แมกนีเซี ยมออกไซด์ ( MgO )
กี่กรัม
1. 5 2. 10.60 3. 12.60 4. 14.60

39
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
84. สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย S 40% O 60% โดยมวล ถ้านา S 16 กรัม
และ O 20 กรัม มาทาปฏิกิริยากันจะได้สารประกอบนี้อย่างมากที่สุดกี่กรัม
1. 16.67 2. 33.34 3. 38.80 4. 42.50

4.7 สมการเคมี
4.7.1 การเขียนสมการเคมี
สมการเคมี คือกลุ่มสู ตรทางเคมีของสารที่เขียนขึ้นเพื่ออธิ บายหรื อแทนการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี ( ปฏิกิริยา ) ของสารในอัตราส่ วนต่าสุ ดของจานวนโมลของสารเหล่านั้น โดยเขียนสาร
ที่เข้าทาปฏิกิริยากันซึ่ งเรี ยกว่าสารตั้งต้ น (Reactants) ไว้ทางด้านซ้าย และสารที่เกิดขึ้นใหม่ซ่ ึ ง
เรี ยกว่าสารผลิตภัณฑ์ (Products) ไว้ทางด้านขวา ใช้เครื่ องหมาย + คัน่ ระหว่างสารแต่ละชนิ ด
และเขียน  ไว้ระหว่างสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
เช่ น สั ง กะสี ( Zn ) ท าปฏิ กิ ริ ย ากับ กรดซั ล ฟิ วริ ก ( H2SO4 ) แล้ว ได้สั ง กะสี ซั ล เฟต
(ZnSO4) กับแก๊สไฮโดรเจน ( H2 ) เขียนสมการได้ดงั นี้
Zn + H2SO4  ZnSO4 + H2
หลักในกำรเขียนสมกำรเคมี
1. ให้เขียนสู ตรเคมีของสารตั้งต้นไว้ขา้ งซ้าย เขียนสู ตรเคมีของผลิตภัณฑ์ไว้ขา้ งขวา
แล้วเขียนเครื่ องหมาย  ไว้ตรงกลาง
2. เมื่อเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาแล้วให้ทาสมการเคมีให้สมดุลด้วย คือทาให้จานวน
อะตอมของธาตุทุกชนิดทางซ้ายเท่ากับทางขวา โดยเติมตัวเลขข้างหน้าสู ตรเคมีของสารนั้นๆ
เช่น N2 + H2  NH3 ไม่ถูกต้อง เพราะสมการนี้ไม่ดุล
N2 + 3 H2  2 NH3 ถูกต้อง เพราะสมการนี้ดุลแล้ว

40
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
3. ในการเขียนสมการเคมี ให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ควรบอกสถานะของสารแต่ละชนิ ดด้วยคือ
ถ้าเป็ นของแข็ง (Solid) ใช้อกั ษรย่อว่า “ s ” ถ้าเป็ นของเหลว (liquid) ใช้อกั ษรย่อว่า “ l ” ถ้า
เป็ นแก๊ส (gas) ใช้อกั ษรย่อ “ g ” และถ้าเป็ นสารละลายในน้ า (aqueous) ใช้อกั ษรย่อ “ aq ”
เช่น CaC2(s) + 2 H2O(g)  Ca(OH)2(aq) + C2H2(g)
4. การเขียนสมการเคมีบางครั้ง อาจแสดงพลังงานของปฏิกิริยาเคมีดว้ ย เช่น
2 NH3(g) + 93(g)  N2(g) + 3 H2(g)
เป็ นปฏิกริ ยาดูดพลังงาน = 93 kJ
CH4(g) + 2 O2(g)  CO2(g) + 2 H2O(l) + 889.5 kJ
เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน = 889.5 kJ
ขั้นตอนกำรดุลสมกำรเคมีโดยวิธีตรวจพินิจ
1. ให้ดุลจานวนอะตอมของธาตุในโมเลกุลใหญ่ที่สุดก่อนแล้วจึงค่อยดุ ลจานวนอะตอม
ในโมเลกุลที่เล็กลงตามลาดับ และให้ดุลโลหะก่อนอโลหะ
2. ถ้าในสมการใดมีธาตุอิสระอยูด่ ว้ ยให้ดุลเป็ นอันดับสุ ดท้าย
3. ถ้าสมการที่ดุลแล้วตัวเลขที่แสดงจานวนโมลของสารต่างๆ ยังไม่เป็ นอัตราส่ วนอย่าง
ต่าหรื อเป็ นเศษส่ วนก็ให้ทาเป็ นเลขจานวนเต็มในอัตราส่ วนต่างอย่างต่าด้วย
85. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ
Fe2O3 + H2  Fe + H2O
1. 5 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 2 , 3 , 1 , 2 4. 2 , 3 , 4 , 3

41
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
86. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ
PCl5(l) + H2O(l)  H3PO4(aq) + HCl(aq)
1. 2 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 1 , 4 , 1 , 5 4. 1 , 3 , 4 , 3

87. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ


P4O10 + H2O  H3PO4
1. 2 , 3 , 1 2. 1 , 6 , 4 3. 4 , 1 , 5 4. 3 , 4 , 3

88. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ


Fe2O3 + C  Fe + CO2
1. 5 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 2 , 3 , 1 , 2 4. 2 , 3 , 4 , 3

42
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7.2 ความสั มพันธ์ ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี
ในสมการเคมี ที่ดุลแล้วนั้น ตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะบอกอัตราส่ วนของ
จานวนโมล หรื อของจานวนโมเลกุล หรื อของจานวนปริ มาตร ( หากเป็ นแก๊ส ) ของสารที่เข้ามา
ทาปฏิกิริยากันและผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเสมอ
เช่นจากสมการเคมี
2 H2(g) + O2(g)  2 H2 O(g)
เราจะรู ้ ว่าอัตราส่ วนของจานวนโมล หรื อของจานวนโมเลกุล หรื อของจานวนปริ มาตร
ของสาร H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2

89. จากปฏิกิริยา C3H8(g) + 5 O2(g)  3 CO2(g) + 4 H2O(g) หากต้องการ CO2 44


กรัม ต้องใช้ C3H8 กี่ลิตร
1. 6.0 2. 6.8 3. 7.5 4. 8.8

90. จากโจทย์ที่ผา่ นมา หากใช้ O2 64 กรัม จะได้ไอน้ ากี่โมเลกุล


1. 3.01 x 1023 2. 6.02 x 1023 3. 9.632 x 1023 4. 12.04 x 1023

43
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
91. ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้
2 KClO3  2 KCl + 3 O2 ( K = 39.1 , Cl = 35.5 , O = 16 )
ถ้าเผา KClO3 จานวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP
1. 1.12 2. 2.24 3. 3.36 4. 4.48

92(แนว En) ถ้าต้องการกาจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศด้วยปฏิกิริยาดังต่อไปนี้


2 CaCO3(s) + 2 SO2(g) + O2(g)  2 CaSO4(s) + 2 CO2(g)
จะต้องใช้ CaCO3 กี่กรัมที่จะกาจัด SO2 1120 cm3 ที่ STP ( Ca = 40 , S = 32 )
1. 0.05 2. 5 3. 50 4. 5000

93. แก๊สมีเทน ( CH4 ) ทาปฏิ กิริยาเผาไหม้กบั ออกซิ เจน ( O2 ) ถามว่าหากใช้มีเทน 24 กรัม


จะต้องใช้แก๊สออกซิ เจนกี่ลิตร
1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

44
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
94(แนว มช) ถ้าใช้ O2 6.4 กรัม ทาปฏิ กิริยาอย่างสมบูรณ์ กบั แก๊ส H2 จะได้ไอน้ าปริ มาตร
กี่ dm3 ที่ STP ( สมมุติวา่ ไอน้ ามีพฤติกรรมเช่นเดียวกับแก๊สสมบูรณ์ , H = 1 , O = 16 )
1. 1.12 2. 4.48 3. 6.62 4. 8.96

95(แนว En) แร่ ชนิ ดหนึ่ งประกอบด้วย FeS และสิ่ งอื่นๆ ที่ไม่ทาปฏิ กิริยากับกรด เมื่อนาแร่
นี้ มา 20 กรัม ต้มกับกรด H2SO4 ซึ่ งมีปริ มาตรมากเกินพอปฏิกิริยาสิ้ นสุ ด ปรากฏว่าได้
แก๊ส H2S ทั้งหมด 3.4 กรัม จงคานวณหาว่าแร่ น้ นั ประกอบด้วย FeS ร้อยละเท่าใด
ถ้าสมการของปฏิกิริยาคือ FeS + H2SO4  FeSO4 + H2S

4.7.3 การคานวณจากสมการเคมีทเี่ กีย่ วข้ องมากกว่าหนึ่งสมการ


96(แนว En) 2 Pb(NO3)2  2 PbO + 4 NO2 + O2
NO2 + 2 KI  K2O + NO + I2 ( K = 40 , Pb = 207 , I = 127 )

จากสมการต้องเผา Pb(NO3)2 กี่กรัมจึงจะได้ I2 1.21 x 1022 โมเลกุล

45
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
97. จงคานวณหามวลของแก๊สคลอรี น (Cl2) ในหน่วยกิโลกรัม ที่ตอ้ งการใช้ในการเกิดคาร์ -
บอนเตตระคลอไรด์ (CCl4) 5.00 กิโลกรัม จากการเปลี่ยนแปลงดังสมการนี้
CS2(l) + 3 Cl2(g)  S2Cl2 (l) + CCl4 (l)
8 S2Cl2 (l) + 4 CS2 (l)  3 S8 (s) + 4 CCl4 (l)
1. 2.31 2. 4.61 3. 7.21 4. 9.22

98. ถ้าให้แก๊ส มี เทน ( CH4 ) 8.00 กรั ม เผาไหม้ในบรรยากาศของแก๊สออกซิ เจน ( O2 ) 48


กรัม จงหาว่าจะเกิดแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) กี่กรัม ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดคือ
CH4 (g) + 2 O2 (g)  CO2 (g) + 2 H2O (l)
1. 19.5 2. 22.0 3. 22.5 4. 23.8

4.7.4 สารกาหนดปริมาณ
สำรกำหนดปริ ม ำณ คื อ สารตั้ง ต้น ที่ ท าปฏิ กิ ริย าหมดก่ อนสารอื่ น เมื่ อสารนี้ หมดไป
ปฏิกิริยาจะหยุด การคานวณเกี่ยวกับสมการเคมีตอ้ งใช้สารกาหนดปริ มาณนี้เป็ นตัวคานวณ

46
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

99(แนว En) เมื่อนา NaCl 5.85 กรัม ละลายในน้ า 100 cm3 แล้วนาสารละลายที่ ได้ผสม
กับ สารละลาย AgNO3 เข้ม ข้น 0.2 mol/dm3 ปริ ม าตร 100 cm3 จะเกิ ด ตะกอนของ
AgCl กี่กรัม
1. 1.17 2. 2.87 3. 5.58 4. 14.85

4.7.5 ผลได้ ร้อยละ


ปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่คานวณได้จากสมการเคมีน้ นั จะเป็ นปริ มาณที่เกิดตามทฤษฏี เรี ยกว่า
ผลได้ ต ามทฤษฏี ซึ่ งในธรรมชาติ จ ริ ง นั้น ปริ ม าณผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ เกิ ด จะน้ อ ยกว่า ทฤษฏี เสมอ
ปริ มาณที่เกิดจริ งจะเรี ยกผลได้ จริง
หากต้องการหาว่าผลได้จริ งมีค่าเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ของผลได้ตามทฤษฏี สามารถหาได้จาก
ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริ ง x 100
ผลได้ตามทฤ ษฏี
100. ถ้านาเบนซีน (C6H6) 15.6 กรัม มาทาปฏิกิริยากับกรดไนตริ ก (HNO3) จานวนมากเกิน
พอ พบว่าเกิดไนโตรเบนซี น (C6H5NO2) 18.0 กรัม ดังสมการ จงหาผลได้ร้อยละ
C6H6(l) + HNO3(aq)  C6H5NO2(l) + H2O(l)
1. 50.0 2. 62.5 3. 73.2 4. 78.3

47
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7.6 ปริมาตรของแก๊สในปฏิกริ ิยาเคมี
จากหัวข้อที่ผา่ นมาเราทราบว่าในสมการเคมีที่ดุลแล้ว ตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่
ละตัวจะบอกอัตราส่ วนจานวนโมลหรื อจานวนโมเลกุลของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ และจาก
กฏของอาโวกาโดซึ่ งกล่าวว่า “ ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊ สใดๆ ที่มีปริ มาตรเท่ ากันจะ
มีจานวนโมเลกุลเท่ ากัน ” ดังนั้นตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวนอกจากจะบอกอัตราส่ วน
จานวนโมเลกุลแล้ว ยังบอกอัตราส่ วนของจานวนปริ มาตรของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ที่เป็ น
แก๊สอีกด้วย
ตัวอย่างเช่นจากสมการเคมี
2 H2 (g) + O2 (g)  2 H2O(g)
จะได้วา่ อัตราส่ วนปริ มาตรของ H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2
จากตัวอย่างที่ ผ่านมาจะได้ว่า “ ที่ อุ ณ หภู มิ และความดั นคงที่ อัต ราส่ วนระหว่ าง
ปริ ม าตรของแก๊ ส ที่ทาปฏิ กิริยาพอดี กับ ปริ ม าตรของแก๊ สที่เกิด ขึ้น จะเป็ นจ านวนเต็ม ลงตั ว
น้ อยๆ” ข้อความนี้เรี ยกกฎของเกย์ –ลูสแซก

101. กาหนดปฏิกิริยา 4 X2(g) + 7 Y2(g)  2 X4Y7 (g) ถ้าใช้ Y2 28 ลูกบาศก์-


เซนติเมตร ทาปฏิ กิริยากับ X2 ปริ มาณมากเกิ นพอที่อุณหภู มิและความดันเดี ยวกัน จะเกิ ด
แก๊ส X4Y7 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 10

48
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
102. นาแก๊สชนิ ดหนึ่ งซึ่ งมีสูตรโมเลกุล A2 ทาปฏิกิริยากับแก๊สอีกชนิ ดหนึ่ งซึ่ งมีสูตรโมเลกุล
B2 ได้แก๊สที่มีสูตรโมเลกุล AB3 ดังสมการ
A2 + 3 B2  2 AB3
ถ้าใช้ B2 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทาปฏิกิริยากับ A2 ปริ มาณมากเกินพอที่อุณหภูมิและ
ความดันเดียวกันจะเกิดแก๊ส AB3 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

103. นาแก๊สชนิดหนึ่งซึ่งมีสูตรโมเลกุล A2 ทาปฏิกิริยากับแก๊สอีกชนิ ดหนึ่งซึ่ งมีสูตรโมเลกุล B2


ได้แก๊ ส ที่ มี สู ตรโมเลกุ ล AB3 ดังสมการ A2 + 3 B2  2 AB3 ถ้าใช้แก๊ ส A2 35
ลู กบาศก์เซนติ เมตร ทาปฏิ กิริยากับ B2 81 ลู กบาศก์เซนติ เมตร ถามว่าแก๊ส A2 กับ B2
แก๊สไหนจะถูกใช้หมดก่อนกัน
1. A2 2. B2 3. หมดพร้อมกัน 4. ไม่มีตวั ใดหมด

49
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
104. จากข้อที่ผา่ นมา จะเกิดแก๊ส AB3 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 27 2. 36 3. 48 4. 54

105. จากข้อที่ผา่ นมา จะเหลือแก๊ส A2 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร


1. 2 2. 4 3. 8 4. 10

106. สุ ดท้ายจะแก๊สผสมกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 31 2. 62 3. 76 4. 93

50
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

107. นา H2 4 dm3 และ O2 3 dm3 มาทาปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 100oC ดังสมการ


2 H2 (g) + O2 (g)  2 H2O(g)
เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์จะมีแก๊สในระบบกี่ dm3
1. 4 2. 5 3. 6 4. 8

108(แนว En) แก๊ส X2 50 ลู กบาศก์เซนติเมตร ทาปฏิ กิริยาพอดี กบั แก๊ส O2 125 ลู กบาศก์-
เซนติเมตร ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ส G เพียงอย่างเดียว 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าการทดลอง
นี้ทาที่อุณหภูมิหอ้ งและความดันคงที่ สู ตรของแก๊ส G จะเป็ นอย่างไร
1. XO 2. XO2 3. X2O 4. X2O5

109. ที่ อุณหภู มิและความดันเดี ยวกัน แก๊สไนโตรเจน ( N2) 3.0 cm3 ท าปฏิ กิริยาพอดี ก ับ
แก๊สออกซิ เจน ( O2) 1.5 cm3 ได้แก๊ส X จานวน 3.0 cm3 แก๊ส X คือ แก๊สอะไร
1. NO 2. NO2 3. N2O 4. N2O5

51
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

110. ที่อุณหภูมิ 30oC ความดัน 1 บรรยากาศ แก๊ส N2 และไอน้ า (H2O) อย่างละ 1 dm3
มีอะไรเท่ากัน
1. จานวนโมเลกุล 2. มวล
3. จานวนอะตอม 4. จุดเดือด

111. แก๊สออกซิ เจน 5 ลิตร มี n โมเลกุล แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ 1 ลิตร ที่อุณหภูมิและ


ความดันเดียวกัน จะมีกี่โมเลกุล
1. 5n โมเลกุล 2. n โมเลกุล 3. n5 โมเลกุล 4. 32n
44 โมเลกุล

52
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

แผนภาพสรุ ป บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


4.1 มวลอะตอม

53
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.2 มวลโมเลกุล

4.3 โมล

54
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.4 สารละลาย
4.4.1 ความเข้ มข้ นของสารละลาย
4.4.1.1 โมลำริตี หรื อโมลำร์ หรื อโมลต่ อลิตร ( mol/dm3 หรื อ M )

55
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.2 โมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )

4.4.1.3 เศษส่ วนโมล

56
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.4 ร้ อยละ หรื อส่ วนในร้ อยส่ วน (parts per hundred , pph )

57
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.5 ส่ วนในล้ำนส่ วน (parts per million , ppm )
4.4.1.6 ส่ วนในพันล้ำนส่ วน (parts per billion , ppb )

58
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.2 สมบัติบางประการของสารละลาย

59
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.5 การคานวณเกีย่ วกับสู ตรเคมี
4.5.1 การคานวณหาสู ตรเอมพิริคัลและสู ตรโมเลกุล

4.5.2 การคานวณมวลเป็ นร้ อยละจากสู ตร

60
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.6 การคานวณปริมาณสารในปฏิกริ ิยาเคมี


4.6.1 ระบบ กับ สิ่ งแวดล้อม

4.6.2 กฎทรงมวล

4.6.3 กฎสั ดส่ วนคงที่

61
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7 สมการเคมี

62
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

เฉลย บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบ 20 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบ 233 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 2. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 3.
90. ตอบข้ อ 3. 91. ตอบข้ อ 3. 92. ตอบข้ อ 2. 93. ตอบข้ อ 4.
94. ตอบข้ อ 4. 95. ตอบ 44 96. ตอบ 3.31 97. ตอบข้ อ 2.
98. ตอบข้ อ 2. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 3. 101.ตอบข้ อ .3

63
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
102. ตอบข้ อ 4. 103. ตอบข้ อ 2. 104. ตอบข้ อ 4. 105. ตอบข้ อ 3.
106. ตอบข้ อ 2. 107. ตอบข้ อ 2. 108. ตอบข้ อ 4. 109.ตอบข้ อ 3.
110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 3.



64

You might also like