You are on page 1of 21

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

รายวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค 23201


ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ สมการกำลังสอง
หน่วยการเรียนรู้ย่อย สมการกำลังสอง
จำนวน 2 คาบ
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผู้สอน
นายณรงค์ฤทธิ ์ สมนึก

1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1) แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้จากการคำนวณและการแก้ปัญหา
2. สาระสำคัญ
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain)
เมื่อกำหนดสมการกำลังสองตัวแปรเดียวให้ นักเรียน
สามารถคำนวณหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้ถูก
ต้องร้อยละ 60 ขึน
้ ไป
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)
เมื่อกำหนดสมการกำลังสองตัวแปรเดียวให้ นักเรียนเกิดการ
สังเกตลักษณะสมการกำลังสองตัวแปรเดียว และสามารถเลือกใช้วิธี
การหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้ถูกต้องร้อยละ
60 ขึน
้ ไป
ด้านจิตพิสัย (Affective domain)
1. นักเรียนเกิดความใฝ่ เรียนรู้ มีความเพียรพยายามในการ
เรียน และให้ความสำคัญกับการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ใน
ระดับดี
2. นักเรียนเกิดความมุ่งมั่นในการทำงาน เอาใจใส่ในหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย และมีความรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จอยู่ใน
ระดับดี

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
2. นักเรียนมีความสามารถในคิด
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำงาน
6. สาระการเรียนรู้
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว

7. ภาระ/ชิน ้ งาน
- บัตรกิจกรรม
- ใบกิจกรรม

8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
8.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1
ครู ทบทวนนักเรี ยนเกี่ยวกับเรื่ องของการแยกตัวประกอบของพหุนามและการแก้สมการ
โดยการ
ตั้งคำถามบนกระดาน แล้วสุ่ มให้นกั เรี ยนออกมาแสดงวิธีท ำ เช่น
(1) x2 + 2x + 1 (2) x2 - 16x + 64
ชั่วโมงที่ 2
ให้นกั เรี ยนพิจารณารากของสมการ 5x2 - 19x = 4 โดยครู แสดงให้ดูบนกระดาน

5
6
7
8
8.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1
1.ครู ทบทวนเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามและการแก้สมการ โดย ทักษะการคิดคำนวณ
เขียนโจทย์บนกระดาน แล้วสุ่ มให้นกั เรี ยนออกมาแสดงวิธีท ำ เช่น
(1) x2 + 2x + 1
(2) x2 - 16x + 64

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
2.ครู เขียนตัวอย่างสมการกำลังสองตัวแปรเดียวให้นกั เรี ยนพิจารณา เช่น
(1) x2 + x - 6 = 0
(2) (x - 7)(x + 4) = 0
(3) x2 + 6 = 0
(4) 5x2 - 19x = 4
ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า รู้จกั สมการข้างต้นหรื อไม่วา่ คือสมการอะไร ครู แนะนำ
นักเรี ยนว่าสมการดังกล่าว คือสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่ งอยูใ่ นรู ปทัว่ ไป
คือ ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b และ c เป็ นจำนวนจริ ง และ a ≠ 0
ครู อธิบายให้นกั เรี ยนฟังว่าสมการกำลังสองคือสมการที่มีพหุนามดีกรี สอง
3.ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม ๆละ 4-5 คน ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดสมการที่เป็ น
สมการกำลังสองแบบอื่นๆ ให้ได้มากที่สุดภายในเวลาที่ครู ก ำหนด จากนั้นเมื่อ
หมดเวลาครู ตรวจสอบความถูกต้อง และให้รางวัลกับกลุ่มที่ตอบได้มากที่สุด
4. ครู เขียนสมการต่างๆ บนกระดาน แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันตรวจสอบว่าเป็ น
สมการกำลังสองหรื อไม่ เช่น
x + 8 = 20
x -5+9 = 0
2
500a + 90 = 0
x + 10x + 20 = 0
2

ชั่วโมงที่ 2
1.ให้นกั เรี ยนพิจารณารากของสมการ 5x2 - 19x = 4 โดยครู แสดงวิธีท ำให้ดู
บนกระดาน ดังนี้

เมื่อแทน x ด้วย - ในสมการ 5x2 - 19x = 4

ข้างซ้ายของสมการจะได้ 5x2 - 19x =

=
= 4 ซึ่ งเท่ากับข้างขวาของ
สมการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ

นัน่ คือ เมื่อแทน x ด้วย - จะทำให้สมการเป็ นจริ ง


เมื่อแทน x ด้วย 4 ในสมการ 5x2 - 19x = 4
ข้างซ้ายของสมการจะได้ 5x2 - 19x = 5(42) - 19(4)
= 80 - 76
= 4 ซึ่ งเท่ากับข้างขวาของ
สมการ นัน่ คือ เมื่อแทน x ด้วย 4 จะทำให้สมการเป็ นจริ ง

ดังนั้น รากของสมการ 5x2 - 19x = 4 คือ - และ 4


2.ครู ซกั ถามนักเรี ยนจากการพิจารณาสมการข้างต้นทำให้นกั เรี ยนทราบอะไร
บ้าง จากนั้นครู กล่าวว่าจากสมการข้างต้นทำให้เราทราบคำตอบของสมการ ซึ่ ง
จะได้ดงั นี้
คำตอบของสมการกำลังสอง คือจำนวนที่น ำมาแทนตัวแปรในสมการแล้ว
ทำให้สมการเป็ นจริ ง
3. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ช่วยกันหาคำตอบของสมการกำลัง
สอง โดยครู เขียนโจทย์บนกระดานดำ เช่น
(1) 10x2 + 20x + 1 = 0 (2) 3x2 - 6x + 1 = 0 ทักษะการคิดคำนวณ
4.ครู แจกซองโจทย์ให้นกั เรี ยนหาคำตอบของสมการโดยวิธีการเดียวกับตัวอย่าง
ข้างต้นเป็ นการบ้าน โดยครู ก ำหนดวันและเวลาส่ ง เช่น
(1) x2 - 5x + 36
(2) x2 - 8x + 4
(3) 2x2 + 4x + 1 เป็ นต้น
5.ครู แนะนำว่า การหาคำตอบของสมการกำลังสองสมบูรณ์มีอยูห่ ลายแบบด้วย
กัน
เช่น ax2 + bx + c = 0
ทำให้อยูใ่ นรู ป (px + s)(qx + t) = 0 และใช้สมบัติดงั นี้

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
สมบัติผลคูณเป็ นศูนย์ ทักษะการคิดแปลความ
ให้ A และ B เป็ นนิพจน์ และ AB = 0 แล้ว A = 0 หรื อ B = 0 ทักษะการคิดวิเคราะห์
6.ครู น ำเสนอตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่ าง (x - 3)(x + 2) = 0
เราจะใช้สมบัติผลคูณเป็ นศูนย์แก้สมการกำลังสองได้ดงั นี้
(x - 3) = 0 หรื อ (x + 2) = 0
ซึ่ งก็คือ x = 3 หรื อ x = -2
7.ให้นกั เรี ยนคิดโจทย์อื่นที่เหมือนกับตัวอย่าง แล้วให้แยกตัวประกอบและหา
คำตอบของสมการแล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยครู และเพื่อนคอย
ตรวจสอบความถูกต้อง

5
6
7
8
8.3 ขั้นสรุ ป
1) ให้นกั เรี ยนช่วยกันสรุ ปลักษณะของสมการกำลังสอง
2) ให้นกั เรี ยนช่วยกันสรุ ปความหมายของรากของสมการกำลังสอง

9. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสื อเรี ยน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรี ยน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์

10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain)
เมื่อกำหนด ตรวจใบงาน แบบ นักเรียนทำใบงาน
สมการกำลังสอง ทบทวน ประเมินใบ ทบทวนสมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียวให้ สมการกำลัง งาน ตัวแปรเดียว
นักเรียนสามารถ สองตัวแปร ทบทวน ได้ถก
ู ต้องอย่างน้อยร้อย
คำนวณหาคำ เดียว สมการ ละ 60 ขึน
้ ไป จึงผ่าน
ตอบของสมการ กำลังสอง เกณฑ์
กำลังสอง ตัวแปร
ตัวแปรเดียวได้ เดียว
(ความถูก
ต้อง)
2. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
เมื่อกำหนด ตรวจใบงาน แบบ นักเรียนทำใบงาน
สมการกำลังสอง ทบทวน ประเมินใบ ทบทวนสมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียวให้ สมการกำลัง งาน ตัวแปรเดียว
นักเรียนเกิดการ สองตัวแปร ทบทวน ได้ถก
ู ต้องอย่างน้อยร้อย
สังเกตลักษณะ เดียว สมการ ละ 60 ขึน
้ ไป จึงผ่าน
สมการกำลังสอง กำลังสอง เกณฑ์
ตัวแปรเดียว ตัวแปร
และสามารถ เดียว
เลือกใช้วิธีการ (การใช้วิธี
หาคำตอบของ การหาคำ
สมการกำลังสอง ตอบของ
ตัวแปรเดียวได้ สมการ
กำลังสอง
ตัวแปร
เดียว)

3. ด้านจิตพิสัย (Affective domain)


1. นักเรียนเกิด สังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่
ความใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม พฤติกรรม ในระดับดีขน
ึ ้ ไป มีเกณฑ์
มีความเพียร การเรียน การเรียน ดังนี ้
พยายามในการ 3 คะแนน หมายถึง ดีมาก
เรียน และให้ 2 คะแนน หมายถึง ดี
ความสำคัญกับ 1 คะแนน หมายถึง พอใช้
การเข้าร่วม 0 คะแนน หมายถึง ควร
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการ ปรับปรุง
เรียนรู้
2. นักเรียนเกิด สังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่
ความมุ่งมั่นใน พฤติกรรม พฤติกรรม ในระดับดีขน
ึ ้ ไป มีเกณฑ์
การทำงาน การทำ การทำ ดังนี ้
เอาใจใส่ใน กิจกรรม กิจกรรม 3 คะแนน หมายถึง ดีมาก
หน้าที่ที่ได้รับ 2 คะแนน หมายถึง ดี
มอบหมาย และ 1 คะแนน หมายถึง พอใช้
มีความรับผิด 0 คะแนน หมายถึง ควร
ชอบในการ ปรับปรุง
ทำงานให้สำเร็จ
แบบวิเคราะห์การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment
blueprint)

พฤติกรรมการประเมิน เท
ระดับพฤติกรรม (%) ก
วัตถุประสง พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย ปร
ค์
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5
รวม

รวม

รวม

1. เมื่อกำหนด 3 3 3 10 1. แ
3 3 3 0 ประ
สมการกำลัง
งาน
สองตัวแปร
เดียวให้
นักเรียน
สามารถ
คำนวณหาคำ
ตอบของ
สมการกำลัง
สองตัวแปร
เดียวได้
2. เมื่อกำหนด 1. แ
ประ
สมการกำลัง
งาน
สองตัวแปร
เดียวให้
นักเรียนเกิด
การสังเกต
ลักษณะ
สมการกำลัง 2 2 2 2 2 10
สองตัวแปร 0 0 0 0 0 0

เดียว และ
สามารถเลือก
ใช้วิธีการหาคำ
ตอบของ
สมการกำลัง
สองตัวแปร
เดียวได้
3. นักเรียนเกิด 1. แ
สังเก
ความใฝ่ เรียนรู้
พฤต
มีความเพียร
พยายามใน
3 3 10
การเรียน และ 33
3 3 0
ให้ความสำคัญ
กับการเข้าร่วม
กิจกรรมการ
เรียนรู้
4. นักเรียนเกิด 20 2 2 2 2 10 1. แ
0 0 0 0 0 สังเก
ความมุ่งมั่นใน
พฤต
การทำงาน
เอาใจใส่ใน
หน้าทีท
่ ี่ได้รับ
มอบหมาย
และมีความรับ
ผิดชอบในการ
ทำงานให้
สำเร็จ
10 10 10
รวม
0 0 0

แบบวิเคราะห์การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment
blueprint) ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการวัด
และความสอดคล้องด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย

**หมายเหตุ: ความหมายของตารางวิเคราะห์การประเมิน

พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย


1 = ความจำ 1 = การรับรู้สิ่งเร้า 1 = การรับรู้
2 = เข้าใจ 2 = การตอบสนอง 2 = การตระเตรียม
3 = นำไปใช้ 3 = การสร้างคุณค่า 3 = การตอบสนองตาม
4 = วิเคราะห์ 4 = การจัดระบบ คำชีแ
้ นะ
5 = ประเมินค่า คุณค่า 4 = การสร้างกลไก
6 = สร้างสรรค์ 5 = การสร้างลักษณะ 5 = การตอบสนองที่
นิสัย ซับซ้อนขึน

6 = การดัดแปลงให้
เหมาะสม
7 = การริเริ่มใหม่
คำอธิบายประกอบการประเมิน
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain)

ประเมินใบงาน (ความถูกต้อง)
คำชีแ
้ จง : ให้ผู้ประเมินทำการประเมินใบงาน (ความถูกต้อง)
สรุปการ
ระดับคะแนน
ลำดั ประเมิน
ชื่อ - สกุล
บที่ 3 2 1 0 ไม่
4 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5

ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
( นายณรงค์ฤทธิ ์ สมนึก )
วัน
ที่.............เดือน.....................พ.ศ............

เกณฑ์การประเมินประเมินใบงาน (ความถูกต้อง)
เกณฑ์การให้คะแนน : พิจารณาดังตารางต่อไปนี ้

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1 0
คำตอบมีความ คำตอบของ คำตอบ คำตอบ คำตอบของ คำตอบ

ถูกต้อง สมการถูก ของ ของ สมการถูก ของ


ต้อง สมการถูก สมการถูก ต้องเป็ น สมการไม่
(ถูกต้อง ต้องเป็ น ต้องบาง บางส่วน ถูกต้องเลย
12 ข้อ) ส่วนมาก ส่วน (ถูกต้อง 1- หรือ ไม่ส่ง
(ถูกต้อง (ถูกต้อง 8- 7 ข้อ) งาน
10-11 ข้อ) 9 ข้อ)
เกณฑ์การผ่านการประเมิน : นักเรียนมีระดับคะแนน 2 ขึน
้ ไป (คิด
เป็ นร้อยละ 60 ขึน
้ ไป)

คำอธิบายประกอบการประเมิน
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)

แบบประเมินแบบประเมินใบงาน
(การใช้วิธีการหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียว)
คำชีแ
้ จง : ให้ผู้ประเมินทำการประเมินแบบประเมินใบงาน

(การใช้วิธีการหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียว)

สรุปการ
ระดับคะแนน
ลำดั ประเมิน
ชื่อ - สกุล
บที่ 3 2 1 0 ไม่
4 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
( นายณรงค์ฤทธิ ์ สมนึก )
วัน
ที่.............เดือน.....................พ.ศ............

เกณฑ์การประเมินใบงาน

(การใช้วิธีการหาคำตอบของสมการกำลังสองตัวแปรเดียว)

เกณฑ์การให้คะแนน : พิจารณาดังตารางต่อไปนี ้

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1 0
ใบงานมีการ แสดงวิธีการ แสดงวิธีการ แสดงวิธีการ แสดงวิธีการ ใช้ภาษาและ
หาคำตอบได้ หาคำตอบได้ หาคำตอบได้ หาคำตอบได้ สัญลักษณ์
เลือกใช้วิธีหา
ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ทาง
คำตอบได้ สมบูรณ์ สมบูรณ์ สมบูรณ์ เป็ นส่วนใหญ่ คณิตศาสตร์

อย่างถูกต้อง (ถูกต้อง เป็ นส่วน เป็ นบาง (ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง

สมบูรณ์ สมบูรณ์ 12 ใหญ่ ประเด็น


สมบูรณ์ 1- หรือไม่
(ถูกต้อง (ถูกต้อง ปรากฏการ
ข้อ) 6 ข้อ)
ส่งงาน
สมบูรณ์ สมบูรณ์
9-10 ข้อ) 7-8 ข้อ)

เกณฑ์การผ่านการประเมิน : นักเรียนมีระดับคะแนน 2 ขึน


้ ไป (คิด
เป็ นร้อยละ 60 ขึน
้ ไป)

คำอธิบายประกอบการประเมิน
ด้านจิตพิสัย (Affective domain)
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
คำชีแ
้ จง : ให้ผู้ประเมินทำการประเมินพฤติกรรมการเรียนของ
นักเรียน ตามเกณฑ์การประเมินแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คว
ามใฝ่ เรียนรู้)

ความใฝ่ เรียนรู้
ความเพียร การเข้าร่วม สรุปการ
ลำ
พยายามใน กิจกรรมการ ประเมิน
ดับ ชื่อ - สกุล
การเรียน เรียนรู้
ที่
3 2 1 0 3 2 1 0 ไม่
ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5

ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
( นายณรงค์ฤทธิ ์ สมนึก
)
วัน
ที่.............เดือน.....................พ.ศ............

เกณฑ์การประเมินพฤติกรรม:
เกณฑ์การให้คะแนน : พิจารณาดังตารางต่อไปนี ้

ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
3 2 1 0
1. ความใฝ่ รู้ ด้าน เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนไม่
เวลา ตัง้ ใจ เวลา ตัง้ ใจ เวลา ตัง้ ใจ ตรงเวลาไม่
ความเพียร
เรียน เอาใจใส่ เรียน เอาใจ เรียน เอาใจใส่ ตัง้ ใจเรียน
พยายามในการ การเรียนเป็ น ใส่การเรียน การเรียนเป็ น และไม่เอาใจ

เรียน ประจำ บ่อยครัง้ บางครัง้ ใส่ในการเรียน

2. ความใฝ่ รู้ ด้าน ให้ความร่วม ให้ความร่วม ให้ความร่วม ไม่ให้ความ


มือในกิจกรรม มือใน มือในกิจกรรม ร่วมมือใน
การร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ กิจกรรมการ การเรียนรู้เป็ น กิจกรรมการ
การเรียนรู้ อย่าง เรียนรู้อย่าง บางครัง้ เรียนรู้
สม่ำเสมอเป็ น สม่ำเสมอ
ประจำ บ่อยครัง้

เกณฑ์การผ่านการประเมิน : นักเรียนมีระดับคะแนนเฉลี่ย 2 ขึน



ไป (คิดเป็ นร้อยละ 50 ขึน
้ ไป)

11. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ปั ญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
แนวทางการแก้ไขปั ญหา
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.....................................................ผู้สอน
( นายณรงค์ฤทธิ ์ สม
นึก )
วัน
ที่.............เดือน.....................พ.ศ...........
12. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สถิติ ใน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 เรื่อง มัธยฐาน เรียบร้อยแล้ว โดยมี
ความคิดเห็น ดังนี ้
1. คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด
 สอดคล้อง  ไม่สอดคล้อง
3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 ได้นำกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญมาใช้ได้
อย่างเหมาะสม  ไม่ได้นำกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญมาใช้
4. การใช้ส่ อ
ื การเรียนรู้
 มีความเหมาะสมและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน

 ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
5. การวัดและการประเมินผล
 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
 ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
6. การนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้
 นำไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนำ
ไปใช้

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
....

ลงชื่อ
.....................................................
(นางสมจิตต์ มาฆะ
สิทธิ)์
ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์
วันที่ ............ เดือน
........................... พ.ศ. ..............

13. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สถิติ ใน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 เรื่อง มัธยฐาน เรียบร้อยแล้ว โดยมี
ความคิดเห็น ดังนี ้
1. คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด
 สอดคล้อง  ไม่สอดคล้อง
3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 ได้นำกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญมาใช้ได้
อย่างเหมาะสม
 ไม่ได้นำกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญมาใช้
4. การใช้ส่ อ
ื การเรียนรู้
 มีความเหมาะสมและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
 ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
5. การวัดและการประเมินผล
 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
 ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
6. การนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้
 นำไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนำ
ไปใช้

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
....

ลงชื่อ
.....................................................
(นางสมัชญา
ผุดผ่อง)
ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ
โรงเรียนวังจันทร์วิทยา
กลุ่มบริหารงาน
วิชาการ
วันที่ ............ เดือน
........................... พ.ศ. ..............

You might also like