You are on page 1of 83

ชีวิตและสิ่งแวดล้อม

นิเวศวิทยา
Ecology

Ecology มาจากภาษากรีก
‘oikos’ = บ้านหรือที่อยู่อาศัย
‘logos’ = วิชาหรือวิทยาศาสตร์
ความหมาย
• นิเวศวิทยาเป็นวิชาที่กล่าวถึงสิ่งมีชีวิต (organism) กับ
สิ่งแวดล้อม (environment) หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่
รอบ ๆ สิ่งมีชีวิตนัน้ ๆ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชวี ิตด้วยกันหรือ
สิ่งไม่มีชีวิต
ขอบเขตของนิเวศวิทยา

สรีรวิทยา

พันธุ์ศาสตร์ นิเวศวิทยา พฤติกรรม

วิวัฒนาการ
ลาดับขั้นของธรรมชาติ
สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
ดารงอยู่ได้อย่างไร
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
1. ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Components)
แบ่งได้ 3 ประเภท
1.1 อนินทรียสาร (Inorganic substance)
องค์ประกอบที่สาคัญในสิ่งมีชีวิต เช่น C N P ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การหมุนเวียนของแร่ธาตุในวัฎจักรชีวธรณีเคมี

1.2 อินทรียสาร (Organic compound)


สารอินทรีย์ที่จาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
1.3 ภูมิอากาศ (Climate)
ปัจจัยจากัด (Limiting factor) เช่น อุณหภูมิ แสง
ความชื้น เป็นต้น
2. ส่วนประกอบที่มีชีวิต (Biotic components)
2.1 จำแนกตำมกำรสร้ำงอำหำร
2.1.1 สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง (Autotrophic
organism) :
Photosynthesis/Chemosynthesis)
2.1.2 สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง
(Heterotrophic organism)
2.2 จาแนกตามการกินอาหารหรือถ่ายทอดพลังงาน
(tropic niche)
2.2.1 ผู้ผลิต (Producer)
2.2.2 ผู้บริโภค (Consumer)
Herbivore
Carnivore
Omnivore
Scavenger
3. ผู้ย่อยอินทรียสาร
รา แบคทีเรีย
พลังงานในระบบนิเวศ
SUN
Radiant energy
Producer Heat
Chemical Energy
Consumer and Decomposer Heat

Mechanical Energy
แบบแผนการถ่ายทอดพลังงาน

Food Chain : ลูกโซ่อาหาร 3 แบบ


1. แบบจับกิน (Grazing food chain)
พืช ผู้บริโภคขั้นที่ 1 ผู้บริโภคขั้นที่ 2
2. แบบเศษอินทรีย์ (Detritus food chain)
เศษใบไม้ ปู กุ้ง หอย ปลา นก
3. แบบพาราสิต (Parasitic food chain)
นก ไรนก โปรโตซัว
Food Chain : ลูกโซ่อาหาร
http://sciencebitz.com/wp-content/uploads/2010/08/graden-food-chain.gif
www.sciencebob.com
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
ความหมายสิ่งแวดล้อม

สิ่งแวดล้อมคือทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
รวมทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัย
ในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งจะช่วยเสริมสร้าง
หรือทาลายอีกส่วนหนึ่งอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ สิ่งแวดล้อมเป็นวงจรและ
วัฎจักรที่เกี่ยวข้องกันไปทั้งระบบ
สิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนคือ

สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
(natural environment)
ทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติที่แวดล้อม
ตัวมนุษย์อยู่ เป็นได้ทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น ต้นไม้
ภูเขา แม่น้า อากาศ สัตว์ต่าง
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
(Man-made environment)

1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ชุมชนเมือง สิ่งก่อสร้าง


โบราณสถาน และศิลปกรรม เป็นต้น
2. สิ่งแวดล้อมทางสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและ
วัฒนธรรม เช่นการลอยกระทง การไหลเรือไฟ ผีตาโขน เป็นต้น
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อการดารงชีวิตของ
มนุษย์
ลักษณะอาหารที่บริโภค
ลักษณะเครื่องนุ่งห่ม
ลักษณะที่อยู่อาศัย
ลักษณะสุขภาพอนามัย
ประวัติของการใช้ทรัพยากร เทคโนโลยี การพัฒนา
และการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
Tool-making revolution
Agricultural revolution
Industrial revolution
Information and Electronic revolution
Population Growth

Resource สมช.ในโลก Pollution


Depletion (Biosphere)

Economic Growth and


Technological Progress
สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. การเพิ่มขึ้นของประชากร
2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางด้าน
เทคโนโลยี
3. ความเชื่อและค่านิยมที่ไม่เหมาะสม
4. ปัญหาทางการเมือง
5. ภัยธรรมชาติและอุบัติเหตุ
ผลสืบเนื่องอันเกิดจากปัญหาสิ่งแวดล้อม คือ
1.ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอ เนื่องจากมีการใช้ทรัพยากร
กันอย่างไม่ประหยัด อาทิ ป่าไม้ถูกทาลาย ดินขาดความอุดม
สมบูรณ์ ขาดแคลนน้า
2.ภาวะมลพิษ (Pollution) เช่น มลพิษในน้า ในอากาศและเสียง
มลพิษในอาหาร สารเคมี อันเป็นผลมาจากการเร่งรัด
ทางด้าน อุตสาหกรรมนั่นเอง
ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอ
การขาดแคลนอาหาร
การขาดแคลนพลังงาน
การทาลายป่าในเขตร้อน
ดินขาดความอุดมสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

1. มลพิษทางน้า (Water Pollution)


2. มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
3. ขยะมูลฝอย (Solid Wastes)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
การใช้ประโยชน์ของแหล่งน้า

DO (mg/l)
Effluent (BOD loading)
1 4

2
3
Self Purification
Distance (M)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

น้า-เสีย ได้อย่างไร?
น้าเสีย หมายถึง น้าที่มีสารใด ๆ ที่ไม่พึงปรารถนาปนเปื้อนอยู่ โดยเฉพาะ
สารอินทรีย์ ไหลลงสู่แม่น้า เกิดผลเสีย 2 ประการคือ

1. เพิ่มอาหารเสริมแก่พืชน้า; N, P Euthophication
2. ลดปริมาณออกซิเจนในน้า; Anaerobic, สีดามีกลิ่นเหม็น (H2S)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

1. น้าเสียจากบ้าน ร้านค้าและอาคารที่ทาการ
2. น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
3. ปุ๋ยที่ใช้ในการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ ยาฆ่าแมลงและยากาจัด
วัชพืช
4. ผิวดินที่พังทลาย ไฟป่า
5. การใช้ที่ดินที่ขาดการควบคุม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
ลักษณะของน้าเสีย
แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ทางกายภาพ, ทาง
เคมี และทางชีววิทยา
1. ลักษณะทางกายภาพ (physical characteristics of
wastewater) มักประกอบไปด้วยปริมาณของแข็ง
ทั้งหมด กลิ่น อุณหภูมิ สี ความขุ่น
2. ลักษณะน้าเสียทางเคมี (chemical characteristics
of wastewater) จะประกอบด้วยสารทางอินทรียสาร
และทางอนินทรียสาร เช่น pH, Acidity, Alkalinity,
Toxic chemical เช่น Pb, Hg, CN, Cd และ
น้ามัน (ไฮโดรคาร์บอน)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ลักษณะของน้าเสีย
3.ลักษณะน้าเสียทางชีววิทยา (Biological
Characteristics of Wastewater) ประกอบด้วย
1. พวกจุลินทรีย์ที่พบทั่ว ๆ ไป ในแม่นาล
้ าคลองและในระบบ
บาบัดน้าเสียแบบชีวภาพ
2. พวก Pathogenic Organisms ในน้าเสีย
3. พวก Organisms ที่จะบ่งบอกถึงระดับความสกปรกของ
น้า
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การบาบัดน้าเสีย
การเลือกระบบบาบัดน้าเสีย
ขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะของน้าเสีย ระดับการ
บาบัดน้าเสียที่ต้องการ สภาพทั่วไปของท้องถิ่น ค่าลงทุน
ก่อสร้างและค่าดาเนินการดูแลและบารุงรักษา และขนาด
ของที่ดินที่ใช้ในการ ก่อสร้าง เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ระบบ
บาบัดน้าเสียที่เลือกมีความเหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น ซึ่งมี
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
START

DO (mg/l)
Effluent (BOD loading)

4 Self Purification
1 3
2
Distance (M)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)


ชั้นบรรยากาศห่อหุ้มโดยรอบหนาประมาณ 15 กม.ประกอบด้วย
N, O ฝุ่น ละอองไอน้าและเชื้อจุลินทรีย์ O 5-6 km
อากาศเสีย หมายถึง ส่วนประกอบของอากาศเปลี่ยนแปลงไปมีปริมาณที่มากกว่า
ระดับปกติ และนานเกินพอที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์ สัตว์ พืช หรือ
ทรัพย์สิน ต่าง ๆ
แหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศที่สาคัญของไทย แบ่งเป็น 2 กลุ่มหลักคือ
1. ยานพาหนะ (แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ : Non point source)
2. โรงงานอุตสาหกรรม(แหล่งกาเนิดไม่เคลื่อนที่ : Point source)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

สารมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ได้แก่
1. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
2. ฝุ่นละออง
3. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
4. ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน

ซึ่งมีปริมาณการระบายออกสู่บรรยากาศมากขึ้น
ตามปริมาณการใช้เชื้อเพลิง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
ท้องฟ้า…ล่มสลาย
วิกฤตการณ์ ที่เกิดขึ้น ตามมลภาวะอากาศที่เพิ่มขึ้น คือ
1. ฝนกรด
2. ชั้นโอโซนถูกทาลาย
3. อากาศร้อนขึ้นทั่วโลก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effects)
ก๊าซที่ทาให้เกิดปัญหาหลักคือ ไนโตรเจนออกไซด์,
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์
และ มีเทน
คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (CFCs)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ก๊าซเรือนกระจก มาจากไหน?
1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์; เกิดจาการเผาไหม้เชื้อเพลิงถ่านหิน
เพื่อผลิตไฟฟ้า การตัดไม้ทาลายป่า; ทาให้เกิดพลังงาน
ความร้อนสะสมในบรรยากาศมากที่สุด
2. ก๊าซมีเทน; เกิดเองตามธรรมชาติ จากของเสียสัตว์ การทานา
การเผาไหม้เชื้อเพลิง
3. ก๊าซไนตรัสออกไซด์; จากการใช้ปุ๋ยไนเตรด การเผาไหม้หญ้า
เชื้อเพลิงถ่านหิน
4. CFCs; สังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ในเครื่องทาความเย็นต่าง ๆ
ทาให้เกิดรูรวั่ ในชั้นโอโซน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ผลกระทบจากมลพิษที่เกิดกับชั้นบรรยากาศ
1. ทะเลสาบในยุโรป และอเมริกาเหนือ. สวีเดน: เกิดฝนกรด
2. ป่าไม้ถูกทาลายในยุโรปและเลยไปถึงรัสเซีย
3. โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น : ในฝรั่งเศส และอเมริกา
4. กระแสน้าในมหาสมุทรเกิดการเปลี่ยนทิศทาง และผลผลิต
ด้านอาหารได้รับความกระทบกระเทือน (นิเวศวิทยาเปลี่ยน)
5. น้า: น้าแข็งละลาย
6. พันธุกรรมของพืชและสัตว์เปลี่ยนไป
7. มะเร็งผิวหนังในมนุษย์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

มาตรการป้องกันเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก
1. มาตรการลดการใช้พลังงานของประเทศ
2. มาตรการด้านกฎหมาย
3. มาตรการด้านภาษี
4. มาตรการด้านการเงิน
5. มาตรการด้านการจัดการการใช้ไฟฟ้า
6. การจัดหาพลังงานหมุนเวียนทดแทนเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก
- การพัฒนาพลังน้า
- การพัฒนาชีวมวล
- การปลูกไม้โตเร็ว
- การนาพลังงานแสงอาทิตย์และลมมาใช้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
เทคโนโลยีที่นามาใช้ป้องกันและแก้ไขมลพิษทางอากาศ
1. จากยานพาหนะ
2. จากโรงงานอุตสาหกรรม; ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการกาจัด
ที่ต้องการ และ ลักษณะของกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
- ห้องดักฝุ่น (Setting Chamber)
- ไซโคลน (Cyclone)
- ระบบผ้ากรอง (Bag Filter)
- ระบบดักฝุ่นโดยไฟฟ้า (Electrostatic precipitator)
- ระบบสเปรย์น้า (Spray Chamber)
- ระบบดักบนผิวตัวกลาง (Packed Scrubber)
- ระบบฉีดดักแบบเวนจูรี (Venturi Scrubber)
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

เทคโนโลยีที่นามาใช้ป้องกันและแก้ไขมลพิษทางอากาศ

Cyclone
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

Bag Filter
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

Electrostatic
Precipitator
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

Spray Chamber
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

Packed Scrubber
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

Venturi Scrubber
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

มาตรการป้องกัน แก้ไข และควบคุมคุณภาพอากาศ

1. การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ
2. การควบคุมและป้องกันการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด
3. การกาหนดมาตรฐานอากาศ
4. การออกกฎหมาย
5. การกาหนดนโยบายและวางแผนเพื่อควบคุมมลพิษอากาศ
6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียว
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ขยะมูลฝอย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่


1. เศษอาหารและพืชผัก
2. เศษแก้ว เศษวัสดุก่อสร้าง
3. วัสดุชิ้นใหญ่ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า
4. วัสดุที่มีสารพิษ
5. วัสดุที่ยังมีสภาพดี เช่น นสพ.
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภาวะแวดล้อม

1. เป็นแหล่งอาหารและเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรค
2. เกิดกลิ่นเหม็นและก่อความราคาญ
3. เกิดน้าเสีย; น้าชะขยะ (Leachate)
4. เกิดมลพิษทางอากาศ, ก๊าซมีเทน
5. มลพิษทางทัศนียภาพ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การกาจัดขยะมูลฝอย
1. การเผากลางแจ้ง
2. การเทกองบนพื้นดิน
3. การทิ้งลงทะเล
4. การหมักทาปุ๋ย
5. การแปรสภาพเป็นพลังงาน
6. การฝังกลบ
7. การเผาในเตา
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การเทกองบนพื้นดิน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การเผาในเตา
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การฝังกลบ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การฝังกลบ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

การนากลับมาใช้ใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วท 101 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต

ข้อดี-ข้อเสียในการกาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกหลักวิชาการ
1. เตาเผาขยะ
2. ฝังกลบ
3. หมักทาปุ๋ย
4. การแปรสภาพเป็นพลังงาน

You might also like