You are on page 1of 32

M 2/1 No 34

Apiwit Thongtae
.

Unit XIV

Respiratory System
Breathing and Cellular respiration
การหายใจ (Breathing) คือ เป็นกลไกการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยการนาแก๊สออกซิเจน
จากอากาศเข้าไปใช้ในการหายใจระดับเซลล์ (Cellular respiration) และปล่อยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดการจากการหายใจระดับเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อม
Cellular respiration : C6H12O6 + 6O2 → Energy + 6CO2 + 6H2O

( เ
C
การเผาไห
O O r O O H O H

Sugar Oxygen ATP Carbondioxide Water


ใน อากาศ
O2 20 f.
แลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างหลอด
CO2 0.03 d. เลือดฝอยและเซลล์ร่างกาย



แลกเปลี่ยนแก๊ส
ระหว่างถุงลมและ ลาเลียงผ่านระบบ

→ หมุนเวียนเลือด
หลอดเลือดฝอย
ห๋นำ
มี
ม้
Air composition

สัดส่วนโดย ความดันย่อย
• อากาศที่เราหายใจเข้าไปประกอบไปด้วย
แก๊ส
ปริมาตร (%) (mmHg) • แก๊สต่างๆ หลายชนิด เช่น ไนโตรเจน ,
ออกซิเจน , คาร์บอนไดออกไซด์ , แก๊ส
Nitrogen 78 592.8
59 2. 8
เฉื่อย เช่น อาร์กอน , และ ไอนา
• มีฝุ่นละออง หรือสสารที่เป็นอนุภาค
Oxygen 20 152.0
1 52
ขนาดเล็ก
• สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ลอยฟุ้งในอากาศ เช่น
Carbondioxide 0.03 0.2
D. 228
ไวรัส , แบคทีเรีย และ สปอร์ของเชือรา
Argon and
orther
0.97 7.4
7. 372

Water vapor 1 7.6


7. 60

• ความดันย่อย (Partial pressure) คือ เป็นความดันของแก๊สชนิดหนึ่งภายในปริมาตรที่กาหนด


คานวณได้จาก ผลคูณของความดันรวมของอากาศ (1 atm) และสัดส่วนของแก๊สนัน เช่น ความดัน
ย่อยของ O2 คือ P = 760 X 20 =Hg152 ง mmHgความ น อย
760mm =

100
×
O2
ย่
ดั
Air composition
• อากาศที่เราหายใจเข้าไปประกอบไปด้วย
แก๊ส
สัดส่วนโดย ความดันย่อย
ปริมาตร (%) (mmHg)
• แก๊สต่างๆ หลายชนิด เช่น ไนโตรเจน ,
ออกซิเจน , คาร์บอนไดออกไซด์ , แก๊ส
Nitrogen 78 592.8 เฉื่อย เช่น อาร์กอน , และ ไอนา
• มีฝุ่นละออง หรือสสารที่เป็นอนุภาค
Oxygen 20 152.0 ขนาดเล็ก
• สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ลอยฟุ้งในอากาศ เช่น
Carbondioxide 0.03 0.2 ไวรัส , แบคทีเรีย และ สปอร์ของเชือรา
Argon and
orther
0.97 7.4

Water vapor 1 7.6


• ความดันย่อย (Partial pressure) คือ เป็นความดันของแก๊สชนิดหนึ่งภายในปริมาตรที่กาหนด
คานวณได้จาก ผลคูณของความดันรวมของอากาศ (1 atm) และสัดส่วนของแก๊สนัน เช่น ความดัน
ย่อยของ O2 คือ 20
PO2 = 760 X 100 = 152 mmHg
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)
• ใช้ปอด (Lung) เป็นอวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีระบบหมุนเวียนเลือดช่วยในการ
ลาเลียง
• อากาศจากภายนอกเข้าร่างกายทางรูจมูก (Nostril) แล้วไปอวัยวะต่างๆ ตามลาดับดังนี
• โพรงจมูก (Nasal cavity) มีเยื่อบุผิวที่มีซีเลีย (Cilia) และ เมือก สาหรับดักจับสิ่ง
แปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ปอด
• คอหอย (Pharynx)
• กล่อหงเสี ยง (Larynx) ภายในมีสายเสียง (Vocal cord) สาหรับการออกเสียง
• ท่อลม (Trachea) มีเยื่อบุผิวที่มี Cilia และเมือก สาหรับดักจับสิ่งแปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ถุง
• อ หลอด ลม

ลม ท่อลมจะแตกแขนงออกเป็นหลอดลมเข้าปอดทังสองข้าง
• หลอดลม (Bronchi) ต่อจากขัวปอดมี 2 ข้าง และจะแตกแขนงออกเป็นหลอดลมฝอย
• หลอดลมฝอย (Bronchiole) มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็กๆ ผนังบาง ปลายสุดเป็นถุงขนาด
เล็กจานวนมาก เรียก ถุงลม
• ถุงลมในปอด (Alveolus) เป็นถุงขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.25 mm ในปอด
มีระมาณ 300 ล้านถุง มีผนังบาง มีความชืนสูง และมีร่างแหของหลอดเลือกฝอยห่อหุ้ม
โดยรอบ เป็นบริเวณหลักที่เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
รื
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)

โพรงจมูก

คอหอย
กล่องเสียง
ปอดซ้าย
ท่อลม

หลอดลม
หลอดลม
ฝอย

กล้ามเนื้อ
กระบังลม
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)

หลอด เ อด

ฝอย

Artay
02 J
vein
p.CO24 ถุงลม
ลื
หลอด เ อด
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต
ิ o
เ า วใจ

Venacava →
Vein → Vende
การแลกเปลี่ยนแก๊สบริเวณถุงลมและหลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอย
เยื่อถุงลม
างกาย
เยื่อที่เกิดการ จาก

แลกเปลี่ยนแก๊ส จาก หายใจ เ า

หลอดเ อด แดง

ออกจาก วใจ
Avteviole
Aorta →
Avtey →

ออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้า คาร์บอนไดออกไซด์แพร่ออก
สู่หลอดเลือดฝอย จากหลอดเลือดฝอยเข้าถุงลม
ดำ
ร่
หั
หั
ข้
ข้
ลื
ลื
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

• สารจะแพร่เข้าสู่เซลล์ได้ดีเมื่ออัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรมีค่าสูงกว่า เช่น ถุงลม
A มีรัศมี 0.1 mm และถุงลม B มีรัศมี 0.3 mm จงเปรียบเทียบอัตราส่วนต่อปริมาตรของ
ถุงลม A และ ถุงลม B
2 2 2
ถุงลม A : พืนที่ผิว = 4𝜋𝑟 = 4 x 3.14 x 0.1 = 0.1256 mm
หลาย
ง 3 3
ปริมาตร = 4𝜋𝑟 = 4 x 3.14 x 0.1 = 0.0042 mm 3

3 3 มาก
ดังนัน อัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม A = 0.1256/0.0042 = 30 : 1
2= 2 2
ถุงลม B : พืนที่ผิว = 4𝜋𝑟 4 x 3.14 x 0.3 = 1.1304 mm
อยก า A 3 3 3
ปริมาตร = 4𝜋𝑟 = 4 x 3.14 x 0.3 = 0.1130 mm
3 3 อย
ดังนัน อัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม B = 1.1304/0.1130 = 10 : 1

จะเห็นได้ว่า ถุงลม B ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า จะมีอัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตร


น้อยกว่าถุงลม A ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า
สรุป ยิ่งถุงมีขนาดเล็ก อัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรก็ยิ่งมีค่ามาก
มีน้
ถุ
มี
น้
ว่
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

A B

สรุป ยิ่งถุงมีขนาดเล็ก อัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรก็ยิ่งมีค่ามาก


จึงมีประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนสารได้ดกี ว่าถุงขนาดใหญ่
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
• เกิดจากการสูดอากาศที่เป็นพิษ เช่น บุหรี่ ควันจากท่อไอเสีย ฝุ่นละออง
• ผนังของถุงลมขาดทะลุถึงกันกลายเป็นถุงเดียวที่มีขนาดโตขึน ทาให้พืนที่ผิวลดลง ผู้ป่วย
จึงหายใจหอบ เหนื่อย เนื่องจากได้รับแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอ
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

ความดันย่อยของ O2 และ CO2 ในบรรยากาศและในส่วนต่างๆ ของร่างกาย
อากาศออก อากาศเข้า
120 160
ปอด
b

27 ง ลม
-

0.3
PO2 PCO2 PO2 PCO2

หลอดเลือดเวน ถุงลม
Pulmonary
Arteuy
104
Pdmonay
Vein

40 45
40
PO2 PCO2 Aorta PO2 PCO2
Vena
เนื้อเยื่อ Cava หลอดเลือดอาร์เทอรี
104
างกาย
<40 >45
40
PO2 PCO2 PO2 PCO2
ร่
ถุ
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต
ิ Tlbs Rbc HB เ นอง ประกอบ
CRetblostcelh CH
emoglolahl

การแลกเปลี่ยนแก๊ส

O2 ถุงลม
CO2
ถุงลม
พลาสมา
CO2 พลาสมา
O2
H2O CO2 Hb
+
H2CO3 HbO2
H
HCO3-

- HbO2
+ HCO3 HCO3- Hb O2
H
H2CO3
H2O
O2 พลาสมา
CO2 พลาสมา
O2 เนื้อเยือ

CO2 เนื้อเยือ

มี
ป็
ค์
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สออกซิเจน Heme Hemoglobin Erythrocyte
• O2 เมื่อเข้าสู่หลอดเลือดฝอยแล้ว จะไปจับกับ
ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin; Hb) บริเวณหมู่ฮีม
(Heme group) ในเซลล์เม็ดเลือดแดง เกิดเป็น
Heme Group
ออกซีฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin; HbO2) ทา
ให้เลือดมีสีแดงสด
O2 + Hb HbO2
Hemoglobin Oxyhemoglobin

• Hemoglobin สามารถจับกับ Carbonmonoxide


*
ได้ดีกว่า oxygen ถึง 210 เท่า ซึ่งร่างกายได้รับ CO CO
CO มากเกินไป จะทาให้ขาดออกซิเจน จึงมีอาการ CO CO
ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย หรือถึงขันเสียชีวิต CO CO
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
• CO2 ที่เกิดจากการหายใจระดับเซลล์จะแพร่ออกจากเซลล์บริเวณเนือเยื่อเข้าสู่หลอด
เลือดฝอยเพื่อลาเลียงไปถุงลมในปอด
• โดยจะทาปฏิกิริยากับนาที่อยู่ภายใน RBC เกิดเป็นกรดคาร์บอนิก (H2CO3) โดยมี
เอนไซม์คาร์บอนิกแอนไฮเดรส (Carbonic anhydrase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ
-
H2CO3 จะแตกตัวได้เป็นไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3 ) และไฮโดรเจนไอออน
+ -
(H ) จากนัน HCO3 จะแพร่ออกจาก RBD โดยวิธี facilitated diffusion เข้าสู่พลาสมา
เพื่อลาเลียงไปหัวใจและปอดตามลาดับ
Carbonic anhydrase
CO2 + H2O H2CO3 HCO3- + H+

• ที่หลอดเลือดฝอยรอบถุงลม HCO3
- +
จะรวมตัวกับ H เกิดเป็น H2CO3 จากนันเอนไซม์
คาร์บอนิกแอนไฮเดรส (Carbonic anhydrase) จะเร่งให้ H2CO3 แตกตัวเป็น CO2 และ
H2O ซึง่ CO2 จะแพร่ออกจากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลมเพื่อกาจัดออกจากร่างกาย
ต่อไป HCO - + H+ Carbonic anhydrase H CO CO + H O
3 2 3 2 2
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

หลอดเลือดฝอยบริเวณเนื้อเยื่อ
CO2 HCO3-

Carbonic anhydrase
CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO3-

CO2 HCO3-
หลอดเลือดฝอยบริเวณถุงลม
Test your knowledge
การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

A
B
C
D E

จากรูปหลอดเลือดฝอยที่ล้อมรอบถุงลมในปอดซึ่งมีทิศทางการไหลเวียนเลือดตามลูกศร
ตอบคาถามต่อไปนีโดยใช้ตัวอักษร A-E (สามารถตอบซากันได้)
1. ลาดับทิศทางการแพร่ของ O2 เป็นอย่างไร
ตอบ
2. บริเวณใดที่ CO มีผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊ส O2
ตอบ
3. ตาแหน่งใดที่มีออกซีฮีโมโกลบิน
ตอบ
4. ที่ตาแหน่ง A และ D บริเวณใดมีความเข้มข้นของ CO2 สูงกว่า
การหายใจ (Breathing)
กลไกการหายใจ
• เป็นกระบวนการนาอากาศจากภายนอกเข้าสู่ร่างกายเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
• การหายใจเข้า (Inhalation) และการหายใจออก (Exhalation) เกิดจากการการ
เปลี่ยนแปลงความดันภายในช่องอก ซึ่งเป็นผลมาจากการทางานของกล้ามเนือยึดซึ่โครง
และกล้ามเน้ือกระบังลม
• Boyle’s Law “เมื่ออุณหภูมิคงที่ ความดัน (P) จะแปรผกผันกับปริมาตร (V)
Boyle’s Law at constant temperature
นั่นหมายความว่า ถ้าปริมาตรเพิ่มความดันจะลด
ถ้าปริมาตรลดความดันจะเพิ่ม
อากาศจะเคลื่อนที่จากที่ที่มีความดันสูงไปที่ที่มีความดันต่่า
• การหายใจเข้า ต้องขยายปริมาตรช่องอกเพื่อลดความดันในช่องอกจน
ต่ากว่าความดันอากาศ อากาศจากภายนอกจึงไหลเข้าสู่ช่องอกภายใน
ร่างกาย
• การหายใจออก ต้องลดปริมาตรช่องอกเพื่อเพิ่มความดันในช่องอกจน
สูงกว่าความดันอากาศ อากาศภายในช่องอกจึงไหลออกสู่สิ่งแวดล้อม
การหายใจ (Breathing)
กลไกการหายใจ
กล้ามเนือระหว่างกระดูก หายใจ กล้ามเนือระหว่างกระดูก หายใจ
ซี่โครงแถบนอกหดตัว เข้า ซี่โครงแถบนอกคลายตัว ออก
กระดูกซี่โครงยกสูงขึน กระดูกซี่โครงลดต่าลง

กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว กล้ามเนื้อกระบังลมคลายตัว
กระบังลมเลื่อนต่าลง กระบังลมโค้งขึ้น

• ปริมาตรช่องอกเพิ่ม • ปริมาตรช่องอกลด
• ความดันในช่องอกลด • ความดันในช่องอกเพิ่มสูง
ต่าลงกว่าอากาศภายนอก กว่าอากาศภายนอก
• อากาศไหลเข้าปอด • อากาศไหลออกจากปอด
การหายใจ (Breathing)
การวัดปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
• การวัดปริมาตรของอากาศในปอดมนุษย์ขณะหายใจเข้าและหายใจออก สามารถวัดได้
ด้วยเครื่องสไปโรมิเตอร์ (Spirometer)

Spirometer
การหายใจ (Breathing)
ปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
6,000-
5,800- หายใจเข้าเต็มที่

5,000-
ปริมาตรของอากาศในปอด (mL)

4,000-

หายใจเข้าปกติ
3,000-
2,900-
2,400-
2,000- หายใจออกปกติ
หายใจออกเต็มที่
1,200-
1,000-
อากาศที่ตกค้างในปอดเมื่อหายใจออกเต็มที่

0- เวลา
การหายใจ (Breathing)
ปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
ตอบคำถำมโดยใช้ข้อมูลจำกกรำฟในสไลด์ก่อนหน้ำนี้
ในการหายใจปกติแต่ละครัง ปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าเป็นเท่าไร และปริมาตรของการ
หายใจออกเป็นเท่าไร
Volume of inhale =
Volume of Exhale =
ปริมาตรของอากาศจากการหายใจเข้าเต็มที่และการหายใจออกเต็มที่ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
Volume of INHALE =
Volume of EXHALE =
เมื่อหายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศที่ตกค้างในปอดเป็นเท่าไร

มนุษย์สามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
การควบคุมการหายใจ
การควบคุมการหายใจ
• การหายใจถูกควบคุมโดยระบบประสาททังการควบคุมภายใต้อานาจจิตใจและนอก
อานาจจิตใจ
• ระบบประสาทอัตโนวัติ ควบคุมการหายใจนอกอานาจจิตใจ โดยมีศูนย์ควบคุมที่สมอง
ส่วนพอนส์ (Pons) และเมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) สมองสอง
ส่วนนีจะส่งสัญญาณไปกระตุ้นกล้ามเนือที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ ทาให้เกิดการหายใจ
เข้าและหายใจออกเป็นจังหวะสม่าเสมอตลอดเวลา
• การควบคุมการหายใจที่อยูใ่ ต้อานาจจิตใจ
โดยสมองส่วนหน้า (Forebrain) บริเวณ
เซรีบรัลคอร์เท็กซ์ (Cerebral cortex)
และไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ทา
ให้ควบคุมหรือปรับการหายใจให้เหมาะสม
กับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูด ร้องเพลง
การว่ายนา การหายใจยาวและลึก รวมไป
ถึงการกลันหายใจ
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด

• ความเป็นกรด - เบส เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจของมนุษย์


• เมื่อร่างกายทากิจกรรมต่างๆ จะมี CO2 เกิดขึน และมี H ในเลือดตลอดเวลา ส่งผลให้
+

เลือดมีความเป็นกรดมากขึน ร่างหายจึงต้องหายใจเพื่อขับ CO2 ออก เป็นการรักษาดุลย


ภาพของร่างกาย
ความเข้มข้นของ CO2 CO z เยอะ บ C02

ในเลือดสูง
ค่า pH ในเลือดลดลง

ความเข้มข้นของ CO2
C 02 =
กรด
ในเลือดอยู่ในระดับปกติ

ความเข้มข้นของ CO2 (0 อย ลด การ หายใจ


ในเลือดต่า
ค่า pH ในเลือดเพิ่มขึ้น
น้
ขั
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด

• ความเป็นกรด - เบส เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจของมนุษย์


• เมื่อร่างกายทากิจกรรมต่างๆ จะมี CO2 เกิดขึน และมี H ในเลือดตลอดเวลา ส่งผลให้
+

เลือดมีความเป็นกรดมากขึน ร่างหายจึงต้องหายใจเพื่อขับ CO2 ออก เป็นการรักษาดุลย


ภาพของร่างกาย อัตราการหายใจ
เพิ่มขึ้น
ความเข้มข้นของ CO2 สมองสั่งการให้เพิ่ม
ในเลือดสูง อัตราการหายใจ
ค่า pH ในเลือดลดลง Pons ,
Medulla oblongata
ความเข้มข้นของ CO2 ลดลง
Homeostasis ความเข้มข้นของ CO2
ภาวะธารงดุล ในเลือดอยู่ในระดับปกติ
ความเข้มข้นของ CO2 เพิ่มขึน

ความเข้มข้นของ CO2
ในเลือดต่า
Pons , สมองสั่งการให้ลด
ค่า pH ในเลือดเพิ่มขึ้น Medulla oblongata อัตราการหายใจ อัตราการหายใจ
ลดลง
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
• เป็นโรคที่ผนังของถุงลมถูกทาลายจนทะลุถึงกันเกิดเป็นถุงขนาดใหญ่
• ส่งผลให้มีพืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง ผู้ป่วยจึงมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจถี่
หัวใจทางานหนัก อาจมีอาการหัวใจวาย
• สาเหตุ: สูดอากาศที่เป็นพิษ เช่น ควันบุหรี่ ควันจากโรงงาน ควันจากท่อไอเสีย และฝุ่น
ละอองต่างๆ ที่เม็กเลือดขาวไม่สามารถทาลายได้
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคปอดบวม (Pneumonia)
• เป็นโรคที่เนือเยื่อปอดเกิดการอักเสบและบวม ส่งผลให้หลอดลมและถุงลมมีของเหลว
หรือเมือกเพิ่มขึน จึงมีพืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
• สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชือแบคทีเรียหรือไวรัส
• อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการไอ เหนื่อยง่าย หายใจเร็ว
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรควัณโรค (Tuberculosis; TB)
• เกิดจากการติดเชือ (Mycobacterium tuberculosis) ทาให้เกิดการอักเสบบริเวณปอด
ผู้ป่วยจะมีอาการไอเรือรัง
• สามารถติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ผ่านละอองเสมหะจากการไอหรือจาม
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคมะเร็งปอด (Lung cancer)
• เกิดจากการแบ่งเซลล์ที่ผิดปกติเกิดเป็นมะเร็ง ส่งผลต่อการทางานของปอด
• ผู้ป่วยจะมีอาการไอเรือรัง แน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย
• ผู้ป่วยมะเร็งปอด 85% เป็นผู้เคยมีประวัติสูบบุหรี่ หรือสูดดมควันพิษเป็นระยะเวลานาน
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคหอบหืด (Asthma)
• เกิดจากการอักเสบ
เรือรังของหลอดลม
เนื่องจากผู้ป่วยมีความไว
ต่อสิ่งกระตุ้น เช่น
pollen , ฝุ่น และ
สารเคมี ทาให้ทางเดิน
หายใจมีการระคายเคือง
กล้ามเนือบริเวณ
หลอดลมหดตัวทาให้
หลอดลมตีบ ผู้ป่วยจึง
หายใจไม่สะดวก มี
อาการหอบ
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
• เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุหลอดลม มีเสมหะ ทาให้ผู้ป่วยมีอาการไอ หายใจไม่สะดวก

\

ตี
References

th
1. Reece, J. B., & Campbell, N. A. (2011). Campbell biology 9 ed.. Boston: Benjamin
Cummings. Pearson.
2. ศุภณัฐ ไพโรหกุล. Biology. พิมพครั
์ ง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษท
ั แอคทีฟ พริน
้ ท ์ จากัด, 2559.
, สถาบัน. กระทรวงศึ กษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชา
3. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

เพิม่ เติม ชีววิทยา เล่ม ๔. พิมพครั
์ ง้ ที่ 1 (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐). กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ ์
จุฬาลงกรณมหาวิ
์ ทยาลัย., ๒๕๖๒.

You might also like