You are on page 1of 17

Biodiversity - ความหลากหลายทางชีวภาพ

นายอรรถพล กุลบุตร
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี
Biodiversity
- ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) = Biological + Diversity

- การมีสิ่งมีชีวิตจานวนมากและแตกต่างกัน ซึ่งมีความหลากหลายทั้งในระดับพันธุกรรมที่ปรากฏในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
(genetic diversity) และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน ตั้งแต่ลาดับขั้น species genus ไปจนถึงลาดับขั้นที่
สูงขึ้นไปเรื่อยๆ (species diversity) นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความหลากหลายในระดับระบบนิเวศ (ecological diversity)
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
????
1. การจาแนกสิ่งมีชีวิต/การจัดหมวดหมู่ (classification)

เป็นการจัด สมช. ที่เราสนใจให้ลงไปอยู่ในหมวดหมู่จากใหญ่ –> เล็ก


1. การจาแนกสิ่งมีชีวิต/การจัดหมวดหมู่ (classification)

การจัดจาแนก มีเกณฑ์ที่ใช้อยู่ 2 แบบ หลักๆ คือ


1.
2.
1. การจาแนกสิ่งมีชีวิต/การจัดหมวดหมู่ (classification)
1. ตัวอย่างของการดูจากตัวอ่อน --> ตัวอ่อนของสัตว์แต่ละชนิด ในแต่ละช่วงที่เจริญเติบโตจะมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกันและบางอย่างที่ต่างกัน
เช่น สัตว์ใน phylum chordata จะมีลักษณะร่วมกันในช่วงหนึ่งที่เป็นตัวอ่อน
1. การจาแนกสิ่งมีชีวิต/การจัดหมวดหมู่ (classification)
2. ตัวอย่างการดูจากกายวิภาคศาสตร์ (anatomy)
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
โดยทั่วไปชื่อของสิ่งมีชีวิตมี 3 ประเภท
1.

3.
ใช้ระบบเรียกชื่อของ.......................................โดยประกอบด้วย 2 ส่วน (binomial nomenclature) / 1 species : 1 ชื่อ

Rosa rubra
Sus domesticus
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

- การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 2 ส่วน


2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

- หลักการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
genus = ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีเขียน = ขีดเส้นใต้เว้น genus กับ species
species = ใช้ตัวพิมพ์เล็ก กรณีพิมพ์ = ทาเป็นตัวอักษรเอนหรือขีดเส้นใต้

Oryza sativa
Oryza sativa
Oryza sativa
Oryza sativa
Oryza Sativa
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
1. การตั้งชื่อตามมลักษณะหรือสีสันของสิ่งมีชีวิต เช่น

Phyllanthus acidus Sesarma versicolor


Phyllanthus acidus Sesarma versicolor
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
1. การตั้งชื่อตามมลักษณะหรือสีสันของสิ่งมีชีวิต เช่น

Carcinoscorpius rotundicauda

Carcinoscorpius rotundicauda
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ Hevea braziliensis


2. การตั้งตามสถานที่ที่พบสิ่งมีชีวิต
Hevea braziliensis
2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)

การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
3. การตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่คนที่พบสิ่งมีชีวิต เช่น

- ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทย Phuwiangosaurus sirindhornae Martin, Buffetaut and Suteethorn 1994


2. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
ระบบชื่อสามส่วน (trinomial nomenclature)
- เขียนเหมือนแบบทวินาม (binomial nomenclature) เลย แต่เพิ่มตอนท้ายมาอีกก้อนหนึ่ง
- ชื่อก้อนที่สามที่เพิ่มมานั้นจะต่อจาก specific epithet และเขียนด้วยตัวเล็กทั้งหมด
- เป็นตัวที่ระบุถึง subspecies ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ กล่าวคือเป็น species เดียวกันแต่มี subspecies ต่างกัน
- เช่น Homo sapiens sapiens

ในกรณีที่มีชื่อของผู้ค้นพบหรือตั้งชื่อตามท้ายมาด้วย ให้เขียนเป็นตัวตรงๆ เฉยๆ ต่อท้ายมาเลย ไม่ขีด ไม่เอียง ถ้ามี ค.ศ. ก็เขียนตามมาเลย


3. การระบุชนิด (identification)
- ใช้การระบุจากลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ เพื่อระบุว่าสิ่งมีชีวิตนั้นมันอยู่ในลาดับไหน
- สิ่งที่ใช้ในการระบุ คือ dichotomous key ซึ่งเป็นการแบ่งสิ่งมีชีวิตโดยพิจารณาทีละลักษณะแล้วแตกออกเป็นทีละสอง
- สมช. แต่ละกลุ่มจะมี dichotomous key เฉพาะที่เหมาะสมต่อการจาแนกกลุ่มย่อยของ สมช นั้นๆ

You might also like