You are on page 1of 28

CHEMISTRY5

!"#$%&'
'()*&+,"-
TEACHER : SUPISSARA NAKPAJON

-AMINE&AMIDE-
สูตรทั่วไปของเอมีน

R-NH2
อะมิโน
(amino)
สูตรโมเลกุลของเอมีน
การเรียกชื่อของเอมีน
การเรียกชื่อของเอมีน

การเรียกชื่อระบบสามัญ (Common name)

เรียกชื่อหมู่แอลคิลก่อน แล้วลงท้ายด้วย “amine”

การเรียกชื่อแบบระบบ IUPAC
อ่านชื่อรากศัพท์ตามจํานวนคาร์บอน
แล้วลงท้ายเสียงด้วย “amine”
การเรียกชื่อของเอมีน

CH3NH2
ระบบสามัญ : Methylamine
ระบบIUPAC : Methanamine
การเรียกชื่อของเอมีน

CH3CH2NH2
ระบบสามัญ : Ethylamine
ระบบIUPAC : Ethanamine
การเรียกชื่อของเอมีน

C3H7NH2
ระบบสามัญ : Propylamine
ระบบIUPAC : Propanamine
การเรียกชื่อของเอมีน

C5H11NH2
ระบบสามัญ : Pentylamine
ระบบIUPAC : Pentanamine
AMINE
โครงสร้างของเอมีนที่ควรรู้จัก

Amine ปฐมภูมิ Amine ทุติยภูมิ Amine ตติยภูมิ


สมบัติของเอมีน
สมบัตข
ิ องเอมีน
! แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุลเป็นพันธะโคเวเลนต์
! แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน
สมบัตข
ิ องเอมีน
! แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุลเป็นพันธะโคเวเลนต์
! แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน
เปรียบเทียบจุดเดือดจุด หลอมเหลว
Carboxylic acid > Alcohol > Amine > Hydrocarbon
เกิด Hydrogen Hydrogen Hydrogen London
bond 2 ที่ bond Bond ที่อ่อน
สมบัตข
ิ องเอมีน
! โมเลกุลเล็กๆจะเป็นสถานะแก๊สที่อุณหภูมห
ิ ้อง
! โมเลกุล 4 อะตอมขึ้นไปจะเป็นของเหลว
! โมเลกุลใหญ่ๆ มักจะเป็นของแข็ง
! โมเลกุลเล็กๆ มักมีกลิ่นแรง เช่น methylamine
จะมีกลิ่นคล้ายแอมโมเนียผสมกลิ่นคาวปลา

! โมเลกุลเล็กๆ ละลายนํ้าได้ดี เนื่องจากมีข้ ว



! มีสมบัติเป็นเบส รับ H+ ได้ดี
สมบัตข
ิ องเอมีน
ิ ากับกรด ซึ่ง Amine สามารถทํา
การทําปฏิกริ ย
ปฏิกริ ยิ ากับกรดได้เกลือ

CH3-NH2 + HCl à CH3-NH3+Cl-


C3H7-NH2 + HBr à C3H7-NH3+Br-
AMINE
เอมีนที่ควรรู้จักในชีวิตประจําวัน

มอร์ฟีน(โคดิอีน) นิโคติน อะดรีนาลิน แอมเฟตามีน

สารเสพติดในยาสูบ ฮอร์โมนเพิ่มอัตรา สารเสพติด


การเต้นของหัวใจ

มอร์ฟีน : สารเสพติด ระงับความปวด


โคดิอีน : ยาแก้ไอ
สูตรทั่วไปของเอไมด์

R-CONH2
เอไมด์
(amide)
สูตรโมเลกุลของเอไมด์
การเรียกชื่อของเอไมด์
การเรียกชื่อของเอไมด์

การเรียกชื่อระบบสามัญ (Common name)


อ่านเหมือนCarboxylic acid ตัด -ic acid ออก
แล้วลงท้ายด้วย “amide”

การเรียกชื่อแบบระบบ IUPAC
อ่านชื่อรากศัพท์ตามจํานวนคาร์บอน
แล้วลงท้ายเสียงด้วย “amide”
การเรียกชื่อของเอไมด์

HCONH2
ระบบสามัญ : Formamide
ระบบIUPAC : Methanamide
การเรียกชื่อของเอไมด์

CH3CONH2
ระบบสามัญ : Acetamide
ระบบIUPAC : Ethanamide
การเรียกชื่อของเอไมด์

CH3CH2CONH2
ระบบสามัญ : Propionamide
ระบบIUPAC : Propanamide
สมบัติของเอไมด์
สมบัตข
ิ องเอไมด์
• ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น
• จุดเดือดเพิ่มขึ้นตามจํานวนอะตอมของคาร์บอน
• เป็นโมเลกุลมีขั้ว เอไมด์โมเลกุลเล็กจะละลายนํ้าได้ดี
• สารละลายเอไมด์มีสมบัติเป็นกลาง
• เอไมด์มีจุดเดือดสูงกว่าเอมีน
AMIDE
เอไมด์ท่ค
ี วรรู้จักในชีวิตประจําวัน

พาราเซตามอล ยูเรีย

You might also like