You are on page 1of 12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

ชื่อรายวิชา ศิลปศึกษา 5 รหัสวิชา ศ33101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง จากชีวิตประจำวันสู่การแสดง เวลา 6 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว
_____________________________________________________________________________________

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด ม4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ (P6)

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ (K)
2.2 นักเรียนสามารถวิเคราะห์และจำแนกองค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ (P)
2.3 นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจในการบันทึก วิเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ (A)

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ละครสร้างสรรค์ (creative drama) คือ ละครที่ไม่มีรูปแบบ ไม่จำเป็นต้องจัดแสดงบนเวที เน้นไปที่ผลสำเร็จ
ของละคร สิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จคือองค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย โครงเรื่อง, ตัวละคร,
สถานการณ์ และบทละคร

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้
องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์
4.2 ด้านทักษะกระบวนการ
วิเคราะห์ จำแนก สรุปองค์ความรู้
4.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน
ใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น

6. กิจกรรมการเรียนรู้ (รูปแบบการสอน 5Es)


ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ((Engagement)
1. นักเรียนรับชมวิดีทัศน์โฆษณา
ขั้นกระบวนการสอน
ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
2. นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้รับชมจากวิดีทัศน์ลงในใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อมูลสรุป (Explain)
3. นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งที่ได้บันทึกลงในใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น
4. นั ก เรี ย นวิ เคราะห์ สิ่ ง ที่ ได้ บั น ทึ ก ลงในใบกิ จ กรรม เรื่ อ ง มี อ ะไรอยู่ ในนั้ น โดยให้ ค ำจำกั ด ความของ
องค์ประกอบด้านต่าง ๆ ด้วยตนเอง
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaborate)
5. นักเรียนวิเคราะห์ เชื่อมโยงคำจำกัดความขององค์ประกอบด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนสรุปไว้กับองค์ประกอบ
ของละครสร้างสรรค์ 4 ด้าน (โครงเรื่อง, ตัวละคร, สถานการณ์, บททละคร)
ขั้นสรุป
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluate)
6. นักเรียนนำเสนอการวิเคราะห์ สรุปองค์ความรู้เรื่ององค์ประกอบของละครสร้างสรรค์
7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายขององค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ในแต่ละด้าน

7. การบูรณาการกับแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-

8.สื่อ นวัตกรรม และแหล่งการเรียนรู้


1. Power Point เรื่อง จากชีวิตประจำวันสู่การแสดง
2. วิดีทัศน์โฆษณา
3. ใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น
4. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
5. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินสมรรถนะของผู้เรียน

9.การวัดและประเมินผล (หมายถึงหลักฐาน/ร่องรอยที่แสดงถึงความรู้ของนักเรียน)
เกณฑ์การ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีการประเมิน เครื่องมือ ผู้ประเมิน
ประเมิน
1.ด้านความรู้ ใบกิจกรรม เรื่อง ตรวจ ใบกิจกรรม เรื่อง ครู ได้รับผลการ
มีอะไรอยู่ในนั้น ใบกิจกรรม มีอะไรอยู่ในนั้น ประเมิน
ในระดับดีขึ้นไป
2.ด้านทักษะ ใบกิจกรรม เรื่อง ตรวจ ใบกิจกรรม เรื่อง ครู ได้รับผลการ
กระบวนการ มีอะไรอยู่ในนั้น ใบกิจกรรม มีอะไรอยู่ในนั้น ประเมิน
ในระดับดีขนึ้ ไป
3.ด้านคุณลักษณะ แบบบันทึกการสังเกต สังเกต แบบบันทึกการสังเกต ครู ได้รับผลการ
พฤติกรรมนักเรียนเพื่อ พฤติกรรม พฤติกรรมนักเรียนเพื่อ ประเมิน
ประเมินคุณลักษณะ ในชั้นเรียน ประเมินคุณลักษณะ ในระดับดีขึ้นไป
อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์
เกณฑ์การประเมินใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น

ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)


-องค์ประกอบครบถ้วน -องค์ประกอบครบถ้วน -องค์ประกอบครบถ้วน องค์ประกอบ
-เนื้อหาถูกต้อง -เนื้อหาถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
-วิเคราะห์ สรุปองค์ความรู้องค์ประกอบ
ของละครสร้างสรรค์ได้อย่างถูกต้อง
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)


-เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา -ไม่ตั้งใจเรียน
-บันทึก วิเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ -บันทึก วิเคราะห์ และสรุป -บันทึกความรู้ลงใน -ไม่บันทึก วิเคราะห์
ลงในใบกิจกรรม องค์ความรู้ลงในใบกิจกรรม ใบกิจกรรม และสรุปองค์ความรู้ลง
-มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยความ ในใบกิจกรรม
กระตือรือร้น
เกณฑ์การประเมินสมรรถนะของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
ตัวชี้วัดที่ 1 คิดพื้นฐาน (การคิดวิเคราะห์)
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมบ่งชี้
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (1) ปรับปรุง (0)
1.จำแนก จัดหมวดหมู่ มีพฤติกรรมบ่งชี้ ดังนี้ มีพฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบ่งชี้ 2 มีพฤติกรรมบ่งชี้
จัดลำดับความสำคัญ 1. จำแนกข้อมูลได้ 3 พฤติกรรม พฤติกรรมในบริบทต่าง ๆ พฤติกรรมใด
และเปรียบเทียบข้อมูล 2. จัดหมวดหมู่ข้อมูลได้ ในบริบทต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้อง พฤติกรรมหนึ่ง
ในบริบทต่าง ๆ 3. จัดลำดับความสำคัญของ ได้อย่างเหมาะสม กับความเป็นจริง หรือไม่ปรากฏ
ข้อมูลได้ สอดคล้องกับ พฤติกรรมใดเลย
4. เปรียบเทียบข้อมูลได้ ความเป็นจริง
ในบริบทต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับความเป็นจริง
2.เชื่อมโยงความสัมพัน ระบุความสัมพันธ์ของ ระบุความสัมพันธ์ ระบุความสัมพันธ์ของ ไม่สามารถระบุ
ธ์ ของส่วนประกอบของ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้อมูล ของส่วนประกอบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลในบริบทต่าง ๆ และสามารถเชื่อมโยงกับ ต่าง ๆ ของข้อมูล ของข้อมูลได้ถูกต้อง ส่วนประกอบต่าง ๆ
เหตุการณ์ที่พบเห็นในในบริบท และสามารถเชื่อม แต่ไม่สามารถเชื่อมโยงกับ ของข้อมูล
ต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสมผล โยงกับเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่พบเห็นในบริบท และไม่สามารถ
ที่พบเห็นในบริบท ต่าง ๆ ได้ เชื่อมโยงกับ
ต่าง ๆ ได้ เหตุการณ์ที่
พบเห็นในบริบท
ต่าง ๆ ได้
3.ระบุหลักการสำคัญ ระบุหลักการสำคัญหรือแนวคิด ระบุหลักการสำคัญ ระบุหลักการหรือแนวคิดที่มี ระบุหลักการสำคัญ
หรือแนวคิดในเนื้อหา ในเนื้อหาความรู้หรือข้อมูล หรือแนวคิดใน อยู่ในเนื้อหาความรู้หรือ หรือแนวคิดใน
ความรู้ ข้อมูลที่พบเห็น ต่าง ๆ ที่พบเห็นในบริบทต่าง ๆ เนื้อหาความรูห้ รือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็นใน เนื้อหาความรู้
ในบริบทต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ข้อมูลต่าง ๆ บริบทต่าง ๆ ได้ถูกต้องเป็น หรือข้อมูลต่าง ๆ
ที่พบเห็นในบริบท บางส่วนและไม่ครบถ้วน ที่พบเห็นในบริบท
ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง
แต่ไม่ครบถ้วน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด (ต่อ)
ตัวชี้วัดที่ 2 คิดขั้นสูง (การคิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ)
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมบ่งชี้
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (1) ปรับปรุง (0)
1.คิดสังเคราะห์เพื่อ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ
ประกอบการวางแผน ประมวลผลข้อมูล วางแผน ประมวลผลข้อมูล วางแผน ประมวลผล ข้อมูล วางแผน ประมวลผลข้อมูล
ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง วางแผน ออกแบบ
คาดการณ์ ประเมินผล คาดการณ์และประเมิน คาดการณ์และประเมินผล คาดการณ์ และประเมิน ปรับปรุง คาดการณ์
ข้อสรุป ลงข้อสรุปได้ถูกต้อง ข้อสรุปได้ถูกต้อง ตลอดจน ลงข้อสรุปได้ถูกต้อง และประเมิน
และตรวจสอบ ตลอดจนนำผลที่ได้ นำผลทีไ่ ด้ไปสร้างผลงานได้ ลงข้อสรุปไม่ได้
ความเหมาะสมของ ไปสร้างผลงานที่มคี ุณภาพ
ข้อมูลที่พบเห็นในบริบท
ต่าง ๆ
2.คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง
เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ คิดริเริ่มแปลกใหม่ คิดริเริ่มแปลกใหม่ คิดในทางบวกและประยุกต์ คิดหลากหลาย
สร้างสิ่งใหม่ในทางบวก คิดในทางบวก คิดในทางบวก และประยุกต์ สร้างสิ่งใหม่ได้ คิดในทางบวกและ
เกี่ยวกับตนเองและ และประยุกต์สร้างสิ่งใหม่ สร้างสิ่งใหม่เกี่ยวกับตนเอง ประยุกต์
สังคมได้อย่างเหมาะสม เกี่ยวกับตนเองและสังคม หรือสังคม สร้างในสิ่งใหม่ไม่ได้
3.คิดอย่างมีวิจารญาณ คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม
เพื่อตัดสินใจเลือกทาง มีเหตุผลเชิงตรรกะ มีเหตุผลเชิงตรรกะ มีเหตุผลเชิงตรรกะและ รอบด้าน หรือ
เลือกที่หลากหลายโดย ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ และตัดสินใจเลือกทางเลือก ตัดสินใจเลือกทางเลือกโดย มีเหตุผลเชิงตรรกะ
ใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม หลากหลาย โดยใช้เกณฑ์ โดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม ใช้เกณฑ์ที่เหมาะสมได้ และตัดสินใจเลือก
ที่เหมาะสมเกีย่ วกับตนเอง เกี่ยวกับตนเองหรือสังคม ทางเลือกโดยใช้
และสังคม เกณฑ์ทเี่ หมาะสม
ไม่ได้

ภาคผนวกแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้

เอกสารแนบท้าย 1 ใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น


เอกสารแนบท้าย 2 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เอกสารแนบท้าย 3 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินสมรรถนะของผู้เรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนรับชมวิดีทศั น์โฆษณา จากนัน้ วิเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ตามหัวข้อที่กำหนดให้ ชื่อ-สกุล......................................................................................ชั้น ม.6/...... เลขที่........

ใบกิจกรรม เรื่อง มีอะไรอยู่ในนั้น

คำจำกัดความ.................................................. คำจำกัดความ..................................................

ใคร ทำอะไร ที่ไหน ตัวละครที่ 1 ลักษณะนิสัย ..............................................


................................... ................................... ...................................
............................................ ....................................................................
.... .... ....

เมื่อไหร่ ตัวละครที่ 2
อย่างไร.................................................................... ลักษณะนิสัย ..............................................
...................................
................................................................................ ............................................ ....................................................................
....
ชื่อผลิตภัณฑ์.
................................................................................
ฉากที่ประทับใจ ..... .................................... สโลแกนของผลิตภัณฑ์ ดนตรีในเหตุการณ์ที่ประทับใจ
.................................................................................................................................... .......................................................... .............................................................
.......................................................... ............................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
บทสนทนาที่ชื่นชอบ....................................................................................................
.................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
.................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
..... .....
คำจำกัดความ.................................................. คำจำกัดความ..................................................
รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่เรียนรู้”
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......./............
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
-เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรง -ไม่ตั้งใจเรียน
เลขที่ ชื่อ - สกุล -บันทึก วิเคราะห์ และ -บันทึก วิเคราะห์ เวลา -ไม่บันทึก
สรุปองค์ความรู้ และสรุปองค์ -บันทึกความรู้ วิเคราะห์ และ
ลงในใบกิจกรรม ความรู้ลงในใบ ลงในใบ สรุปองค์ความรู้
-มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ กิจกรรม
กิจกรรม ลงในใบกิจกรรม
ด้วยความกระตือรือร้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว
รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวินัย”
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......./............
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
-เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรง -ไม่ตั้งใจเรียน
เลขที่ ชื่อ - สกุล -บันทึก วิเคราะห์ และ -บันทึก วิเคราะห์ เวลา -ไม่บันทึก
สรุปองค์ความรู้ และสรุปองค์ -บันทึกความรู้ วิเคราะห์ และ
ลงในใบกิจกรรม ความรู้ลงในใบ ลงในใบ สรุปองค์ความรู้
-มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ กิจกรรม
กิจกรรม ลงในใบกิจกรรม
ด้วยความกระตือรือร้น
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40

ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว)
…………./………………………/……………

ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว


รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินสมรรถนะของผู้เรียน “ความสามารถในการคิด”
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วระบุระดับคุณภาพลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมบ่งชี้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......./............
ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2
เลขที่ ชื่อ - สกุล พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ หมายเหตุ
1 2 3 1 2 3
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27

ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว


รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเพื่อประเมินสมรรถนะของผู้เรียน “ความสามารถในการคิด”
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วระบุระดับคุณภาพลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมบ่งชี้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......./............
ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2
เลขที่ ชื่อ - สกุล พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ หมายเหตุ
1 2 3 1 2 3
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40

ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว)
…………./………………………/……………

ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว


รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

เกณฑ์การประเมินสมรรถนะของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
ตัวชี้วัดที่ 1 คิดพื้นฐาน (การคิดวิเคราะห์)
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมบ่งชี้
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (1) ปรับปรุง (0)

1. จำแนก จัดหมวดหมู่ มีพฤติกรรมบ่งชี้ ดังนี้ มีพฤติกรรมบ่งชี้ 3 มีพฤติกรรมบ่งชี้ 2 มีพฤติกรรมบ่งชี้


จัดลำดับความสำคัญ 1. จำแนกข้อมูลได้ พฤติกรรมในบริบท พฤติกรรม ในบริบทต่าง ๆ พฤติกรรมใด
และเปรียบเทียบข้อมูล 2. จัดหมวดหมู่ข้อมูลได้ ต่าง ๆ ได้อย่าง ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้อง พฤติกรรมหนึ่ง
ในบริบทต่าง ๆ 3. จัดลำดับความสำคัญของ เหมาะสม กับความเป็นจริง หรือไม่ปรากฏ
ข้อมูลได้ สอดคล้องกับ พฤติกรรมใดเลย
4. เปรียบเทียบข้อมูลได้ ความเป็นจริง
ในบริบทต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับความเป็นจริง
2. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระบุความสัมพันธ์ของ ระบุความสัมพันธ์ ระบุความสัมพันธ์ของ ไม่สามารถระบุ
ของส่วนประกอบของ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้อมูล ของส่วนประกอบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลในบริบทต่าง ๆ และสามารถเชื่อมโยงกับ ต่าง ๆ ของข้อมูล ของข้อมูลได้ถูกต้อง ส่วนประกอบ
เหตุการณ์ที่พบเห็นในในบริบท และสามารถเชื่อม แต่ไม่สามารถเชื่อมโยงกับ ต่างๆ ของข้อมูล
ต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสมผล โยงกับเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่พบเห็นในบริบท และไม่สามารถ
ที่พบเห็นในบริบท ต่าง ๆ ได้ เชื่อมโยงกับ
ต่าง ๆ ได้ เหตุการณ์ที่
พบเห็นใน
บริบทต่าง ๆ ได้
3. ระบุหลักการสำคัญหรือ ระบุหลักการสำคัญหรือแนวคิด ระบุหลักการสำคัญ ระบุหลักการหรือแนวคิดที่มี ระบุหลักการ
แนวคิดในเนื้อหาความรู้ ในเนื้อหาความรู้หรือข้อมูลต่างๆ หรือแนวคิด อยู่ในเนื้อหาความรู้หรือ สำคัญหรือแนวคิด
ข้อมูลทีพ่ บเห็นในบริบท ที่พบเห็นในบริบทต่าง ๆ ได้ ในเนื้อหาความรู้ ข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็นใน ในเนื้อหาความรู้
ต่าง ๆ อย่างถูกต้องและครบถ้วน หรือ ข้อมูลต่าง ๆ บริบทต่าง ๆ ได้ถูกต้องเป็น หรือข้อมูลต่าง ๆ
ที่พบเห็นในบริบท บางส่วนและไม่ครบถ้วน ที่พบเห็นในบริบท
ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง
แต่ไม่ครบถ้วน

ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว


รายวิชา ศิลปศึกษา5 (ศ33101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
ตัวชี้วัดที่ 2 คิดขั้นสูง (การคิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ)
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมบ่งชี้
ดีเยี่ยม (3) ดี (2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (1) ปรับปรุง (0)

1. คิดสังเคราะห์เพื่อ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ รวบรวม จัดกระทำ


ประกอบการวางแผน ประมวลผลข้อมูล วางแผน ประมวลผลข้อมูล วางแผน ประมวลผล ข้อมูล วางแผน ประมวลผลข้อมูล
ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง ออกแบบ ปรับปรุง วางแผน ออกแบบ
คาดการณ์ ประเมินผล คาดการณ์และประเมิน คาดการณ์และประเมินผล คาดการณ์ และประเมิน ปรับปรุง คาดการณ์
ข้อสรุปและตรวจสอบ ลงข้อสรุปได้ถูกต้อง ข้อสรุปได้ถูกต้อง ตลอดจน ลงข้อสรุปได้ถูกต้อง และประเมิน
ความเหมาะสมของ ตลอดจนนำผลที่ได้ไปสร้าง นำผลทีไ่ ด้ไปสร้างผลงานได้ ลงข้อสรุปไม่ได้
ข้อมูลที่พบเห็นในบริบท ผลงานที่มีคณ
ุ ภาพ
ต่าง ๆ

2. คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดคล่อง


เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ คิดริเริ่มแปลกใหม่ คิดริเริ่มแปลกใหม่ คิดในทางบวกและประยุกต์ คิดหลากหลาย
สร้างสิ่งใหม่ในทางบวก คิดในทางบวก คิดในทางบวก และประยุกต์ สร้างสิ่งใหม่ได้ คิดในทางบวกและ
เกี่ยวกับตนเองและ และประยุกต์สร้างสิ่งใหม่ สร้างสิ่งใหม่เกี่ยวกับตนเอง ประยุกต์
สังคมได้อย่างเหมาะสม เกี่ยวกับตนเองและสังคม หรือสังคม สร้างในสิ่งใหม่ไม่ได้

3. คิดอย่างมีวิจารญาณ คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม รอบด้าน คิดแบบองค์รวม


เพื่อตัดสินใจเลือก มีเหตุผลเชิงตรรกะ มีเหตุผลเชิงตรรกะ มีเหตุผลเชิงตรรกะและ รอบด้าน หรือ
ทาง เลือกที่หลากหลาย ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ และตัดสินใจเลือกทางเลือก ตัดสินใจเลือกทางเลือกโดย มีเหตุผลเชิงตรรกะ
โดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม หลากหลาย โดยใช้เกณฑ์ โดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม ใช้เกณฑ์ที่เหมาะสมได้ และตัดสินใจเลือก
ที่เหมาะสมเกีย่ วกับตนเอง เกี่ยวกับตนเองหรือสังคม ทางเลือกโดยใช้
และสังคม เกณฑ์ที่เหมาะสม
ไม่ได้

ครูผสู้ อน นางสาววิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว

You might also like