You are on page 1of 9

Lab 3 - 1

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

ปฏิบัตกิ ารทดสอบที่ 3
การทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะและค่าการดูดซึมน้าของมวลรวมละเอียด
Specific Gravity and Water Absorption of Fine Aggregate

3.1 วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
เพื่ อ หาค่ าความถ่ ว งจ าเพาะของวัส ดุ แ บบเหมารวม (bulk specific gravity) และแบบปรากฏ (apparent
specific gravity) และการหาค่ า การดู ดซึ มน้ า (water absorption) ของมวลรวมที่ มีขนาดเล็ก กว่า ตะแกรงเบอร์ 4
(4.75 mm) เพื่อใช้ในการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลติกคอนกรี ต

3.2 มาตรฐานที่ใช้ ในการทดสอบ


ASTM C 127-88, AASHTO T 85-70, มยธ.(ท) 101.5-2550

3.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการทดสอบ


การหาค่ า ความถ่ ว งจ าเพาะของหิ น ที่ มี ข นาดเล็ ก กว่ า เบอร์ 4 (4.75 mm) ท าได้ โ ดยการใช้ข วดหาค่ า
ความถ่วงจาเพาะ (pycnometer) ที่มีขนาด 100 ถึง 500 cm3 สาหรับ Bin 1 ซึ่ งเป็ นหิ นฝุ่ น จะต้อ งท าการแยกเป็ น
สองขนาดโดยการร่ อนผ่านตะแกรงเบอร์ 200 และค้างตะแกรงเบอร์ 200 ฝุ่ นหิ น ที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 นั้น
จะทาการคานวณหาเฉพาะค่าความถ่วงจาเพาะแบบปรากฏ (apparent specific gravity) เนื่องจากมีความละเอียด
ค่อนข้างมาก จะถือว่าช่องว่างที่น้ าสามารถซึมผ่านได้ (capillary pores) มีอยู่น้อยมาก ทาให้ค่าการดูดซึมน้ ามีค่าต่า
เมื่ อเที ยบกับ หิ น ที่มีขนาดโตกว่า ส่ ว นน้ าหนักของฝุ่ นหิ นที่ ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 สามารถหาได้ภายหลังการ
อบแห้งเพื่อหาน้ าหนักของฝุ่ นหินแห้งเริ่ มต้น
ความถ่วงจาเพาะของตัวอย่างทดสอบทั้งสามขนาด คือ หินขนาด 3/8 in. ที่ร่อนผ่านตะแกรง เบอร์ 4 และ
ตัวอย่างหิ นฝุ่ นที่ร่อนผ่านและค้างตะแกรงเบอร์ 200 สามารถหาได้โดยการแทนที่น้ า แต่มักจะเกิดฟองอากาศ
เล็ ก ๆ ในขวด จึ งต้อ งท าการต้มไล่ ฟ องอากาศออกไป ส่ งผลให้ น้ าหนั ก ของน้ าในขวด pycnometer ที่ ร ะดั บ
ปากขวดเปลี่ยนแปลงไปกับอุณหภูมิ จึงจาเป็ นต้องมีการปรับเทียบ (calibrate) ความถ่วงจาเพาะของน้ าที่อุณหภูมิ
ต่างกัน ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3.1

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 2
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

ตารางที่ 3.1 ความถ่วงจาเพาะของน้ าที่อุณหภูมิต่าง ๆ


C 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
0 0.9999 0.9999 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 0.9999 0.9999 0.9998
10 0.9997 0.9996 0.9995 0.9994 0.9993 0.9991 0.9990 0.9988 0.9986 0.9984
20 0.9982 0.9980 0.9978 0.9976 0.9973 0.9971 0.9968 0.9965 0.9963 0.9960
30 0.9957 0.9954 0.9951 0.9947 0.9944 0.9941 0.9937 0.9934 0.9930 0.9926
40 0.9922 0.9919 0.9915 0.9911 0.9907 0.9902 0.9898 0.9894 0.9890 0.9885
50 0.9881 0.9876 0.9872 0.9867 0.9862 0.9857 0.9852 0.9848 0.9842 0.9838
60 0.9832 0.9827 0.9822 0.9817 0.9811 0.9806 0.9800 0.9795 0.9789 0.9784
70 0.9778 0.9772 0.9767 0.9761 0.9755 0.9749 0.9743 0.9737 0.9731 0.9724
80 0.9718 0.9712 0.9706 0.9699 0.9693 0.9686 0.9680 0.9673 0.9667 0.9660
90 0.9653 0.9647 0.9640 0.9633 0.9626 0.9619 0.9612 0.9605 0.9598 0.9591

3.4 อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ ในการทดสอบ


1) เครื่ องชัง่ (balance) ที่สามารถชัง่ วัสดุได้ไม่น้อยกว่า 1 kg และสามารถอ่านได้ละเอียดถึง 0.1 g
2) ขวดแก้วหาความถ่วงจาเพาะ (pycnometer glass) เป็ นขวดแก้วปากแคบ (flask) ขนาดความจุ 500 cm3
ที่ได้ทาการปรับเทียบ (calibration) แล้วที่อุณหภูมิ 20C
3) กรวยทดสอบความชื้ น ของทราย (sand absorption cone) ท าด้วยโลหะที่มีเส้น ผ่าศูนย์ก ลางด้านบน
38 mm (1.5 in.) และมีเส้นผ่าศูนย์กลางด้านล่าง 89 mm (3.5 in.) และมีความสู ง 74 mm (2.9 in.)
4) แท่งกระทุง้ (tamping rod) ทาด้วยโลหะที่มีน้ าหนัก 340  15 g มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25  3 mm
(1  1/8 in.) ปลายกลมมน
5) เตาอบ (oven) ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ได้ที่ 110 ± 5C
6) ภาชนะใส่หิน

3.5 การเตรี ยมตัวอย่ างทดสอบ


1) ทาการเลือกตัวอย่างวัสดุโดยวิธีแบ่งสี่ (quartering) หรื อใช้เครื่ องแบ่งตัวอย่าง (sample splitter) แล้ว
ทาการล้างให้ฝุ่นหรื อสิ่ งสกปรกที่ติดอยู่ตามผิวของวัสดุออกให้หมด แล้วจึงนามาอบให้แห้งในเตาอบที่อุณหภูมิ
110 ± 5C เป็ นเวลา 24±4 ชัว่ โมง
2) นาออกจากตูอ้ บ แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นที่อุณหภูมิปกติ แล้วทาการร่ อนแบบล้าง
3) หินขนาด 3/8 in. ให้นาส่วนที่ร่อนผ่านตะแกรง เบอร์ 4 (4.75 mm) จานวน 500 g
4) หินฝุ่ นให้ร่อนแยกเป็ นสองส่วน คือ ส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 และ ส่ วนที่ค้างตะแกรงเบอร์ 200
ตัวอย่างละ 500 g
5) นาตัวอย่างดังกล่าวแช่ในน้ าเป็ นเวลาประมาณ 15±4 ชัว่ โมง เพื่อรอทาการทดสอบในขั้นต่อไป

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 3
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

3.6 ขั้นตอนการทดสอบ
1) นาวัสดุที่เตรี ยมได้จากข้อ 3.5 มาทาให้อิ่มตัวผิวแห้ง ซึ่งอาจทาได้โดยการผึ่งลม เป่ าด้วยลมร้อน หรื อ
ใช้วิธีเกลี่ยบนกระดาษซับน้ า แล้วนามาทดสอบสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง (saturate surface dry ; SSD)
2) การทดสอบสภาพอิ่มตัวผิวแห้งของหิ นขนาด 3/8 in. ที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 ให้ทดสอบโดยการ
ใช้มือกาตัวอย่าง และให้สังเกตดูว่าถ้าตัวอย่างยังคงรู ป หรื อมีน้ าติดอยู่บนฝ่ ามือ แสดงว่ายังคงมีน้ าอยู่ที่ผิว
3) ส าหรั บ หิ น ฝุ่ นส่ ว นที่ ค้ า งตะแกรงเบอร์ 200 ให้ ท ดสอบสภาพอิ่ ม ตั ว ผิ ว แห้ งโดยการใช้ sand
absorption cone โดยใส่ตวั อย่างลงไปในกรวยจนเต็มอย่างหลวม ๆ แล้วทาการกระทุง้ ด้วย tamping rod จานวน 25
ครั้ง โดยปล่อยให้ตกอย่างอิสระที่ระยะความสู งจากปากกรวย 5 mm แล้วค่อย ๆ ยกขึ้นตรง ๆ และให้สังเกตดูว่า
ถ้าตัวอย่างยังคงรู ปแสดงว่าตัวอย่างนั้นเปี ยกไป แต่ถา้ ตัวอย่างทลายแสดงว่าตัวอย่างนั้นแห้งเกินไป ดังนั้นสภาพ
อิม่ ตัวผิวแห้งของตัวอย่างจะมีท้งั สองลักษณะผสมกัน
4) ส่วนหิ นฝุ่ นที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 200 ไม่ตอ้ งทาการทดสอบสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง เนื่ องจากมีความ
ละเอียดค่อนข้างมาก จะถือว่าช่องว่า งที่น้ าสามารถซึ มผ่านได้ (capillary pores) มีอยู่น้อยมาก ดังนั้นหินฝุ่ นที่ร่อน
ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 จะมีเฉพาะมวลในสภาพอบแห้ง (A) แต่จะได้ค่าภายหลังจากนาไปอบแห้งแล้ว
5) ทาการ set ศู น ย์ ขวดเปล่ า แล้ว น าตัว อย่ างจ านวน 500 g ;(B) ใส่ ล งไปในขวด (เพื่ อ ป้ องกัน ไม่ใ ห้
น้ าหนักของตัวอย่างหายไป)
6) เติมน้ าลงไปในขวดในระดับพอประมาณที่จะไล่ฟองอากาศได้ แล้วทาการไล่ฟองอากาศขนาดใหญ่
โดยการปิ ดฝาขวดแล้วเขย่า หรื อกลิ้งขวดไปมา
7) ทาการไล่ฟองอากาศเล็ก ๆ โดยการนาขวดแก้วที่บรรจุตัวอย่างไปต้มให้ความร้อนที่อุณหภูมิไม่เกิน
100C พร้อมทั้งหมุนขวดไปมา
8) ใช้หลอดยางดู ดฟองอากาศ ฝุ่ น หรื อสารแขวนลอยต่าง ๆ ที่ยงั มี อยู่ออกให้ หมด แล้วตั้งทั้งไว้ใ ห้
เย็นตัวลงที่อุณหภูมิห้อง
9) นาขวดแก้วที่บรรจุตัวอย่างที่มีระดับน้ าถึงขีดบอกปริ มาตร ไปชั่งเพื่อหาค่ามวลของ ตัวอย่าง + ขวด
+ น้ า ; (W1) แล้วทาการบันทึกค่าดังกล่าว 3 ค่าอุณหภูมิ โดยอาจใช้อุณหภูมิห่างกันประมาณ 5C และเมื่อเสร็จสิ้น
แล้ว ให้ เทตัวอย่ างลงในภาชนะพร้ อ มทั้งล้างเอาตัว อย่ างออกให้ ห มด แล้ว น าเข้าตู้อ บเพื่ อ หาค่ ามวลตัว อย่ า ง
ในสภาพอบแห้ง (A) ต่อไป
10) ทาการปรับเทียบมวลของขวด + น้ า โดยการต้มแล้วปล่อยให้เย็นตัวลงที่อุณหภูมิเดียวกับในขั้นตอน
ข้อ 9) แล้วบันทึกค่ามวลของ ขวด + น้ า ที่อุณหภูมิเดียวกัน ; (W2)

3.7 การรายงานผลการทดสอบ
1) ความถ่วงจาเพาะแท้จริ ง (apparent specific gravity)
2) ความถ่วงจาเพาะแบบเหมารวมสภาพอบแห้ง (bulk specific gravity – oven dry)
3) ความถ่วงจาเพาะแบบเหมารวมสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง (bulk specific gravity – saturate surface dry)
4) ค่าการดูดซึมน้ า (absorption)

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 4
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

3.8 สู ตรที่ใช้ ในการคานวณ


1) ความถ่วงจาเพาะปรากฏ (apparent specific gravity)
A
ที่ อุณหภูมิทดสอบ GA ( t / t  C ) =
( A + W2 − W1 )

GA( t / t C )
ที่ อุณหภูมิ 30C GA(30 / 30 C ) = dt 
0.9957

2) ความถ่วงจาเพาะแบบเหมารวมสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง (bulk specific gravity – saturate surface dry)


B
ที่ อุณหภูมิทดสอบ GBS (t / t C ) =
( B + W2 − W1 )
GBS (t / t C )
ที่ อุณหภูมิ 30C GBS (30 / 30 C ) = dt 
0.9957

3) ความถ่วงจาเพาะแบบเหมารวมสภาพอบแห้ง (bulk specific gravity – oven dry)


A
ที่ อุณหภูมิทดสอบ GBD(t / t C ) =
( B + W2 − W1 )

GBD (t / t C )
ที่ อุณหภูมิ 30C GBD (30 / 30 C ) = dt 
0.9957

4) ค่าการดูดซึมน้ า (absorption)
( B − A)
Percent of Absorption = 100%
A

โดยที่ A = มวลของวัสดุอบแห้ง
B = มวลของวัสดุในสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง
W1 = มวลของ ตัวอย่าง + ขวด + น้ า
W2 = มวลของ ขวด + น้ า

3.9 ข้ อควรระวัง
• การเช็ดน้ าที่เคลือบอยู่บนผิว วัสดุ และการชั่งน้ าหนักของวัส ดุในสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง ให้กระทาอย่า ง
รวดเร็วเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการระเหยของน้ า
• การต้มไล่ฟองอากาศ ควรทาอย่างระมัดระวังไม่ให้ขวดกระทบกับภาชนะที่ใช้ตม ้ หรื ออาจใช้ผา้ รอง
เพื่อป้องกันการกระทบ
• ในการน าวัส ดุมาทาการอบแห้งเพื่อหาน้ า หนักวัส ดุอบแห้งในอากาศ ต้องคอยระวังเอาวัส ดุออกจาก
ขวดให้หมด

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 5
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

3.10 เอกสารอ้างอิง
- ชัชวาล เศรษฐบุตร. (2536). คอนกรีตเทคโนโลยี. บริ ษทั ผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จากัด
- นิรชร พึ่งแดง. (2548). การทดสอบวัสดุการทาง (Highway Materials Testing). พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี : ศูนย์ปฏิบตั ิการ
เทคโนโลยีการพิมพ์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- มยธ. (ท) 101.5-2550 วิ ธีการทดสอบหาค่ าความถ่ ว งจาเพาะและค่ าความดูด ซึ มน้ าของวัสดุ มวลรวม ละเอีย ด (Fine
Aggregate)
- The American Association of State Highway Officials. Standard Method of Test for Specific Gravity and
Absorption of Coarse Aggregate. (AASHTO 85-70).
- American Society for Testing and Materials. (2000). Standard Test Method for Specific Gravity and Absorption of
Coarse Aggregate. Annual Book of ASTM Standards Vol.04.02. (ASTM C127-88).

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 6
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

3.11 ตัวอย่ างตารางแสดงผลการทดสอบ


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสี มา
Department of Civil Engineering, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima
04-130-402 Highway Materials Testing

Materials………………………………………….. Source………………………………………….....
Sample No. ………Hot Bin 1 Retained No. 200.… Date of Test………………………………………
Test By……………………………………………. Checked By……………………………………....
ใบรายงานผลการปฏิบัติการทดสอบที่ 3
การทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะและค่าการดูดซึมน้ าของมวลรวมละเอียด
Specific Gravity and Water Absorption of Fine Aggregate
Wt. Pycnometer + SSD. Sample …….…588..……….. g Wt. Container + Dry Sample …….…556………..g
Wt. Pycnometer……………...…………218.……...…. g Wt. Container …………..…………...189………..g
Wt. SSD. Sample (B)………………...…365……..……g Wt. Dry Sample (A)………………….360………..g
Determination No. 1 2 3
Temperature (t) °C 45 40 35
Density of Water (dt) g/ml 0.9902 0.9922 0.9941
Wt. Pycnometer + Water + Sample (W1) g 935.2 936.5 939.3
Wt. Pycnometer + Water (W2) g 706.6 708.5 710.7
Apparent Specific Gravity
GA(t / t °C) = A / (A + W2 – W1) 2.740 2.727 2.740
GA(30/30 °C) = dt.GA(t / t °C) / 0.9957 2.725 2.718 2.735
Bulk Specific Gravity (SSD. Basis)
GBS(t / t °C) = B / (B + W2 – W1) 2.676 2.664 2.676
GBS(30/30 °C) = dt.GBS(t / t °C) / 0.9957 2.661 2.655 2.672
Bulk Specific Gravity (OD. Basis)
GBD(t / t °C) = A / (B + W2 – W1) 2.639 2.628 2.639
GBD(30/30 °C) = dt.GBD(t / t °C) / 0.9957 2.625 2.619 2.635
Average GA (30/30 °C) ; = ………2.663………
Average GBS (30/30 °C) ; = ………2.626………
Average GBD (30/30 °C) ; = ………2.726………
Water Absorption = [(B-A)/A]  100% = ………1.39…..……%

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 7
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

ตารางแสดงผลการทดสอบ
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสี มา
Department of Civil Engineering, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima
04-130-402 Highway Materials Testing

Materials………………………………………….. Source………………………………………….....
Sample No. ………Hot Bin 1 Passing No. 200.… Date of Test………………………………………
Test By……………………………………………. Checked By……………………………………....
ใบรายงานผลการปฏิบัติการทดสอบที่ 3
การทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะและค่าการดูดซึมน้ าของมวลรวมละเอียด
Specific Gravity and Water Absorption of Fine Aggregate
Wt. Pycnometer + SSD. Sample …….……....……….. g Wt. Container + Dry Sample …….……..………..g
Wt. Pycnometer……………...……………...……...…. g Wt. Container …………..………….........………..g
Wt. SSD. Sample (B)………---valueless---......……..…g Wt. Dry Sample (A)……………………...………..g
Determination No. 1 2 3
Temperature (t) °C
Density of Water (dt) g/ml
Wt. Pycnometer + Water + Sample (W1) g
Wt. Pycnometer + Water (W2) g
Apparent Specific Gravity
GA(t / t °C) = A / (A + W2 – W1)
GA(30/30 °C) = dt.GA(t / t °C) / 0.9957
Bulk Specific Gravity (SSD. Basis)
GBS(t / t °C) = B / (B + W2 – W1) ---valueless--- ---valueless--- ---valueless---
GBS(30/30 °C) = dt.GBS(t / t °C) / 0.9957 ---valueless--- ---valueless--- ---valueless---
Bulk Specific Gravity (OD. Basis)
GBD(t / t °C) = A / (B + W2 – W1) ---valueless--- ---valueless--- ---valueless---
GBD(30/30 °C) = dt.GBD(t / t °C) / 0.9957 ---valueless--- ---valueless--- ---valueless---
Average GA (30/30 °C) ; = ………………
Average GBS (30/30 °C) ; = ---valueless---
Average GBD (30/30 °C) ; = ---valueless---
Water Absorption = [(B-A)/A]  100% = ---valueless---

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 8
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

ตารางแสดงผลการทดสอบ
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสี มา
Department of Civil Engineering, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima
04-130-402 Highway Materials Testing

Materials………………………………………….. Source………………………………………….....
Sample No. ………Hot Bin 1 Retained No. 200.… Date of Test………………………………………
Test By……………………………………………. Checked By……………………………………....
ใบรายงานผลการปฏิบัติการทดสอบที่ 3
การทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะและค่าการดูดซึมน้ าของมวลรวมละเอียด
Specific Gravity and Water Absorption of Fine Aggregate
Wt. Pycnometer + SSD. Sample …….……....……….. g Wt. Container + Dry Sample …….……..………..g
Wt. Pycnometer……………...……………...……...…. g Wt. Container …………..………….........………..g
Wt. SSD. Sample (B)………………...……..……..……g Wt. Dry Sample (A)……………………...………..g
Determination No. 1 2 3
Temperature (t) °C
Density of Water (dt) g/ml
Wt. Pycnometer + Water + Sample (W1) g
Wt. Pycnometer + Water (W2) g
Apparent Specific Gravity
GA(t / t °C) = A / (A + W2 – W1)
GA(30/30 °C) = dt.GA(t / t °C) / 0.9957
Bulk Specific Gravity (SSD. Basis)
GBS(t / t °C) = B / (B + W2 – W1)
GBS(30/30 °C) = dt.GBS(t / t °C) / 0.9957
Bulk Specific Gravity (OD. Basis)
GBD(t / t °C) = A / (B + W2 – W1)
GBD(30/30 °C) = dt.GBD(t / t °C) / 0.9957
Average GA (30/30 °C) ; = ………………
Average GBS (30/30 °C) ; = ………………
Average GBD (30/30 °C) ; = ………………
Water Absorption = [(B-A)/A]  100% = ……..…..……%

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


Lab 3 - 9
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 04-130-402 Highway Materials Testing

ตารางแสดงผลการทดสอบ
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสี มา
Department of Civil Engineering, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima
04-130-402 Highway Materials Testing

Materials………………………………………….. Source………………………………………….....
Sample No. ………Hot Bin 2 Passing No.4…...… Date of Test………………………………………
Test By……………………………………………. Checked By……………………………………....
ใบรายงานผลการปฏิบัติการทดสอบที่ 3
การทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะและค่าการดูดซึมน้ าของมวลรวมละเอียด
Specific Gravity and Water Absorption of Fine Aggregate
Wt. Pycnometer + SSD. Sample …….……....……….. g Wt. Container + Dry Sample …….……..………..g
Wt. Pycnometer……………...……………...……...…. g Wt. Container …………..………….........………..g
Wt. SSD. Sample (B)………………...……..……..……g Wt. Dry Sample (A)……………………...………..g
Determination No. 1 2 3
Temperature (t) °C
Density of Water (dt) g/ml
Wt. Pycnometer + Water + Sample (W1) g
Wt. Pycnometer + Water (W2) g
Apparent Specific Gravity
GA(t / t °C) = A / (A + W2 – W1)
GA(30/30 °C) = dt.GA(t / t °C) / 0.9957
Bulk Specific Gravity (SSD. Basis)
GBS(t / t °C) = B / (B + W2 – W1)
GBS(30/30 °C) = dt.GBS(t / t °C) / 0.9957
Bulk Specific Gravity (OD. Basis)
GBD(t / t °C) = A / (B + W2 – W1)
GBD(30/30 °C) = dt.GBD(t / t °C) / 0.9957
Average GA (30/30 °C) ; = ………………
Average GBS (30/30 °C) ; = ………………
Average GBD (30/30 °C) ; = ………………
Water Absorption = [(B-A)/A]  100% = ……..…..……%

ศักดิ์สิทธิ์ พันทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

You might also like