You are on page 1of 46

แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 1

ส่วนที่ 1
บริบทของสถานศึกษา
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 2

ส่วนที่ 1
บริบทของสถานศึกษา

ประวัติของโรงเรียน (The History of Anuban Sisaket School)


โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2504 โดยมี นายรังสรรค์ รังสิกุล ผู้ว่าราชการจังหวัด
ศรีสะเกษและเจ้าหน้าที่การศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ ใช้ที่ดินราชพัสดุ ณ ริมหนองอุทัย ตาบลเมืองเหนือ เป็นที่
ก่อตั้งอาคารเรียนได้เปิดทาการสอนเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2511

ปีการศึกษา 2511 ได้รับงบประมาณจากกรมสามัญ ก่อสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบของกรมสามัญ


(อาคารแบบอนุบาล)
ในปีการศึกษา 2512 เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 จานวน 2 ห้อง มีนักเรียน ทั้งหมด 71 คน
โดยมีนางสุชินา สุนทโร รักษาการในตาแหน่ง ครูใหญ่ มีครูทั้งหมด 3 คน
ในปีการศึกษา 2514 ได้เปิดทาการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีนักเรียนจานวน
160 คน มีครู 7 คน โดยมีนางศิริพร ไพบูลย์ รักษาการในตาแหน่ง ครูใหญ่
ในปีการศึกษา 2522 ย้ายนักเรียนบางชั้นมาเรียนสถานที่ใหม่ (ที่ปัจจุบัน) โดยทาการย้ายชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 - 6 มาก่อน
ในปีการศึกษา 2523 ย้ายนักเรียนจากโรงเรียนเดิม (หนองอุทัย) มาเรียนสถานที่ใหม่ทั้งหมด มีครู 25 คน
นักเรียน 821 คน เปิดสอนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 21 ห้องเรียน และเปลี่ยนสังกัด
ใหม่จากกรมสามัญศึกษาเป็นสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ
ได้เปลี่ยนมาเป็นสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ในปีการศึกษา 2514 - 2547 นางศิริพร ไพบูลย์ ดารงตาแหน่งผู้บริหารโรงเรียน ตั้งแต่ครูใหญ่ อาจารย์
ใหญ่ และผู้อานวยการโรงเรียน ระดับ 9
ในปีการศึกษา 2547 - 2554 นายทิวา รุ้งแก้ว ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 3
ในปีการศึกษา 2554 - 2562 นายอภิวัฒน์ แสนคุม้ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนอนุบาล
ศรีสะเกษ
ในปี การศึกษา 2562 – ปั จจุ บั น นายสุรชาติ ทอนศรี ดารงตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียน
อนุบาลศรีสะเกษ

สภาพปัจจุบัน
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดทาการสอน 2 ระดับ คือ ระดับก่อน
ประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา ใช้หลักสูตรการศึกษาดังนี้
1. ระดับก่อนประถมศึกษา ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 จัดการศึกษาเพื่อส่งเสริม
พัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน สาหรับนักเรียนอายุ 4 - 5 ปี แบ่งเป็น 2 โครงการ ประกอบด้วย โครงการห้องเรียน
ปกติและโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program :
EP)
2. ระดับประถมศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช
2552) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข
แบ่งเป็น 6 โครงการ ประกอบด้วย โครงการห้องเรียนทั่วไป โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
กระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program : EP) โครงการห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (Advance Program : AP) โครงการห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ในโครงการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (Advance in English Program : AEP)
โครงการห้องเรียนพิเศษ ภาษาอังกฤษโดยใช้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็นฐาน (Intensive English
Program : IEP) และโครงการห้องเรียนภาษาจีน (Chinese Program)
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษตั้งอยู่ที่ 998/38 ถนนวันลูกเสือ ตาบลเมืองใต้ อาเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัด
ศรีสะเกษ รหัสไปรษณีย์ 33000 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
มีเนื้อที่ 32 ไร่ 43.9 ตารางวา รหัสโรงเรียน 53/01/01/07
ในปีการศึกษา 2563 มีจานวนนักเรียนตามข้อมูล 10 มิถุนายน 2563 จานวน 3,482 คน ข้าราชการครู
จานวน 139 คน บุคลากรทางการศึกษา 133 คน
ผู้บริหารคนปัจจุบัน คือ นายสุรชาติ ทอนศรี ตาแหน่ง ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนอนุบาล
ศรีสะเกษ
โทรศัพท์/โทรสาร 045-611529
Website : http://www.anubansisaket.ac.th
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 4
สภาพชุมชน (Community)
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษบริเวณ “คุ้มสนามบินเก่า” ติดกับ
สถานที่ราชการที่สาคัญ เช่น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ศรีสะเกษ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 นับว่าอยู่ใจ
กลางชุมชนขนาดใหญ่การคมนาคมสะดวก มีร้านอาหารอยู่ใกล้โรงเรียน ด้านทิศตะวันออกติดกับห้าง
สรรพสินค้าซุนเฮงพลาซ่า มีสาธารณูปโภคครบถ้วนการติดต่อสื่อสารสะดวก รวดเร็ว ผู้ปกครองและชุมชนให้
ความสนใจยอมรับและนิยมส่งบุตรหลานมาเข้าเรียนโดยตลอด สิ่งสาคัญชุมชนแห่งนี้ให้ความร่วมมือและ
ช่วยเหลือโรงเรียนเป็นอย่างดี

ปรัชญาการศึกษา (School’s Philosophy)


“นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา” แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี

จุดมุ่งหมายเพื่อให้กาลังใจและปลุกใจนักเรียนว่า ความรู้เป็นแสงสว่างส่องทางชีวิตในอนาคต
ความหมาย ไม่มีแสงสว่างใด จะส่องสว่างทางชีวิตได้ดีเท่าสติปัญญา ผู้มีปัญญาได้ชื่อว่าเป็นคน เฉลียว
ฉลาดสามารถหยั่งรู้ทางแห่งความเสื่อมหรือทางแห่งความเจริญกล่าวคือรู้ในสิ่งที่จะเป็นโทษและประโยชน์ชัดแจ้ง
ปราศจากความสงสัย นักเรียนจะสร้างสมปัญญาความรู้ เพื่อเป็นแสงสว่างส่องทางชีวิตอนาคตได้ดีจะต้องเรียนให้
รู้และปฏิบัติให้เกิดผลคือคิดเป็นทาเป็นและแก้ปัญหาเป็น

คาขวัญโรงเรียน (School’s Motto)


ขยันศึกษา ปัญญาฉลาด มารยาทงาม

เอกลักษณ์ (Identity)
“มีจิตสาธารณะ ล้าหน้าวิชาการ สืบสานเอกลักษณ์ไทย”
อัตลักษณ์ (Uniqueness)
“ยิ้มใส ไหว้สวย รวยน้าใจ”

สีประจาโรงเรียน (Color of the School)


“ฟ้า-ชมพู”
สีฟ้า หมายถึง ความสงบนิ่ง มีจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ ถือหลักความจริงในทุกเรื่อง มีสติปัญญาที่ฉลาด
หลักแหลม รักความสงบ มองโลกในแง่ดี ใจกว้างด้วยความรอบคอบ เที่ยงตรงและถูกต้อง
สีชมพู หมายถึงความสุภาพอ่อนหวาน นุ่มนวล อ่อนโยน นอบน้อมมีความรัก ความเมตตา เอื้อเฟื้อต่อ
สรรพสิ่ง และชีวิตภายในโลก
สีฟ้า-ชมพู หมายถึง การเป็นบุคคลที่มีความสุภาพอ่อนหวาน นุ่มนวล อ่อนโยน นอบน้อมมีความรัก
ความเมตตา และเอื้อเฟื้อต่อสรรพสิ่ง และชีวิตภายในโลกที่เกิดจากการฝึกฝนตนเองให้สงบนิ่งและมีจิตวิญญาณ
ที่บริสุทธิ์
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 5
สัญลักษณ์โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ (The Emblem of Anuban Sisaket School)

โรงเรียนมี ตราสัญลักษณ์ประจาโรงเรียน เป็นรูปตัว อ อ่าง มีลักษณะเขียนด้วยเส้นทึบสีน้าเงินสูง


3 เซนติเมตร ด้านหน้าของตัวอักษร อ อ่าง มีรูปดอกบัวตูมสีชมพู ด้านใต้ ตัว อ อ่างเป็นชื่อของโรงเรียนซึ่งมี
ความหมายดังนี้ คือ
ตัว อ อ่างเส้นทึบสีน้าเงินสูง 3 เซนติเมตร หมายถึงการเป็นโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดที่
กระทรวงศึกษาธิการตั้งขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบแห่งการจัดการศึกษาในระดับอนุบาลภายในจังหวัด
รูปดอกบัวตูมสีชมพูอยู่ด้านหน้าตัว อ อ่างอันเป็นสัญลักษณ์แทนลูกหลานไทยที่อยู่ในวัยก่อนประถมที่
พร้อมจะรับการศึกษาอบรมให้พร้อมที่จะเป็นเด็กดีของชาติ เปรียบเสมือนดอกบัวตูมเล็กๆ ที่คลี่กลีบขยายรับ
แสงอาทิตย์ในอรุณรุ่งของวันใหม่ รวมความแล้วสัญลักษณ์นี้มีความหมายว่า “วัยก่อนประถมศึกษา เป็นวัยทอง
ของเด็กที่โรงเรียนอนุบาลทุกแห่งจะต้องเตรียมความพร้อมให้ผ้าสีขาวแต่ละผืน มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเป็นคน
เก่งและเป็นคนดีของชาติต่อไป
สัญลักษณ์ตัว อ อ่าง ปักด้วยด้ายสีน้าเงิน สัญลักษณ์ดอกบัว ปักด้วยด้ายสีชมพู สัญลักษณ์นี้จะปักติด
กระเป๋าเสื้อนักเรียนด้านซ้ายทุกคนทั้งชายและหญิง

ต้นไม้ประจาโรงเรียน (Tree of School)


ต้นหางนกยูง

ค่านิยมองค์กร (Core Values)


A : Ability มีความรู้ความสามารถ
N : Novel พร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
U : Unity มีความสามัคคี
B : Brilliance ฉลาด หลักแหลม แจ่มใส
A : Aptitude มีทักษะในการเรียนรู้
N : Network มีการสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้
S : Service Mind มีจิตอาสา
I : Integration มีการทางานแบบบูรณาการ
S : Sufficiency มีความพอเพียง
A : Achievement มุ่งผลสัมฤทธิ์
K : Knowledge สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
E : Excellence มีความเป็นเลิศในทุกด้าน
T : Team Work มีการทางานเป็นทีม
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 6
เพลงมาร์ชประจาโรงเรียน (March of School)

มาร์ช อนุบาลศรีสะเกษ
ประพันธ์คาร้อง : พ.ต.ธัญวพิสิทธิ์ จิรากฤติภาสกุล, ครูสุจิตรา วิชาพูล
ทานอง/เรียบเรียงฯ : พ.ต.ธัญวพิสิทธิ์ จิรากฤติภาสกุล

โรงเรียนอนุบาล ศรีสะเกษ งดงามประเสริฐ


เราเป็นเลิศ ในผลงาน ด้านการศึกษา
บริหาร โดยยึดหลัก ปรัชญา
มุ่งพัฒนา บนพื้นฐาน ความเป็นไทย
ดุจแสงสว่าง เสมอด้วย ปัญญาไม่มี
มิตรไมตรี สานสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ
จักเชิดชู อุดมการณ์ ให้ก้าวไกล
สู่หลักชัย ก้าวนาพา ธรรมมาภิบาล
สถาบัน หลอมรวมใจ ชาวฟ้าชมพู
องค์ความรู้ สร้างอนาคต ให้ลูกหลาน
มีจิตสาธารณะ ล้าหน้า วิชาการ
ร่วมสืบสาน เอกลักษณ์ไทย ให้ดารง
ขยันศึกษา ปัญญาฉลาด มารยาทงาม
ยิ้มสยาม งดงามไหว้ ด้วยจิตจานง
โรงเรียนอนุบาล ศรีสะเกษ คู่ธงไตรรงค์
ยั่งยืนยง คงมั่น นิรันดร
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

แผนผังโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ (School Map)


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 8
ข้อมูลนักเรียน
จานวนนักเรียน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ แยกตามระดับการศึกษา (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน
2563) มีจานวนนักเรียน 3,482 คน ห้องเรียน 97 ห้องเรียน ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงจานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้น (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2563)
ระดับชั้น ชาย หญิง รวม จานวนห้องเรียน
ชั้นอนุบาลปีที่ 1 73 62 135 6
ชั้นอนุบาลปีที่ 2 142 174 316 10
ชั้นอนุบาลปีที่ 3 177 178 357 10
รวมระดับอนุบาล 392 414 808 26
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 176 188 364 12
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 245 209 454 12
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 225 240 465 11
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 238 221 459 12
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 234 223 457 12
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 233 242 475 12
รวมระดับประถม 1,364 1,312 2,674 71
รวมทั้งสิ้น 1,756 1,726 3,482 97

 นักเรียนที่ต้องพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ จานวน 10 คน
 นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน จานวน 82 คน
 นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ จานวน - คน
 นักเรียนปัญญาเลิศ จานวน - คน
 นักเรียนต้องการความช่วยเหลือพิเศษ จานวน คน
 จานวนนักเรียนต่อห้อง ระดับปฐมวัย จานวน 25 คน
 จานวนนักเรียนต่อห้อง ระดับประถมศึกษา จานวน 30 คน
 อัตราส่วนครู : นักเรียน ระดับปฐมวัย 1 : 25 คน
 อัตราส่วนครู : นักเรียน ระดับประถมศึกษา 1 : 25 คน
 จานวนนักเรียนที่ออกกลางคัน (ปัจจุบัน) จานวน - คน
 สถิติการขาดเรียน/เดือน เฉลี่ยร้อยละ -
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 9
ข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรศึกษา
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ มีข้าราชการครูสายบริหาร 5 คน ครูสายปฏิบัติการสอน 267 คน รวม
ทั้งสิ้น 272 คน (พนักงานราชการ 2 คน) เป็นชาย 74 คน หญิง 203 คน ระดับการศึกษาวุฒิปริญญาเอก 1 คน
ปริญญาโท 71 คน ปริญญาตรี 150 คน อนุปริญญา 50 คน

ตารางที่ 2 แสดงจานวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ


เพศ คุณวุฒิ วิทยฐานะ
ตาแหน่ง ชาย หญิง รวม ต่ากว่า ปริญญา ปริญญา ปริญญา ครูผู้ คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4
ปริญญา ตรี โท เอก
ตรี ช่วย
สายบริหาร 3 2 5 - - 5 - - - - 4 1
ครูผู้สอน 23 109 132 - 66 65 1 - 37 10 84 1
พนักงานราชการ - 2 2 - 2 - - - - - - -
ข้าราชการพลเรือน - 1 1 - - 1 - - - - - -
รวมข้าราชการครู 26 114 140 - 68 71 1 - 37 10 88 2
และบุคลากร
ทางการศึกษา
ครูอัตราจ้าง 14 11 25 - 25 - - - - - - -
ชาวไทย
ครูจ้างชาวต่างชาติ 23 10 33 - 33 - - - - - - -
ครูพี่เลี้ยง - 29 29 14 15 - - - - - - -
เจ้าหน้าที่กลุ่มงาน 1 8 9 - 9 - - - - - - -
ลูกจ้างประจา 2 - 2 2 - - - - - - - -
แม่ครัว - 12 12 12 - - - - - - - -
แม่บ้าน - 9 9 9
พนักงานขับรถ 2 - 2 2
ยามรักษาความ 3 1 4 4
ปลอดภัย
นักการภารโรง 7 - 7 7 -
รวมบุคลากรฯ 48 89 132 50 82
รวมทั้งสิ้น 74 203 272 50 150 71 1 - 37 10 88 2
ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 10
ข้อมูลอาคารเรียนและสิ่งปลูกสร้างในโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับอาคารเรียน
แบบ งบประมาณ จานวน (หลัง) ใช้การได้(หลัง) ชารุด (หลัง)
แบบอื่นๆ 580,000 1 1 -
อาคารสัตตบรรณ (ห้องเรียนสีเขียว)
สปช. 105/26 (อาคารบัวสวรรค์) 720,000 1 1 -
(อาคารสัตตบุษย์ ป.4) 1,300,000 1 1
สปช. 2/28 (อาคารสัตตบงกช ป.6) 3,880,000 1 1 -
สปช. 2/28 (อาคารบัวเพชร ป.2) 5,400,000 1 1 -
(ห้องเรียน IEP) 3,750,000 1 1 -
สปช. 105/29 (อาคาร EP) 1,330,000 1 1 -
ต่อเติมอาคาร EP 874,000
อาคารศรีวิเศษ (ป.1) - - - -
อาคารขวัญชีวาชนบท 1 1 -
อาคารบัวสวรรค์ (ป.3) 1 1 -
อาคารบัวหลวง (ตึกอนุบาล 1-2) 1 1 -
อาคาร ICT (อยู่ติดกับ สพป.ศก.1) 2,510,000 1 1 -
อาคารทศพลญาณ 1 1 -
อาคารบัวแก้ว 1 1 -

ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับอาคารประกอบ
ประเภท แบบ งบประมาณ จานวน ใช้การได้ (หลัง) ชารุด
(หลัง) (หลัง)
อาคารเอนกประสงค์ สปช. 206/26 1,348,840 1 1 -
(อาคาร)
บ้านพักครู แบบกรมสามัญ 180,000 1 1 -
แบบแฟลต8/12 1,700,000 1 1
บ้านพักภารโรง สปช. 304/28 172,000 2 2 -
ห้องสุขา แบบอื่นๆ 48,000 1 1 -
แบบสปช. 50,000 9 9 -
601/26 114,000 3 3 -
แบบ605/45 414,000 1 1 -
แบบ605/45 435,000 1 1
ห้องสมุดโรงเรียน - - 1 1 -
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 11

ประเภท แบบ งบประมาณ จานวน ใช้การได้ (หลัง) ชารุด


(หลัง) (หลัง)
ศาลาพระ - - 1 1 -
ห้องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - - 1 1 -
อาคารหอประชุม - - 1 1 -
โรงยิม (ข้างหอประชุม) - 794,500 1 1 -
โรงอาหาร - 3,525,000 1 1 -
พิพิธภัณฑ์ศรีพฤทเธศวร 4 - 1,982,000 1 1 -
เผ่าไทย
อาคารฝ่ายบริหารงานบุคคล - 180,000 1 1 -
ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับบริเวณโรงเรียน
รายการ แบบ งบประมาณ จานวน การได้มา หมายเหตุ
สนามฟุตบอล - - 1 -
สนามบาสเก็ตบอล - - 1 งบจังหวัด
สนามฟุตซอล - 1,998,000 1 งบจังหวัด
สนามเด็กเล่น - - 1 -
สระว่ายน้า - 8,000,000 1 -

ตารางที่ 6 แสดงร้อยละของผู้ปกครองนักเรียนที่จบการศึกษาในระดับต่างๆ

ต่ากว่ามัธยม มัธยมต้น มัธยมปลายหรือเทียบเท่า


ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
589 1,495 649
ตารางที่ 7 แสดงร้อยละการประกอบอาชีพของผู้ปกครองนักเรียน
ผู้ปกครองประกอบอาชีพ
อาชีพ น้อยกว่า ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มากกว่า
ร้อยละ 20 21 - 40 41 - 60 61 - 80 ร้อยละ 80
รับราชการ - - 53.92 80 -
ค้าขาย - 22.82 - - -
เกษตรกร - 10.00 - - -
รับจ้าง 13.51 - 50 - -
ไม่มีอาชีพ - - - - -
อื่นๆ - - - - -
ธุรกิจ - 40 - - -
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 12
ตารางที่ 8 แสดงร้อยละของผู้ปกครองที่นับถือศาสนา
ศาสนาที่ผู้ปกครองนับถือ
ศาสนา น้อยกว่า ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มากกว่า
ไม่มี
ร้อยละ 20 21 – 40 41 - 60 61 - 80 ร้อยละ 80
พุทธ - - - - - 99.10
อิสลาม - 0.26 - - - -
คริสต์ - 0.58 - - - -
ฮินดู - 0.07 - - - -

ตารางที่ 9 แสดงแหล่งเรียนรู้และการใช้แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ภายใน แหล่งเรียนรู้ภายนอก
ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้ ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้
จานวนครั้ง/ปี จานวนครั้ง/ปี
1. ห้องสมุด ตลอดปี 1. วัดมหาพุทธาราม 4
2. ห้องปฏิบัติการทางภาษา ตลอดปี 2. วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม 4
3. ห้องคอมพิวเตอร์ ตลอดปี 3. วัดหลวงสุมังคลาราม 4
4. ห้องดนตรีไทย ตลอดปี 4. วัดป่าศรีสาราญ 4
5. ห้องดนตรีสากล ตลอดปี 5. วัดพระธาตุเรืองรอง 4
6. ห้องศิลปะ ตลอดปี 6. วัดสระกาแพง 1
7. ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดปี 7. สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 1
8. ห้องเรียนสีเขียว ตลอดปี 8. อนุสาวรีย์พระนางศรีษะผม 2
9. ห้องเรียนธรรมชาติ ตลอดปี 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 1
(สวนสัตว์ จาลอง) 10. วิทยาลัยเกษตรและ 1
10. สนามเด็กเล่น ตลอดปี เทคโนโลยีศรีสะเกษ
11. ศาลาจิตเกษม (ศาลาพระ) ตลอดปี 11. ค่ายลูกเสือห้วยคล้า 1
12. ห้องปฏิบัติงานอาชีพ ตลอดปี 12. พิพิธภัณฑ์สิรินธร 1
13. ตารางหัวกะโหลก ตลอดปี (ไดโนเสาร์)
14. จุดศึกษารอบบริเวณโรงเรียน ตลอดปี 13. เขาพระวิหาร/ผามออีแดง 1
32 จุด 14. วัดพระธรรมกาย 1
15. ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ ตลอดปี 15. พิพิธภัณฑ์สัตว์น้า 1
16. ห้องปฏิบัติการงานอาชีพฯ (เกาะกลาง น้า)
17. ห้องประกอบอาหารและ ตลอดปี 16. ศูนย์วิทยาศาสตร์จังหวัด 2
โภชนาการ ตลอดปี อุบลราชธานี
18. ห้องปฏิบัติการสื่อเทคโนโลยี 17. สวนสัตว์นครราชสีมา 1
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 13
แหล่งเรียนรู้ภายใน แหล่งเรียนรู้ภายนอก
ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้ ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้
จานวนครั้ง/ปี จานวนครั้ง/ปี
19. ห้องพยาบาล ตลอดปี 18. วัดพระมหาเจดีย์ชัยมงคล 1
20. ร้านค้าสวัสดิการ ตลอดปี 19.บึงพลาญชัย/พิพิธภัณฑ์สัตว์ 1
21. แปลงนาสาธิต ตลอดปี น้าจังหวัดร้อยเอ็ด
22. แปลงเกษตร ตลอดปี 20.ชุมชนวัฒนธรรมบุญนิยม 1
23. ห้องสืบค้นข้อมูล ฤดูทานา ศรีษะอโศก
24. ห้องพัฒนาอัจฉริยภาพทาง ตลอดปี 22.ศาลากลาง 1
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ตลอดปี 23.ศาลจังหวัดศรีสะเกษ 1
24.ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง 1
25.มหาวิทยาลัยราชภัฏ 1
อุบลราชธานี
26.ป่าดงนาทาม 4
27.วัดมหาธาตุฯ / วัดท้าวพระ 1
เมรุ / คุ้มขุนแผน / เจดีย์พระศรี
สุริโยทัย / วัดพระพนัญเชิง / วัด
ใหญ่ไชยมงคล / เมืองเก่าอยุธยา
28.ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทร 1

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษจัดโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
และหน่วยงานต้นสังกัด ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและ
การจัดการศึกษา พ.ศ 2550 โดยมีการแบ่งงานเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ
และแผน กลุ่ ม บริห ารงานบุ คคล และกลุ่ ม บริห ารทั่ ว ไป การบริห ารงานตามโครงสร้างของสถานศึ กษา มี
คณะกรรมการหลายระดับ เช่น ระดับบริหาร ระดับกลุ่มงาน ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการตั้งคณะทางาน
เฉพาะขึ้นเพื่อรับผิดชอบงานเป็นคราวๆ ไปกาหนดผู้รับผิดชอบงานที่เหมาะสม เน้นการทางานร่วมกันเป็นทีมให้
มากที่สุด ทุกคนต้องมีแผนการทางานของตนเองควบคู่กับแผนการสอนด้วย เพื่อเป็นการตรวจสอบการทางาน
เป็นระยะตามวงจรคุณภาพ มีการปรับปรุงงานทันท่วงที ไม่ทาให้งานคั่งค้าง จึงมีเวลาให้กั บการพัฒนาการเรียน
การสอนได้เต็มที่
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 14

แผนภาพที่ 2 แสดงขอบข่ายและภารกิจงานโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

สมาคมผู้ปกครองและครู คณะกรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา


สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมาคมศิษย์เก่า ผู้ปกครองเครือข่าย

กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณและแผน กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป

1.การวางแผนงานด้านวิชาการ 1.การจัดทาแผนงบประมาณ 1.การวางแผนอัตรากาลัง 1.การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูล


2. การพัฒนาหรือการดาเนินการ 2.การจัดทาแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน 2.การจัดสรรอัตรากาลังข้าราชการครูและ สารสนเทศ
เกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระ 3.การอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับ บุคลากรทางการศึกษา 2.การประสานงานและพัฒนาเครือข่าย
หลักสูตรท้องถิ่น จัดสรร 3.การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง การศึกษา
3 การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา 4.การโอนและการเปลี่ยนแปลง 4.การเปลี่ยนตาแหน่งให้สูงขึ้น การย้าย 3.การวางแผนการบริหารการศึกษา
4. การจัดการเรียนการสอนใน งบประมาณ ข้าราชการครูและบุคลากร 4.งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน
สถานศึกษา 5.การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ทางการศึกษา 5.การจัดระบบการบริหารและพัฒนา
5.การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 6. การตรวจสอบติดตามและรายงานการ 5.การดาเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน องค์กร
6.การวัด ผล ประเมินผล และดาเนินการ ใช้งบประมาณ 6. การลาทุกประเภท 6.การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน
เทียบโอนผลการเรียน 7.การตรวจสอบติดตามและรายงานการ 7.การประเมินผลการปฏิบัติงาน 7.งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
7. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ใช้ผลผลิตงบประมาณ 8. การดาเนินการทางวินัยและการลงโทษ 8.การดาเนินงานธุรการ
ในสถานศึกษา 8.การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ 9.การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจาก 9.การดูแลอาคาร สถานที่ และ
8.การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่ง การศึกษา ราชการไว้ก่อน สภาพแวดล้อม
เรียนรู้ 9.งานกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา 10.การรายงานผลการดาเนินการทางวินัยและ 10.การจัดทาสามะโนผู้เรียน
9. การนิเทศการศึกษา 10.การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อ การลงโทษ 11.การรับนักเรียน
10.การแนะแนว การศึกษา 11.การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ 12.การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการ
11.การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ 11.การเบิกเงินจากคลัง 12.การออกจากราชการ จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิก สถานศึกษา
ภายในและมาตรฐานการศึกษา 12.การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และ 13.การจัดระบบและการจัดทาทะเบียนประวัติ 13.การประสานการจัดการศึกษาในระบบ
12.การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็ง การจ่ายเงิน 14.การจัดทาบัญชีรายชื่อและให้ความเห็น นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ทางวิชาการ 13.การนาเงินส่งคลัง เกี่ยวกับการขอพระราชทาน 14.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
13.การประสานความร่วมมือในการ 14.การจัดทาบัญชีการเงิน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 15.การทัศนศึกษา
พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ 15.การจัดทารายงานทางการเงินและงบ 15. การส่งเสริมประเมินวิทยฐานะข้าราชการ 16.งานกิจการนักเรียน
องค์กรอื่น การเงิน ครูและบุคลากร 17.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
14.การส่งเสริมและสนับสนุนงาน 16.การจัดทาและจัดหาแบบบัญชี ทางการศึกษา 18.การส่งเสริม สนับสนุนและประสาน
วิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร ทะเบียน และรายงาน 16. การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ การจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานสถานประกอบการและสถาบัน 17.การวางแผนพัสดุ 17.การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและ หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่นที่จัด
อื่นที่จัดการศึกษา 18.การกาหนดแบบรูปรายการหรือคุณ จรรยาบรรณวิชาชีพ การศึกษา
15. การจัดทาระเบียนและแนวปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ หรือ 18. การส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรม 19.งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาค
เกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา สิ่งก่อสร้าง สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการ และส่วนท้องถิ่น
16.การคัดเลือกหนังสือ 19.การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ ศึกษา 20.การรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา เพื่อการจัดทาและจัดหาพัสดุ 19. การสนับสนุนส่งเสริมการขอรับใบอนุญาต 21.การจัดระบบการควบคุมภายใน
17.การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อ 20.การจัดหาพัสดุ และการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ หน่วยงาน
การศึกษา 21. การควบคุมดูแลบารุงรักษาและ 20. การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร 22.แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ
จาหน่ายพัสดุ ทางการศึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษ
22. การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน นักเรียน

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพเครือข่ายผู้ปกครองสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 15

แผนภาพที่ 3 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

สมาคมผู้ปกครองและครูฯ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง
ผู้อานวยการ
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

รองผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ


กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป
และแผน

หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม


กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณและแผน กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป

 รองหัวหน้ากลุ่ม
 เลขานุการกลุ่ม  รองหัวหน้ากลุ่ม  รองหัวหน้ากลุ่ม  รองหัวหน้ากลุ่ม
 หัวหน้าสายชั้นประถม อนุบาล
 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้  เลขานุการกลุ่ม  เลขานุการกลุ่ม  เลขานุการกลุ่ม
 หัวหน้าโครงการห้องเรียน EP
 หัวหน้าโครงการห้องเรียน AP

1. กลุ่มงานธุรการ
1. กลุ่มงานนโยบายและ 1. กลุ่มงานการวางแผน
2. กลุ่มงาน
แผนงบประมาณ อัตรากาลัง การสรรหา
1.กลุ่มงานการวางแผนด้าน การส่งเสริมงานกิจการ
2. กลุ่มงานการเงินและ และการบรรจุแต่งตั้ง
วิชาการ นักเรียน
2.กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรและ บัญชี 2. กลุ่มงานการ
3. กลุ่มงานบริการและ
กระบวนการเรียนรู้ 3. กลุ่มงานบริหารพัสดุ เสริมสร้าง
สวัสดิการนักเรียน
3.กลุ่มงานพัฒนาระบบประกัน และสินทรัพย์ ประสิทธิภาพในการ 4. กลุ่มงานเทคโนโลยี
คุณภาพภายในและการวิจัยเพื่อ 4. กลุ่มงานตรวจสอบและ ปฏิบัตริ าชการ 5. กลุ่มงานการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา รายงาน 3. กลุ่มงานวินัย
ประชาสัมพันธ์งาน
4.กลุ่มงานการวัดและ 5. กลุ่มงานการระดม 4. กลุ่มงานการ การศึกษา
ประเมินผลการเรียนรู้ ทรัพยากรและการลงทุน พัฒนาบุคลากร 6. กลุ่มงานทะเบียน
5.กลุ่มงานส่งเสริม เพื่อการศึกษา 7. กลุ่มงานอาคารสถานที่
สนับสนุนวิชาการ
และสภาพแวดล้อม
6. กลุ่มงานโครงการห้องเรียน
8. กลุ่มงานการวาง
พิเศษ EP
แผนการบริหารงาน
7. กลุ่มงานโครงการห้องเรียน
การศึกษา
พิเศษคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
9. กลุ่มงานการจัดระบบ
เข้ม(AP)

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 16

แผนภาพที่ 4 โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มบริหารวิชาการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา
และงานวิชาการ

คณะอนุกรรมการ สมาคมผู้ปกครองและครูฯ
ระดับกลุม่ สาระการเรียนรู้ ผู้อานวยการโรงเรียน
สมาคมศิษย์เก่าฯ

คณะกรรมการ
รองผูอ้ านวยการ
ประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มบริหารวิชาการ
เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

หัวหน้ากลุ่ม
บริหารวิชาการ

รอง/เลขานุการกลุม่ บริหารวิชาการ/หัวหน้าสายชั้น
หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/หัวหน้ากลุม่ งานโครงการห้องเรียนสองภาษา EP/
หัวหน้ากลุม่ งานโครงการห้องเรียน AP//หัวหน้ากลุ่มงานโครงการห้องเรียนIEP

กลุ่มงานการ กลุ่มงานพัฒนา กลุ่มงานพัฒนาระบบ กลุ่มงานการวัดและ กลุ่มงานส่ งเสริ ม


วางแผน หลักสู ตร ประกันคุณภาพภายใน ประเมินผลการเรี ยนรู ้ สนับสนุนวิชาการ
และกระบวนการเรี ยนรู ้

1.งานธุรการ 1. การพัฒนาหรือการดาเนินการ 1. งานการพัฒนาระบบ 1. งานการวัดและประเมินผล 1.งานการพัฒนาและส่งเสริมให้มี


2.งานจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ เกี่ยวกับการให้ความเห็นการ และดาเนินการเทียบโอนผล แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น
ประกันคุณภาพภายใน งานห้องสมุด
วิชาการ 4 ปี การเรียน
2.การพัฒนาหลักสูตรใน และมาตรฐานการศึกษา งานห้องปฏิบัติการต่างๆ
3.งานการจัดทาแผนปฏิบัติการ ระดับชั้นเรียน
สถานศึกษา 2. งานการวิจัยเพื่อพัฒนา งานแหล่งเรียนรู้ภายใน/ภายนอก
กลุ่มบริหารวิชาการ 3. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ระดับสถานศึกษา 2. งานการนิเทศการศึกษา
คุณภาพการศึกษาใน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
4.งานรายงานผลการดาเนินตาม 4.การจัดการเรียนการสอนใน 3.งานการแนะแนว
สถานศึกษา ระดับชาติ 4. งานการส่งเสริมชุมชนให้มีความ
แผนงาน โครงการ สถานศึกษา
5.งานวางแผน/จัดกิจกรรม
3.งานการพัฒนาสื่อ และ 2. งานการจัดทาระเบียบและ เข้มแข็งทางวิชาการ
5.งานจัดระบบการควบคุมการ
พัฒนาผูเ้ รียน ใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้าน 5.งานการประสานความร่วมมือในการ
ปฏิบัติภายในกลุ่มบริหารวิชาการ พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ
6.งานส่งเสริมความเป็นเลิศทาง การศึกษา วิชาการของสถานศึกษา
เพื่อป้องกันความเสี่ยง วิชาการ องค์กรอื่น
ระเบียบการวัดและ
6.งานให้บริการด้านวิชาการแก่ ทักษะวิชาการระดับเขตพื้นที่ 6.งานการส่งเสริมและสนับสนุนงาน
ประเมินผลการเรียนรู้
หน่วยงานอื่น การศึกษา วิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร
หลักฐานประกอบการวัด หน่วยงานสถานศึกษาและสถาน
7.งานจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ ทักษะวิชาการระดับเครือข่าย
และประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบการอื่นทีจ่ ัดการศึกษา
อนุบาลต้นแบบ
ภายในกลุ่มบริหารวิชาการ ระเบียบและแนวปฏิบัติอื่น 7.งานการคัดเลือกหนังสือ แบบเรียน
ทักษะวิชาการระดับภาค/
8.งานการจัดชั้นเรียน ประเทศ/ระดับชาติ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในสถานศึกษา
9.งานการจัดตารางเรียน 8.งานการสอนซ่อมเสริม 3. งานทะเบียนวัดผล

นักเรียนมีคณ
ุ ภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษามีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 17

แผนภาพที่ 5 โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มบริหารงบประมาณและแผน

คณะกรรมการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษา


ขั้นพื้นฐาน

สมาคมผู้ปกครองและครูฯ
คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุ
ประจาปี ผู้อานวยการโรงเรียน
สมาคมศิษย์เก่า
รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารงบประมาณและแผน เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

หัวหน้ากลุ่ม
บริหารงบประมาณและแผน

รองหัวหน้ากลุ่ม/
เลขานุการกลุ่มบริหารงบประมาณและแผน

กลุ่มงานการเงิน กลุ่มงานบริหารพัสดุ กลุ่มงานตรวจสอบ กลุ่มงานการระดม


กลุ่มงานงบประมาณ และบัญชี และสินทรัพย์ ทรัพยากรและการลงทุน
และแผน และรายงาน เพือ่ การศึกษา
และแผน

1.การจัดทาแผนงบประมาณ 1.การบริหารการเงิน 1.การวางแผนพัสดุ


1.1 จัดตั้งงบประมาณ
1. การตรวจสอบติดตาม 1.การระดมทรัพยากร
1.1การเบิกเงินจากคลัง 2. การกาหนดแบบรูปรายการ
วิเคราะห์และพัฒนานโยบาย และรายงานการใช้ และการลงทุนเพื่อ
หรือคุณลักษณะเฉพาะของ
ทางการศึกษา 1.2การรับเงิน การเก็บ งบประมาณ
ครุภัณฑ์ หรือสิง่ ก่อสร้าง การศึกษา
จัดทาแผนกลยุทธ์หรือ รักษาเงิน และการจ่ายเงิน 3. การพัฒนาระบบข้อมูลและ 2.การตรวจสอบติดตาม
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 1.3การนาเงินส่งคลัง
2.งานกองทุนกู้ยืมเพื่อ
สารสนเทศเพื่อการจัดทาและ และรายงานการใช้ผลผลิต
การวิเคราะห์ความเหมาะสม
1.4การจัดทาบัญชีการเงิน จัดหาพัสดุ การศึกษา
การเสนอของบประมาณ งบประมาณ
1.5การจัดทารายงาน 4..การจัดหาพัสดุ 3.การบริหารจัดการ
1.2 จัดสรรงบประมาณ 5.การควบคุมดูแลบารุงรักษา 3. การประเมินผลการใช้
งบประมาณในสถานศึกษา ทางการเงินและงบการเงิน และจาหน่ายพัสดุ เงินและผลการดาเนินงาน ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
เบิกจ่ายและการอนุมัติ 1.6การจัดทาและจัดหา 6. การจัดหาผลประโยชน์จาก 4.งานกองทุนสวัสดิการ
งบประมาณ
4. งานตรวจสอบภายใน
แบบบัญชี ทะเบียน และ ทรัพย์สิน เพื่อการศึกษา
โอนเงินงบประมาณ 5. งานตรวจสอบพัสดุ
การจัดทาระบบฐานข้อมูล
2.การจัดทาแผนปฏิบัติการใช้ รายงาน ประจาปี 5. งานประกันชีวิต
สินทรัพย์ของสถานศึกษา
จ่ายเงิน 6. งานประกาศอนุโมทนา
3.การอนุมัตกิ ารใช้จ่าย
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
4.การโอนและการเปลี่ยนแปลง
งบประมาณ

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 18

แผนภาพที่ 6 โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มบริหารงานบุคคล

คณะกรรมการสถานศึกษา
สมาคมผู้ปกครองและครูฯ ขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
ผู้อานวยการโรงเรียน

รองผูอ้ านวยการ
กลุ่มบริหารงานบุคคล

หัวหน้า
กลุ่มบริหารงานบุคคล

รองหัวหน้ากลุ่ม/
เลขานุการกลุ่มบริหารงานบุคคล

กลุ่มงานการวางแผน กลุ่มงานการเสริมสร้าง
กลุ่มงานการพัฒนา
อัตรากาลัง การสรรหาและ ประสิทธิภาพในการ กลุ่มงานวินัย บุคลากร
การบรรจุแต่งตั้ง ปฏิบตั ิราชการ

1.การวางแผนอัตรากาลัง 1.การดาเนินการเกี่ยวกับ 1. การดาเนินการทางวินัย 1. การพัฒนาข้าราชการครู


2.การจัดสรรอัตรากาลัง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการลงโทษ และบุคลากรทางการศึกษา
ข้าราชการครูและ 2.การประเมินผลการ 2.การสั่งพักราชการและ 2. การส่งเสริมประเมินวิทย
บุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติงาน การสั่งให้ออกจากราชการ ฐานะข้าราชการครูและ
3.การสรรหาและบรรจุ 3.การจัดทาบัญชีรายชื่อ ไว้ก่อน บุคลากรทางการศึกษา
แต่งตั้ง และให้ความเห็นเกี่ยวกับ 3.การรายงานผลการ 3.การส่งเสริมมาตรฐาน
4.การเปลี่ยนตาแหน่งให้ การขอพระราชทาน ดาเนินการทางวินัยและ วิชาชีพและจรรยาบรรณ
สูงขึ้น การย้ายข้าราชการ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ การลงโทษ วิชาชีพ
ครูและบุคลากร 4. การส่งเสริมและยกย่อง 4.การอุทธรณ์และการร้อง 4. การส่งเสริมวินัย
ทางการศึกษา เชิดชูเกียรติ ทุกข์ คุณธรรมและจริยธรรม
5. การสนับสนุนส่งเสริม 5.การออกจากราชการ สาหรับข้าราชการครูและ
การขอรับใบอนุญาตและ 6. การลาทุกประเภท บุคลากรทางการศึกษา
การขอต่อใบอนุญาต 7.การจัดระบบและการ
ประกอบวิชาชีพ จัดทาทะเบียนประวัติ

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 19

แผนภาพที่ 7 โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มบริหารทั่วไป

สมาคมผู้ปกครองและครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
ผู้อานวยการโรงเรียน

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารทั่วไป

รองหัวหน้า หัวหน้า เลขานุการ


กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารทั่วไป

กลุ่มงานธุรการ กลุ่มงานการส่งเสริม กลุ่มงานบริการและ กลุ่มงาน กลุ่มงาน


งานกิจการนักเรียน สวัสดิการนักเรียน เทคโนโลยี ทะเบียน

1.งานสารบรรณ 1.งานพัฒนาระบบ 1.งานการจัดทาสามะโน


1.งานกิจการนักเรียน 1.งานอาหารกลางวัน
2.งานจัดเวรรักษาความ เครือข่ายข้อมูล นักเรียน
2.งานปกครองนักเรียน 2.งานอาหารเสริมนม
ปลอดภัยสถานที่ราชการ 3.งานการดูแลสุขภาพ สารสนเทศ 2.งานทะเบียนโรงเรียน
(การปรับเปลี่ยน
3.งานการประชุม นักเรียน 2.งานเทคโนโลยีเพื่อ 3.งานการรับนักเรียน
พฤติกรรมในการลงโทษ
คณะกรรมการต่างๆ 4.งานประกันชีวิตนักเรียน การศึกษา 4.งานทะเบียนวัดผล
4.งานสมุดหมายเหตุ สมุด นักเรียน)
5.งานร้านค้าสวัสดิการ 3.งานการประสานงาน
เยี่ยม สมุดนิเทศ สถิติ 3.งานทัศนศึกษา 6.งานยานพาหนะและ และพัฒนาเครือข่าย
สมุดตรวจราชการ สมุด การจราจร การศึกษา
บันทึกเวร

กลุ่มงานการ กลุ่มงานการดูแลอาคาร กลุ่มงานการจัดระบบการ


กลุ่มงานการระดมทรัพยากร
กลุ่มงานการวางแผนการ เพือ่ การศึกษา
ประชาสัมพันธ์งาน สถานที่และ ควบคุมภายในหน่วยงาน
บริหารงานการศึกษา
สภาพแวดล้อม
การศึกษา

1.งานระดมทรัพยากรเพื่อ
1.งานการประชาสัมพันธ์งาน 1.งานการวางแผนการ 1.งานการวางแผนอาคาร 1.งานการจัดระบบ การศึกษา
การศึกษา บริหารงานการศึกษา สถานที่และสภาพแวดล้อม
2.งานประสานการจัดการศึกษา
ควบคุมภายใน 2.งานคณะกรรมการ
2.การจัดระบบบริหารและ 2.งานการรักษาความสะอาด
ในระบบนอกระบบและตาม หน่วยงาน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาองค์กร และสุขาภิบาลอาคารสถานที่
อัธยาศัย
3.งานวิจัยเพื่อพัฒนา และสภาพแวดล้อม 3.งานสมาคมผู้ปกครอง
3.งานประสานส่วนราชการส่วน
นโยบายและแผน 3.งานการจัดบรรยากาศและ และครูโรงเรียนอนุบาลศรี
ภูมิภาคส่วนท้องถิ่น
4.งานการส่งเสริมสนับสนุนและ 4.งานการพัฒนามาตรฐาน สภาพแวดล้อม สะเกษ
ประสานงานการจัดการศึกษา การปฏิบัติงาน 4.งานการใช้อาคารสถานที่ 4.งานสมาคมศิษย์เก่า
ของบุคคลชุมชนองค์กร 5.งานการรายงานผลการ 5.งานสาธารณูปโภค 5.งานกองทุน
หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่นที่ ปฏิบัติงาน 6.งานการรักษาความ
จัดการศึกษา
5.การเสนอความเห็นเกี่ยวกับ
การจัดตัง้ ยุบ รวมหรือเลิก
สถานศึกษา คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 20

แผนภาพที่ 8 โครงสร้างการบริหารงานวิชาการ โครงการห้องเรียนพิเศษ English Program (EP)

สมาคมผู้ปกครองและครูฯ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า
เครือข่ายผู้ปกครอง
ผู้อานวยการ
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารวิชาการ

หัวหน้างานโครงการห้องเรียนพิเศษ
รองหัวหน้างาน English Program เลขานุการงาน
โครงการ โครงการ

กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุม่ บริหารทั่วไป


1.กลุ 1.กลุ่มงานธุรการ
1.กลุ่มงานการวางแผน 1.กลุ่ม่ม่มงานนโยบายและ
1.กลุ
1.กลุ งานนโยบาย
งานนโยบาย 1.กลุ่ม่มงานการวางแผน
1.กลุ ่มงานการ
งานการ 2.กลุ่มงาน
ด้านวิชาการ แผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ อัวางแผนอั
วางแผนอังตการสรรหา
ตราก าลั ตราก รากาลัาลังง การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
2.กลุ่มงานพัฒนา 2.กลุ่ม่ม่มงานการเงิ
2.กลุ
2.กลุ งานการเงินนและ
งานการเงิ นและ
และ และการบรรจุ
การสรรหาและการ
การสรรหาและการ แ ต่งตั้ง 3.กลุ่มงานบริการและสวัสดิการ
หลักสูตร บับับัญญชีชี 2.กลุ
บรรจุ
บรรจุ่มแงานการ แต่ต่งงตัตั้ง้ง นักเรียน
และกระบวนการเรียนรู้ 3.กลุ่ม่ม่มงานบริ
3.กลุ
3.กลุ งานบริหหารพั
งานบริ สดุสสดุดุ
หารพั
ารพั เสริ
2.กลุ ม สร้
-.กลุ่มงานการ าง 4.กลุ่มงานเทคโนโลยี
3.กลุ่มงานพัฒนาระบบ และสินนนทรั
และสิ
และสิ ทรั
ทรัพพพย์ย์ย์ ประสิ
เสริ
เสริมมสร้ ทสร้ ธิาภางาพในการ
ง 5.กลุ่มงานการ
4.กลุ่ม่ม่มงานตรวจสอบและ
4.กลุ
4.กลุ งานตรวจสอบ
งานตรวจสอบ ปฏิ
ประสิ บ ต
ั ร

ประสิทธิภาพในการ
ท าชการ
ธิ ภ าพในการ ประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
ประกันคุณภาพภายใน
รายงาน
และรายงาน 3.กลุ
ปฏิ บ ม
่ ต

ปฏิบัติราชการ งานวิ

ิ าชการ น ัย 6.กลุ่มงานทะเบียน
และการวิจัยเพื่อพัฒนา และรายงาน 7.กลุ่มงานอาคารสถานที่
5.กลุ่ม่มงานการระดม
5.กลุ งานการระดม 4.3.กลุ
3.กลุกลุ่ม่ม่มงานการ งานวิ
งานวินนัยัย
คุณภาพการจัดการศึกษา 5.กลุ ่มงานการระดม และสภาพแวดล้อม
ทรั พ ยากรและการลงทุ
ยากรและการ น
ทรัพพยากรและการ พั4.ฒกลุ
4. นาบุ
กลุ่ม่มคงานการ ลากร
งานการ
4.กลุ่มงานการวัดและ ทรั 8.กลุ่มงานการวางแผนการ
เพื่อการศึ
ลงทุ เพื่อ่อกการศึ
ษา กษา พัพัฒฒนาบุ นาบุคคลากร
ประเมินผลการเรียนรู้ ลงทุ นนเพื การศึ กษา ลากร บริหารงานการศึกษา
5.กลุ่มงานส่งเสริม 9.กลุ่มงานการจัดระบบการ
ควบคุมภายในหน่วยงาน
สนับสนุนวิชาการ 10.กลุ่มงานการระดมทรัพยากร
เพื่อการศึกษา

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 21

แผนภาพที่ 9 โครงสร้างการบริหารงานวิชาการ โครงการห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์


Advance Program (AP)

สมาคมผู้ปกครองและครูฯ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า
เครือข่ายผู้ปกครอง
ผู้อานวยการ
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารวิชาการ

หัวหน้างานโครงการห้องเรียนพิเศษ
รองหัวหน้างานโครงการ Advance Program เลขานุการงานโครงการ

กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุม่ บริหารทั่วไป


1.กลุ 1.กลุ่มงานธุรการ
1.กลุ่มงานการวางแผน 1.กลุ่ม่ม่มงานนโยบายและ
1.กลุ
1.กลุ งานนโยบาย
งานนโยบาย 1.กลุ่ม่มงานการวางแผน
1.กลุ ่มงานการ
งานการ 2.กลุ่มงาน
ด้านวิชาการ แผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ อัวางแผนอั
วางแผนอังตการสรรหา
ตราก าลั ตราก รากาลัาลังง การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
2.กลุ่มงานพัฒนา 2.กลุ่ม่ม่มงานการเงิ
2.กลุ
2.กลุ งานการเงินนและ
งานการเงิ นและ
และ และการบรรจุ
การสรรหาและการ
การสรรหาและการ แ ต่งตั้ง 3.กลุ่มงานบริการและสวัสดิการ
หลักสูตร บับับัญญชีชี 2.กลุ
บรรจุ
บรรจุ่มแงานการ แต่ต่งงตัตั้ง้ง นักเรียน
และกระบวนการเรียนรู้ 3.กลุ่ม่ม่มงานบริ
3.กลุ
3.กลุ งานบริหหารพั
งานบริ สดุสสดุดุ
หารพั
ารพั เสริ
2.กลุ ม สร้
-.กลุ่มงานการ าง 4.กลุ่มงานเทคโนโลยี
3.กลุ่มงานพัฒนาระบบ และสินนนทรั
และสิ
และสิ ทรั
ทรัพพพย์ย์ย์ ประสิ
เสริ
เสริมมสร้ ทสร้ ธิาภางาพในการ
ง 5.กลุ่มงานการ
4.กลุ่ม่ม่มงานตรวจสอบและ
4.กลุ
4.กลุ งานตรวจสอบ
งานตรวจสอบ ปฏิ
ประสิ บ ต
ั ร

ประสิทธิภาพในการ
ท าชการ
ธิ ภ าพในการ ประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
ประกันคุณภาพภายใน
รายงาน
และรายงาน 3.กลุ
ปฏิ บ ม
่ ต

ปฏิบัติราชการ งานวิ

ิ าชการน ัย 6.กลุ่มงานทะเบียน
และการวิจัยเพื่อพัฒนา และรายงาน 7.กลุ่มงานอาคารสถานที่
5.กลุ่ม่มงานการระดม
5.กลุ งานการระดม 4.กลุ
3.กลุ่ม่มงานการพั
3.กลุ งานวินนัยฒัยนา
่มงานวิ
คุณภาพการจัดการศึกษา 5.กลุ ่มงานการระดม และสภาพแวดล้อม
ทรั พ ยากรและการลงทุ
ยากรและการ น
ทรัพพยากรและการ บุ4.คลากร
4. กลุ
กลุ่ม่มงานการ งานการ
4.กลุ่มงานการวัดและ ทรั 8.กลุ่มงานการวางแผนการ
เพื่อการศึ
ลงทุ เพื่อ่อกการศึ
ษา กษา พัพัฒฒนาบุ นาบุคคลากร
ประเมินผลการเรียนรู้ ลงทุ นนเพื การศึ กษา ลากร บริหารงานการศึกษา
5.กลุ่มงานส่งเสริม 9.กลุ่มงานการจัดระบบการ
ควบคุมภายในหน่วยงาน
สนับสนุนวิชาการ 10.กลุ่มงานการระดมทรัพยากร
เพื่อการศึกษา

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 22

แผนภาพที่ 10 โครงสร้างการบริหารงานวิชาการ โครงการห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษโดยใช้คณิตศาสตร์และ


วิทยาศาสตร์เป็นฐาน (Intensive English Program)

สมาคมผู้ปกครองและครูฯ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา

สมาคมศิษย์เก่า
เครือข่ายผู้ปกครอง
ผู้อานวยการ
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ

รองผู้อานวยการ
กลุ่มบริหารวิชาการ

หัวหน้างานโครงการห้องเรียนพิเศษ
รองหัวหน้างานโครงการ Intensive English Program
เลขานุการงานโครงการ

กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุม่ บริหารทั่วไป


1.กลุ 1.กลุ่มงานธุรการ
1.กลุ่มงานการวางแผน 1.กลุ่ม่ม่มงานนโยบายและ
1.กลุ
1.กลุ งานนโยบาย
งานนโยบาย 1.กลุ่ม่มงานการวางแผน
1.กลุ ่มงานการ
งานการ 2.กลุ่มงาน
ด้านวิชาการ แผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ
และแผนงบประมาณ วางแผนอั
ตรากาลังตการสรรหา
อัวางแผนอั ตรากรากาลัาลังง การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
2.กลุ่มงานพัฒนา 2.กลุ่ม่ม่มงานการเงิ
2.กลุ
2.กลุ งานการเงินนและ
งานการเงิ นและ
และ การสรรหาและการ
และการบรรจุ
การสรรหาและการ แต่งตั้ง
3.กลุ่มงานบริการและ
หลักสูตร บับับัญญชีชี บรรจุ
2.กลุ
บรรจุ่มแงานการ แต่ต่งตังตั้ง้ง สวัสดิการนักเรียน
และกระบวนการเรียนรู้ 3.กลุ่ม่ม่มงานบริ
3.กลุ
3.กลุ งานบริหหารพั
งานบริ สดุสสดุดุ
หารพั
ารพั 2.กลุ
เสริ มสร้
-.กลุ ่ม่มงานการาง
งานการ 4.กลุ่มงานเทคโนโลยี
3.กลุ่มงานพัฒนาระบบ และสินนนทรั
และสิ
และสิ ทรั
ทรัพพพย์ย์ย์ เสริ
เสริมมสร้
ประสิ ทสร้ ธิาภงาาพในการ
ง 5.กลุ่มงานการ
ประกันคุณภาพภายใน 4.กลุ่ม่ม่มงานตรวจสอบและ
4.กลุ
4.กลุ งานตรวจสอบ
งานตรวจสอบ ประสิ
ปฏิ บัตทริ ทาชการ
ประสิ ธิธิภภาพในการ
าพในการ ประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
รายงาน
และรายงาน
และรายงาน ปฏิ
3.กลุบ ม
่ ต

ปฏิบัติราชการ ร

งานวิ าชการ น ัย 6.กลุ่มงานทะเบียน
และการวิจัยเพื่อพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา
5.กลุ่ม่มงานการระดม
5.กลุ
5.กลุ งานการระดม
่มงานการระดม 3.กลุ
3.กลุ่ม่มงานการพั
4.กลุ ่มงานวิ
งานวินนัยฒัยนา
7.กลุ่มงานอาคารสถานที่
และสภาพแวดล้อม
4.กลุ่มงานการวัดและ
ทรั พ ยากรและการลงทุ
ยากรและการ น
ทรัพพยากรและการ
ทรั 4. กลุกลุ่ม่มงานการ
บุ4.คลากร งานการ 8.กลุ่มงานการวางแผนการ
ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อการศึ
ลงทุ
ลงทุ นนเพืเพื่อ่อกการศึ
ษา กษา
การศึ กษา พัพัฒฒนาบุ นาบุคคลากร ลากร บริหารงานการศึกษา
5.กลุ่มงานส่งเสริม 9.กลุ่มงานการจัดระบบการ
ควบคุมภายในหน่วยงาน
สนับสนุนวิชาการ
10.กลุ่มงานการระดม
ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา

คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน คุณภาพสถานศึกษา


แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 23

แผนภาพที่ 11 โครงสร้างการบริหารงานวิชาการสายชั้น

คณะกรรมการสถานศึกษา
เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
ขั้นพื้นฐาน

ผู้อานวยการโรงเรียน

รองผู้อานวยการ
ที่ได้รับมอบหมาย

หัวหน้าสายชั้น

กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณและแผน กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุม่ บริหารทั่วไป

หัวหน้างานวิชาการ
หัวหน้างานงบประมาณ หัวหน้างานบุคคลากร หัวหน้างานบริหารทั่วไป
1. กลุ่มงานการ และแผนงาน 1. กลุ่มงานการวางแผน 1.กลุ่มงานธุรการ
2.กลุ่มงาน
วางแผนด้านวิชาการ 1. กลุ่มงานนโยบายและ อัตรากาลัง การสรรหา การส่งเสริมงานกิจการ
2. กลุ่มงานพัฒนา แผนงบประมาณ และการบรรจุแต่งตั้ง นักเรียน
หลักสูตร 2. กลุ่มงานการเงินและ 2. กลุ่มงานการ 3.กลุ่มงานบริการและ
เสริมสร้างประสิทธิภาพ สวัสดิการนักเรียน
และกระบวนการ บัญชี
4.กลุ่มงานเทคโนโลยี
เรียนรู้ 3. กลุ่มงานบริหารพัสดุ ในการปฏิบัตริ าชการ 5.กลุ่มงานการ
และสินทรัพย์ 3.กลุ่มงานวินัย ประชาสัมพันธ์งาน
3. กลุ่มงานพัฒนา
4. กลุ่มงานตรวจสอบ 4.กลุ่มงานการพัฒนา การศึกษา
ระบบประกันคุณภาพ และรายงาน 6.กลุ่มงานทะเบียน
บุคลากร
ภายในและการวิจัย 5. กลุ่มงานการระดม 7.กลุ่มงานอาคารสถานที่
และสภาพแวดล้อม
เพื่อพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรและการ 8.กลุ่มงานการวางแผนการ
การจัดการศึกษา ลงทุนเพื่อการศึกษา บริหารงานการศึกษา
9.กลุ่มงานการจัดระบบการ
4.กลุ่มงานการวัดและ
ควบคุมภายในหน่วยงาน
ประเมินผลการเรียนรู้ 10.กลุ่มงานการระดม
5.กลุ่มงานส่งเสริม ทรัพยากรเพื่อการศึกษา

สนับสนุนวิชาการ
นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษามีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 24
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตรปกติ)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน 1,040 26 1,040 26 1,040 26 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ 80 2 80 2 80 2 80 2 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา พลศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ (ดนตรี, นาฏศิลป์, ทัศนศิลป์) 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ 40 1 40 1 40 1 80 2 80 2 80 2
ภาษาต่างประเทศ 160 4 160 4 160 4 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 120 3 120 3 160 4 120 3 120 3
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด 30 30 30 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,280 32 1,280 32 1,280 32 1,240 31 1,280 32 1,280 32
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 7 คาบ สัปดาห์ละ 35 คาบ ปีละ 1,280 คาบเท่ากับ 1,067 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการใน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 25
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตร EP)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน 1,040 26 1,040 26 1,040 26 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ 80 2 80 2 80 2 80 2 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา พลศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ 40 1 40 1 40 1 80 2 80 2 80 2
ภาษาต่างประเทศ 160 4 160 4 160 4 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 120 3 120 3 160 4 120 3 120 3
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด 30 30 30 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,280 32 1,280 32 1,280 32 1,240 31 1,280 32 1,280 32
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 7 คาบ สัปดาห์ละ 35 คาบ ปีละ 1,280 คาบเท่ากับ 1,067 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการใน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 26
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตร AP)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน - - - - - - 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย - - - - - - 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ - - - - - - 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ - - - - - - 80 2 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา - - - - - - 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ - - - - - - 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา พลศึกษา - - - - - - 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ - - - - - - 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ - - - - - - 80 2 80 1 80 2
ภาษาต่างประเทศ - - - - - - 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม - - - - - - 360 9 320 8 320 8
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร - - - - - - 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร - - - - - - 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ - - - - - - 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต - - - - - - 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
คณิตศาสตร์เข้ม (ครูไทย) - - - - - - 120 3 120 3 120 3
วิทยาศาสตร์เข้ม (ครูไทย) - - - - - - 80 2 80 2 80 2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - - - - - - 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว - - - - - - 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน - - - - - -
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด - - - - - - 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม - - - - - - 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ - - - - - - 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น - - - - - - 1,440 36 1,480 37 1,480 37
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 8 คาบ สัปดาห์ละ 40 คาบ ปีละ 1,480 คาบเท่ากับ 1,233 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 27
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตร AEP)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน - - - - 1,040 26 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย - - - - 200 5 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ - - - - 200 5 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ - - - - 80 2 80 4 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา - - - - 80 2 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ - - - - 40 1 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา พลศึกษา - - - - 80 2 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ - - - - 120 3 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ - - - - 40 1 8 2 80 2 80 2
ภาษาต่างประเทศ - - - - 160 4 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม - - - - 320 8 360 9 320 8 320 8
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร - - - - 40 1 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร - - - - 40 1 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ - - - - 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต - - - - 40 1 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
คณิตศาสตร์เข้ม (ครูไทย) - - - - 120 3 120 3 120 3 120 3
วิทยาศาสตร์เข้ม (ครูไทย) - - - - 80 2 80 2 80 2 80 2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - - - - 120 3 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว - - - - 40 1 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน - - - -
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด - - - - 30 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม - - - - 40 2 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ - - - - 10 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น - - - - 1,480 37 1,440 36 1,480 37 1,480 37
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 8 คาบ สัปดาห์ละ 40 คาบ ปีละ 1,480 คาบเท่ากับ 1,233 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 28
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตร IEP)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน 1,040 26 1,040 26 1,040 26 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ 80 2 80 2 80 2 80 2 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา พลศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ 40 1 40 1 40 1 80 2 80 2 80 2
ภาษาต่างประเทศ 160 4 160 4 160 4 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม 320 8 320 8 320 8 360 9 320 8 320 8
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
คณิตศาสตร์ (ครูไทย) 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
วิทยาศาสตร์ (ครูไทย) 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด 30 30 30 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,480 37 1,480 37 1,480 37 1,440 36 1,480 37 1,480 37
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 8 คาบ สัปดาห์ละ 40 คาบ ปีละ 1,480 คาบเท่ากับ 1,233 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 29
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ พุทธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(หลักสูตร Chinese Program)
เวลาเรียน(คาบ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/ คาบ/ปี คาบ/
สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์
รายวิชาพื้นฐาน 1,040 26 1,040 26 1,040 26 960 24 1,040 26 1,040 26
ภาษาไทย 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
คณิตศาสตร์ (ครูจีน 2/ครูไทย 3) 200 5 200 5 200 5 160 4 160 4 160 4
วิทยาศาสตร์ (ครูจีน 1/ครูไทย 2) 80 2 80 2 80 2 120 3 160 4 160 4
-เทคโนโลยี 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สังคมศึกษา 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ประวัติศาสตร์ 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
สุขศึกษา (ครูไทย) พลศึกษา (ครูจนี ) 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2 80 2
ศิลปะ (ทัศนศิลป์ ครูจนี ) นาฏศิลป์ ดนตรี 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
การงานอาชีพฯ (ครูจีน) 40 1 40 1 40 1 80 2 80 2 80 2
ภาษาต่างประเทศ 160 4 160 4 160 4 120 3 120 3 120 3
รายวิชาเพิ่มเติม 320 8 320 8 320 8 360 9 320 8 320 8
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (ครูจีน) 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
การค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ 40 1
(Knowledge inquiry)
ว่ายน้าเพื่อชีวิต 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
หน้าที่พลเมือง - - - - - - - - - - - -
หลักภาษาจีน (ครูจีน 5) 200 5 200 5 200 5 200 5 200 5 200 5
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3 120 3
- กิจกรรมแนะแนว 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1
- กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ – ยุวกาชาด 30 30 30 30 30 30
- กิจกรรมชุมนุม 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2 40 2
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,480 37 1,480 37 1,480 37 1,480 37 1,480 37 1,480 37
หมายเหตุ
1. เวลาเรียน เรียนวันละ 8 คาบ สัปดาห์ละ 40 คาบ ปีละ 1,480 คาบเท่ากับ 1,233 ชั่วโมง
2. สาระที่เป็นมาตรฐานสากล 2.1 ระดับชั้น ป.1-3, 5-6 บูรณาการสาระ IS1- IS2 ในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระ โดยแยกเป็นหน่วยการเรียนรู้เฉพาะที่ชัดเจน
2.2 ระดับชั้น ป.4 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ IS1-IS2)
2.3 ให้นาความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าจาก IS1- IS2 ในหน่วยการเรียนรู้เฉพาะไปดาเนินการในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 30
ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา

ผลงานโรงเรียนในรอบปีที่ผ่านมา
ผลงานและรางวัลที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับ ประจาปีการศึกษา 2563

ตารางที่ 16 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทาน


เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพาย
ที่ ชื่อ - สกุล ผลงาน รางวัล หมายเหตุ
1 นายสุรชาติ ทอนศรี ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทาน สายสะพาย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประถมาภรณ์ช้างเผือก
ชั้นสายสะพาย ประถมาภรณ์ (ป.ช.)
ช้างเผือก (ป.ช.)
2 นางวีระยา ศิริรัชฎานันท์ ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทาน สายสะพาย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย
ชั้นสายสะพาย (ป.ม.)
ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)

ตารางที่ 17 ข้าราชการครู ได้รับรางวัล “ครูดีในดวงใจ” ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2564


ที่ ชื่อ - สกุล ผลงาน รางวัล หมายเหตุ
1 นางสสิยาภรณ์ เพลียซ้าย รางวัล “ครูดีในดวงใจ” ครูดีในดวงใจ
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2564

ตารางที่ 18 ข้าราชการครู ได้รับรางวัลเกียรติยศ SSK1 AWARDS ประเภทครูผู้สอน เนื่องในวันครู ครั้งที่ 65


พุทธศักราช 2564 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1
ที่ ชื่อ - สกุล ผลงาน รางวัล หมายเหตุ
1 นางสาวอรุณี ส่องศรี รางวัลครูผู้สอน กลุ่มสาระการ ครูดีเด่น SSK1
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ดีเด่น เนื่องในวัน AWARDS
ครู ประจาปี 2564
2 จ่าอากาศโทจีระศักดิ์ นามวงษ์ รางวัลครูผู้สอน กลุ่มสาระการ ครูดีเด่น SSK1
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ AWARDS
วัฒนธรรม ดีเด่น เนื่องในวันครู
ประจาปี 2564
3 นายครรชิต บัวภา รางวัลครูผู้สอน กลุ่มสาระการ ครูดีเด่น SSK1
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 31
ที่ ชื่อ - สกุล ผลงาน รางวัล หมายเหตุ
เรียนรู้ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ดีเด่น AWARDS
เนื่องในวันครู ประจาปี 2564
4 นางสิริรัตน์ ฝักบัว รางวัลครูผู้สอนกิจกรรมพัฒนา ครูดีเด่น SSK1
ผู้เรียน ดีเด่น เนื่องในวันครู AWARDS
ประจาปี 2564
5 นางอุทัย จันทะรัตน์ ครูผู้สอนปฐมวัย ดีเด่น ครูดีเด่น SSK1
AWARDS

ตารางที่ 19 ข้าราชการครู ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ ประจาปี 2564 กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพศึกษา


แบบบูรณาการเมืองสวนสมเด็จ
ที่ ชื่อ - สกุล ผลงาน รางวัล หมายเหตุ
1 นางสาวอารีรัตน์ ผาลี ข้าราชการครูและบุคลากร ครูยกย่องเชิดชูเกียรติ กลุ่มเมือง
ทางการศึกษาเพื่อยกย่องเชิดชู สวนสมเด็จ
เกียรติ ประจาปี 2564 ครูผู้สอน
สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ระดับประถมศึกษาดีเด่น
2 นายเฉลียว สายโงน ข้าราชการครูและบุคลากร ครูยกย่องเชิดชูเกียรติ กลุ่มเมือง
ทางการศึกษาเพื่อยกย่องเชิดชู สวนสมเด็จ
เกียรติ ประจาปี 2564 ครูผู้สอน
สาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพล
ศึกษา ระดับประถมศึกษาดีเด่น
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 32
ผลงานด้านนักเรียน ประจาปีการศึกษา 2563
ตารางที่ 20 ผลงานนักเรียน
ที่ ชื่อ – สกุล ชั้น รางวัล รายการ หน่วยงาน
1 เด็กหญิงจารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.6/12 เหรียญทอง การแข่งขัน สมาชิกภาพ
2 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ป.6/12 เหรียญทอง คณิตศาสตร์นานาชาติ สหภาพ IMC
3 เด็กหญิงวารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.3/1 เหรียญเงิน รายการ 2020 WMI - ประจาประเทศ
4 เด็กหญิงอรณิชชา เนตรน้อย ป.3/11 เหรียญเงิน World Mathematics ไทย
5 เด็กชายศุภวิชญ์ ยุกต์วัฒนพงศ์ ป.5/12 เหรียญเงิน Invitational
6 เด็กชายนันทกานต์ ศรีพานิช ป.6/11 เหรียญเงิน
7 เด็กชายภูมินันท์ บัวสิริพงษ์ ป.6/12 เหรียญเงิน
8 เด็กหญิงจิณัฐตา ศรีฐาน ป.4/12 เหรียญทองแดง
9 เด็กหญิงจิรภิญญา นาคกระโทก ป.4/12 เหรียญทองแดง
10 เด็กชายปัณญ์ นิชานนท์ ป.4/11 เหรียญทองแดง
11 เด็กชายธีธัช จอมเกล้า ป.4/12 เหรียญทองแดง
12 เด็กหญิงฉันทพิชญ์ วัฒนกุญชร ป.5/11 เหรียญทองแดง
13 เด็กชายชรัชวิช เลขาวิวชั กุล ป.5/12 เหรียญทองแดง
14 เด็กหญิงขวัญชนก สรรณ์ไตรภพ ป.5/11 เหรียญทองแดง
15 เด็กหญิงรัฐภรณ์ ชิณวงษ์ ป.5/12 เหรียญทองแดง
16 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ป.6/11 เหรียญทองแดง
17 เด็กชายวีรศรุต นวลศิริ ป.6/12 เหรียญทองแดง
18 เด็กหญิงจิราพร สุขโพธิ์ ป.3/11 ชมเชย
19 เด็กหญิงศิรัชญากานต์ เลากิจวิรุฬห์ ป.3/11 ชมเชย
20 เด็กชายกรณัฐ ปิดพยันต์ ป.4/11 ชมเชย
21 เด็กหญิงแพรวประภัสสร ศรีนาม ป.4/11 ชมเชย
22 เด็กหญิงสุธีมา ล้อมพรม ป.5/11 ชมเชย
23 เด็กหญิงกฤตพร เสมอพิทักษ์ ป.6/11 ชมเชย
24 เด็กหญิงรัฐภรณ์ ชิณวงษ์ ป.5/12 เหรียญเงิน การแข่งขัน สมาชิกภาพ
25 เด็กชายศุภวิชญ์ ยุกต์วัฒนพงศ์ ป.5/12 เหรียญเงิน คณิตศาสตร์นานาชาติ สหภาพ IMC
26 เด็กชายปัณณวิชญ์ กองสะดี ป.6/12 เหรียญเงิน รายการ 2020 ประจาประเทศ
27 เด็กชายคณิศร ศรวิชัย ป.6/12 เหรียญเงิน WMTC World ไทย
28 เด็กชายวีรศรุต นวลศิริ ป.6/12 เหรียญเงิน Mathematics Team
29 เด็กหญิงขวัญชนก สรรณ์ไตรภพ ป.5/11 เหรียญทองแดง Championship
30 เด็กชายนันทกานต์ ศรีพานิช ป.6/11 เหรียญทองแดง
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 33
ที่ ชื่อ – สกุล ชั้น รางวัล รายการ หน่วยงาน
31 เด็กหญิงณัฐชานันท์ พวงจันทร์ ป.6/12 เหรียญทองแดง
32 เด็กชายธัชกร ธรณ์ธันยทรัพย์ ป.2/3 ชมเชย TEDET ศูนย์ภูมิภาค
33 เด็กชายวรัญญู ยุกต์วัฒนพงศ์ ป.3/4 ชมเชย วิชาคณิตศาสตร์ ว่าด้วย
34 เด็กชายเกื้อ เรืองเกียรติกุล ป.4/10 ชมเชย สะเต็มศึกษา
35 เด็กหญิงข้าวขวัญ ศรีเสริม ป.5/12 ชมเชย
36 เด็กหญิงศิรัชญากานต์ เลากิจวิรุฬห์ ป.3/11 ชมเชย TEDET ศูนย์ภูมิภาค
37 เด็กชายเกื้อ เรืองเกียรติกุล ป.4/10 ชมเชย วิชาวิทยาศาสตร์ ว่าด้วย
38 เด็กหญิงณัฐธยาน์ นุกูลกิจ ป.5/12 ชมเชย สะเต็มศึกษา
39 เด็กชายปัณณวิชญ์ กองสะดี ป.6/12 ชมเชย
40 เด็กชายวรัญญู ยุกต์วัฒนพงศ์ ป.3/4 เหรียญทอง การแข่งขันการคิดและ มหาวิทยาลัย
41 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ป.6/12 เหรียญเงิน แก้ไขปัญหา ราชภัฏพระนคร
42 เด็กหญิงจารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.6/12 เหรียญเงิน คณิตศาสตร์ครั้งที่ 21
43 เด็กชายศุภเดช เลขาวิวัชกุล ป.6/9 เหรียญทองแดง
44 เด็กหญิงปิยะดา ป้องกัน ป.2/10 เหรียญทองแดง
45 เด็กชายธัชกร ธรณ์นยทรัพย์ ป.2/3 เหรียญทองแดง
46 เด็กหญิงวารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.3/1 ชมเชย
47 เด็กหญิงธัญญ์รวี ศิรามังคลานนท์ ป.4/11 ชมเชย
48 เด็กชายรชต สัมพันธ์ประเสริฐ ป.4/12 ชมเชย
49 เด็กชายธีธัช จอมเกล้า ป.4/12 ชมเชย
50 เด็กชายเกื้อ เรืองเกียรติกุล ป.4/10 ชมเชย
51 เด็กชายจิตติพัฒน์ แสงจันทร์ ป.4/12 ชมเชย
52 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ป.6/11 ชมเชย
53 เด็กหญิงเขมมิสรา ศรีพรหม ป.6/11 ชมเชย
54 เด็กชายเกื้อ เรืองเกียรติกุล ป.4/10 ชมเชย การแข่งขัน MATH – มหาวิทยาลัย
55 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ป.6/11 ชมเชย ENG Contestครั้งที่ 6 ราชภัฏพระนคร
56 เด็กชายวรัญญู ยุกต์วัฒนพงศ์ ป.3/4 เหรียญทอง โครงการ ASMO THAI ASMO
57 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ป.6/11 เหรียญเงิน 2020 วิชาคณิตศาสตร์ competition
58 เด็กหญิงจารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.6/12 เหรียญเงิน
59 เด็กหญิงวารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.3/1 เหรียญทองแดง
60 เด็กชายเกื้อ เรืองเกียรติกุล ป.4/10 เหรียญทองแดง
61 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ป.6/12 เหรียญทองแดง
62 เด็กชายภูมินันท์ บัวสิริพงษ์ ป.6/12 เหรียญทองแดง
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 34
ที่ ชื่อ – สกุล ชั้น รางวัล รายการ หน่วยงาน
63 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ป.6/12 เหรียญเงิน โครงการ ASMO THAI
64 เด็กชายสถาปนา วงค์ละคร ป.4/12 เหรียญทองแดง 2020วิชาวิทยาศาสตร์
65 เด็กชายศุภเดช เลขาวิวัชกุล ป.6/9 รางวัลที่ 3 การสอบ MATH โรงเรียน
66 เด็กหญิงจารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ป.6/12 ชมเชย CONTEST 2020 เบญจะมะ
67 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ป.6/12 ชมเชย มหาราช
68 เด็กชายศุภเดช เลขาวิวัชกุล ป.6/9 รองชนะเลิศ กิจกรรมเวที มหาวิทยาลัย
อันดับ 2 นักวิทยาศาสตร์ รามคาแหง
69 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ป.6/11 รองชนะเลิศ ระดับประถมศึกษา
อันดับ 2 ครั้งที่ 16
70 เด็กชายจีรวัฒน์ ภูดีปิยสวัสดิ์ ป.5/11 เด็กและเยาวชนดีเด่น กระทรวง
เด็กและเยาวชนที่นา ศึกษาธิการ
ชื่อเสียงมาสู่
ประเทศชาติ

ตารางที่ 21 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NationalTest : NT)


คะแนนเต็ม 100 คะแนน
ลาดับ ชื่อ–สกุล ชั้น หมายเหตุ
ด้านความรู้ความสามารถด้านคณิตศาสตร์
1 เด็กหญิงปรียนันท์ จันทร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
2 เด็กชายภูผา ลาเต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
3 เด็กหญิงปัณณพร ทัดเทียม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
4 เด็กหญิงพุทธิวรรณ บารุง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
5 เด็กชายจิราวัฒน์ ปิยะรุ่งบัณฑิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
6 เด็กหญิงนภชนก อรรคบุตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1
7 เด็กหญิงพิชญธิดา ศรีสุธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2
8 เด็กชายวรัญญู ยุกต์วัฒนพงศ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/4
9 เด็กหญิงปพิชญา ทองสังข์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/5
10 เด็กหญิงศิรัชญากานต์ เลากิจวิรุฬห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/11
11 เด็กหญิงอรณิชา เนตรน้อย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/11
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 35
ตารางที่ 22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเต็ม 100 คะแนน
ลาดับ ชื่อ–สกุล ชั้น หมายเหตุ
วิชาคณิตศาสตร์
1 เด็กชายศุภเดช เลขาวิวัชกุล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
2 เด็กชายปุญญพัฒน์ พรหมประภัศศร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
3 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
4 เด็กหญิงกฤตพร เสมอพิทักษ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
5 เด็กชายนันทกานต์ ศรีพานิช ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
6 เด็กชายวีรศรุต นวลศิริ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
7 เด็กญิงทิตยาภรณ์ ฮองต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
8 เด็กหญิงจารุรินทร์ สัจจะวรรณคุณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
9 เด็กชายปัญกร จินตนะกุล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
10 เด็กหญิงภรภัค สินแสงทอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
11 เด็กชายภูมินันทน์ บัวสิริพงษ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
12 เด็กหญิงณัฐชานันทน์ พวงจันทร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
วิชาภาษาอังกฤษ
1 เด็กชายภามรินทร์ เขียวอ่อน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/5
2 เด็กหญิงณปภัช ดวนใหญ่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/5
3 เด็กหญิงกรกมล ชาญประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
4 เด็กหญิงภคมน นาควารินทร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
5 เด็กหญิงณฐมน ทองเครือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
6 เด็กชายธีธัช สันธนาคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
7 เด็กชายกันตภัทร รัศมี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
8 เด็กชายชยุต แสงจันทร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/9
9 เด็กหญิงนีรนารา บุญคล้าย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
10 เด็กหญิงปัณณ์กวิน บุรัสการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
11 เด็กหญิงกุลปรียา ราศรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
12 เด็กชายขจรศักดิ์ ชุ่มชื่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
13 เด็กชายปุญญพัฒน์ พรหมประภัศศร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
14 เด็กหญิงณัฏฐ์กชพร ฉัตรคุปต์ชนรดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
15 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
16 เด็กชายอริย์ธัช ชิณพันธ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
17 เด็กหญิงเพ็ญพิชชา เถระพันธ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 36
ลาดับ ชื่อ–สกุล ชั้น หมายเหตุ
18 เด็กชายภูวเดช เกิดสิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/11
19 เด็กชายวีรศรุต นวลศิริ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/12
วิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์
1 เด็กชายปุญญพัฒน์ พรหมประภัศศร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/10
2 เด็กชายพชรภณ พริ้งเพราะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/111
3 เด็กชายวีรศรุต นวลศิริ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/112

ผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ข้อมูลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และ เขียน และผลการ
ประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ปีการศึกษา 2563
ตารางที่ 23 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จานวนนักเรียน
ระดับชั้น (คุณลักษณะอันพึงประสงค์)
ทั้งหมด
ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 364 357 7 - -
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 454 439 15 - -
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 465 440 25 - -
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 459 438 21 - -
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 457 447 10 - -
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 475 447 28 - -
รวม 2,674 2,568 106 - -
เฉลี่ยร้อยละ 100 96.04 3.96 - -

2563
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 37
ตารางที่ 24 ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน
จานวน นักเรียน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ระดับชั้น นักเรียน บกพร่องฯ
ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ปรับปรุง
ทั้งหมด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 364 0 324 27 9 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 454 38 392 34 14 3
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 465 11 431 17 12 2
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 459 15 405 35 1 1
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 457 14 388 51 9 0
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 475 4 444 25 1 0
รวม 2,674 82 2,384 189 46 10
เฉลี่ยร้อยละ 100 3.07 90.68 7.19 1.75 0.38

2563
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 38
ตารางที่ 25 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ปีการศึกษา 2563
จานวนนักเรียน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ระดับชั้น
ทั้งหมด ผ่าน ไม่ผ่าน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 364 364 −
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 454 454 −
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 465 465 −
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 459 459 −
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 457 457 −
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 475 475 −
รวม 2,674 2,674 −
เฉลี่ยร้อยละ 100 100 −

5 2563
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 39
2. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2563
ตารางที่ 26 ผลการประเมิน RT
ด้าน การอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง รวม 2 สมรรถนะ
ระดับโรงเรียน 92.89 79.08 85.98
ระดับเขตพื้นที่ 75.90 72.92 74.42
ระดับประเทศ 74.14 71.86 73.02

2563

2.1 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ


ร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2563
ตารางที่ 27 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT)
สมรรถนะ ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา2563 ผลต่างระหว่างปีการศึกษา
การอ่านออกเสียง 74.32 92.89 + 18.57
การอ่านรู้เรื่อง 71.20 79.08 +7.88
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 40
3. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NationalTest : NT)
ปีการศึกษา 2563
ตารางที่ 28 ผลการประเมิน NT
ส่วน จานวนร้อยละของนักเรียน
จานวน เฉลี่ย
สาระวิชา เบี่ยงเบน
คน ร้อยละ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
มาตรฐาน
ด้านภาษาไทย 467 61.45 17.30 42.19 35.16 17.14 5.49
ด้านคณิตศาสตร์ 467 59.61 23.99 41.75 25.49 22.63 10.10
รวมเฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน 60.53 38.35 41.53 28.57 25.05 4.83

คะแนนเฉลี่ยร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐาน
ของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2563 จาแนกตามระดับคุณภาพ

ด้าน ด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน


ระดับโรงเรียน 59.61 61.45 60.53
ระดับเขตพื้นที่ 44.91 51.32 48.12
ระดับประเทศ 40.47 47.46 43.97
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 41
คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ตารางที่ 29 ผลการประเมิน NT ปีการศึกษา 2562
ส่วน จานวนร้อยละของนักเรียน
จานวน เฉลี่ย
สาระวิชา เบี่ยงเบน
คน ร้อยละ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
มาตรฐาน
ด้านภาษาไทย 427 59.64 19.59 35.12 32.78 21.07 11.00
ด้านคณิตศาสตร์ 427 64.62 22.18 47.07 25.52 22.24 5.15
รวมเฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน 62.13 39.10 39.57 32.55 22.95 4.91

2562

หมายเหตุ จานวนนักเรียนที่เข้าสอบในแต่ละด้านอาจมีจานวนไม่เท่ากับนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด และอาจไม่


เท่ากันทั้ง 2 ด้าน เนื่องจากมีผู้เข้าสอบบางคนเข้าสองพียงวิชาใดวิชาหนึ่ง
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 42
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (NT) ปีการศึกษา 2562 – 2563
ตารางที่ 30 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (NT)
ปีการศึกษา ปีการศึกษา ผลต่างระหว่างปี
ความสามารถ
2562 2563 การศึกษา
ด้านภาษาไทย 59.64 61.45 + 1.81
ด้านคณิตศาสตร์ 64.62 59.61 - 5.01
รวมความสามารถเฉลี่ย
62.13 60.53 -1.60
ทั้ง ๒ ด้าน

เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2563
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 43
4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์


ระดับประเทศ 56.20 43.55 29.99 38.78
ระดับสังกัด สพฐ. 54.96 38.87 28.59 37.64
ระดับเขตพื้นที่ 54.32 37.98 29.09 37.42
ระดับโรงเรียน 68.35 61.69 44.40 48.84
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 44
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 – 2563
ตารางที่ 31 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

คะแนนรวม
ปีการศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
เฉลี่ย
2562 63.00 49.35 49.40 49.52 52.75
2563 68.35 61.69 44.40 48.84 55.82
ผลการพัฒนา + 5.35 + 12.34 -5.00 +0.41 + 3.07
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 45
ค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนบท้ายประกาศโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
เรื่อง การกาหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

เป้าหมายระดับคุณภาพ
มาตรฐาน ประเด็นการประเมิน
(ร้อยละ /ปีการศึกษา )
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน ดีเลิศ
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด ดีเลิศ
คานวณ ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ดีเลิศ
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดีเลิศ
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ
6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ยอดเยี่ยม
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม
2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม
3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ยอดเยี่ยม
2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ยอดเยี่ยม
สถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม
อย่างมีคุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ ยอดเยี่ยม
การจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ยอดเยี่ยม
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนาไป ยอดเยี่ยม
แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ 46
เป้าหมายระดับคุณภาพ
มาตรฐาน ประเด็นการประเมิน
(ร้อยละ /ปีการศึกษา )
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนา ยอดเยี่ยม
ผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ยอดเยี่ยม
ปรับปรุง การจัดการเรียนรู้

You might also like