You are on page 1of 34

สมาคม ม. ปลาย (พ.ย.

58) 1
30 Aug 2016

ข้ อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ แห่งประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พ.ย. 58)


วันอาทิตย์ที่ 22 พฤศจิกายน 2558 เวลา 9.00 - 12.00 น.

ตอนที่ 1 มี 15 ข้ อ ข้ อละ 2 คะแนน


1. ให้ 𝒰 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ และสาหรับ 𝑋, 𝑌 ∈ 𝒰 นิยาม 𝑋 ∆ 𝑌 = (𝑋 − 𝑌) ∪ (𝑌 − 𝑋)
กาหนดให้ 𝐴, 𝐵, 𝐶 ∈ 𝒰 ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง
ก. 𝐴 ∆ 𝐵 = 𝐵 ∆ 𝐴 ข. 𝐴 ∆ (𝐵 ∆ 𝐶) = (𝐴 ∆ 𝐵) ∆ 𝐶
ค. (𝐴 ∆ 𝐵) ∪ 𝐶 = (𝐴 ∪ 𝐶) ∆ (𝐵 ∪ 𝐶) ง. (𝐴 ∆ 𝐵) ∩ 𝐶 = (𝐴 ∩ 𝐶) ∆ (𝐵 ∩ 𝐶)

2. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นประโยคเปิ ด ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง


ก. ∀𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] → [∀𝑥𝑃(𝑥) ∧ ∀𝑥𝑄(𝑥)]
ข. ∀𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] → [∀𝑥𝑃(𝑥) ∨ ∀𝑥𝑄(𝑥)]
ค. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] → [∃𝑥𝑃(𝑥) ∧ ∃𝑥𝑄(𝑥)]
ง. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] → [∃𝑥𝑃(𝑥) ∨ ∃𝑥𝑄(𝑥)]

3. ฟั งก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ ในข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่


|𝑥|
ก. 𝑓(𝑥) = |𝑥 − 1| + |𝑥| ข. 𝑓(𝑥) =
√1+𝑥 2
𝑥 2|𝑥|
ค. 𝑓(𝑥) = 1+|𝑥|
ง. 𝑓(𝑥) = |𝑥|+1
2 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = √𝑥 4 − 4𝑥 2 ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง


ก. 𝑓 = 𝑔 โดยที่ 𝑔(𝑥) = |𝑥|√𝑥 2 − 4 ข. (−∞, −2] เป็ นสับเซตของโดเมนของ 𝑓
ค. [2, ∞) เป็ นสับเซตของโดเมนของ 𝑓 ง. 𝑓 ไม่เป็ นฟั งก์ชน
ั หนึง่ ต่อหนึง่

⃗⃗ + 𝑐⃗
𝑏
5. ให้ 𝑎⃗, 𝑏⃗⃗, 𝑐⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึง่ หน่วย โดยที่ 𝑏⃗⃗ และ 𝑐⃗ ไม่ขนานกัน และ (𝑎⃗ ∙ 𝑐⃗)𝑏⃗⃗ − (𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗)𝑐⃗ =
2
มุมระหว่าง 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 2𝜋 3
ข. 𝜋3 ค. 𝜋2 ง. 𝜋

6. ถ้ า log(log 𝑎) + log(log 𝑏) = log(log 𝑐) โดยที่ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริ งที่มากกว่า 1 แล้ วค่าของ 𝑐 เท่ากับ
ข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 𝑎 + 𝑏 ข. 𝑎𝑏 ค. (log 𝑎)𝑏 ง. 𝑏 log 𝑎
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 3

1 1 𝜋
7. ค่า 𝑥 ในข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นคาตอบของสมการ 4 arctan (5) − arctan (𝑥) = 4
ก. 238 ข. 239 ค. 240 ง. 241

8. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนโดยที่ 𝑧 + 𝑤 −1 = √2 + 𝑖 และ 𝑧 −1 + 𝑤 = 1 + √2𝑖


ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นจานวนเต็มบวก
ก. 𝑧𝑤 + (𝑧𝑤)−1 ข. (𝑧𝑤)2 + (𝑧𝑤)−2
ค. (𝑧𝑤)3 + (𝑧𝑤)−3 ง. (𝑧𝑤)4 + (𝑧𝑤)−4

9. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 เป็ นจานวนเต็มซึง่ ไม่เท่ากับศูนย์และสอดคล้ องกับระบบสมการ


𝑥 + 𝑎𝑦 + 𝑧 = 3
{2𝑥 + 𝑦 + 𝑏𝑧 = 1
3𝑥 + 𝑦 + 3𝑧 = 2

ค่าของ 2𝑥 − 3𝑦 + 2𝑧 + 3𝑎𝑏 ตรงกับข้ อใด


ก. 5 ข. −2 ค. 0 ง. −7
4 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

10. ช่างภาพต้ องการจัดคนในครอบครัวหนึง่ ซึง่ มี 8 คนที่มีความสูงแตกต่างกันหมด เข้ าแถวหน้ ากระดานสองแถว โดยที่


แต่ละแถวให้ ยืนตามลาดับความสูงจากซ้ ายไปขวา และคนที่ยืนอยูแ่ ถวหน้ าต้ องสูงน้ อยกว่าคนที่อยูแ่ ถวหลังใน
ตาแหน่งเดียวกันเพื่อจะได้ ไม่บงั กัน วิธีที่ชา่ งภาพสามารถจัดคนทังแปดเข้
้ าแถวถ่ายรูปได้ แตกต่างกันทังหมดเท่
้ ากับ
ข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 14 ข. 16 ค. 18 ง. 20

11. ให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนโดยที่ √2𝑧 + |𝑧 + 𝑤| = 1+𝑖 และ √2𝑤 + |𝑧 − 𝑤| = 1 − 𝑖
แล้ ว 𝑧 2015 − 𝑤 2015 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. −√2 − √2𝑖 ข. √2 − √2𝑖 ค. −√2 + √2𝑖 ง. √2 + √2𝑖

12. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นจานวนจริง และให้ 𝑃 = sin2 𝜃 + cos 𝜃 , 𝑄 = cos2 𝜃 + sin 𝜃 , 𝑅 = tan 𝜃
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) ถ้ า 𝑃 และ 𝑄 เป็ นจานวนตรรกยะแล้ ว 𝑅 เป็ นจานวนตรรกยะ
(2) ถ้ า 𝑃 และ 𝑅 เป็ นจานวนตรรกยะแล้ ว 𝑄 เป็ นจานวนตรรกยะ
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 5

13. กาหนดส่วนของเส้ นตรง 𝐴𝐵 ในระนาบ สุม่ เลือกจุดสองจุดใดๆบน 𝐴𝐵 ซึง่ สองจุดนี ้แบ่ง 𝐴𝐵 เป็ นส่วนของเส้ นตรง
ย่อยสามเส้ น จงหาความน่าจะเป็ นที่สว่ นของเส้ นตรงย่อยสามเส้ นนี ้สามารถนามาประกอบกัน (โดยใช้ จดุ ปลายต่อกับ
จุดปลาย) แล้ วเป็ นรูปสามเหลีย่ มได้
ก. 14 ข. 13 ค. 29 ง. 27

14. ให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ ∶ −|𝑦| + 𝑥 − √𝑥 2 + 𝑦 2 − 1 ≥ 1 } จานวนสมาชิกของ 𝑟 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 4

15. กาหนดความสัมพันธ์ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ+ × ℝ+ ∶ √𝑥 + √𝑦 = 1} กราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 เป็ นส่วนหนึง่


ของกราฟชนิดไปต่อไปนี ้
ก. เส้ นตรงสองเส้ นที่ขนานกัน ข. พาราโบลา
ค. วงรี ง. ไฮเพอร์ โบลา
6 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

ตอนที่ 2 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 3 คะแนน


16. ให้ 𝑝 เป็ นจานวนเฉพาะที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ มจี านวนเต็มบวก 𝑛 สอดคล้ องกับสมการ
1 + 2 + ⋯ + 𝑛 = 1 2 + 22 + ⋯ + 𝑝 2
จงหาค่าของ 13 + 23 + ⋯ + 𝑝 3

1
𝑥 − ⌊𝑥⌋ เมื่อ 𝑥 − ⌊𝑥⌋ ≤ 2
17. กาหนดให้ 𝑓:ℝ→ℝ นิยามโดย 𝑓(𝑥) = { 1
1 − (𝑥 − ⌊𝑥⌋) เมื่อ 𝑥 − ⌊𝑥⌋ > 2
2015
จงหาค่าของ  𝑓(𝑥 + 2558) 𝑑𝑥
 2015

18. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ กาหนดโดย 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏 ทุก 𝑥 ∈ ℝ โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม
ถ้ า 𝑓(𝑓(0)) = 1 และ 𝑓(𝑓(𝑓(1))) = −11 แล้ ว จงหาค่าของ
𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(1)))) + 𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(2)))) + 𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(3)))) + … + 𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(60))))
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 7

𝑥
19. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที
้ ่สอดคล้ องกับสมการ 3𝑥 ∙ 8𝑥+2 = 6

20. กาหนดรูปสีเ่ หลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶𝐷 มีด้าน 𝐴𝐵 ยาว 1 หน่วย และด้ าน 𝐵𝐶 ยาว 3 หน่วย ถ้ ามีจดุ 𝑂 ภายในรูป
สีเ่ หลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶𝐷 ซึง่ ทาให้ 𝑂𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝑂𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑂𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝑂𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝑂𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑂𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ แล้ ว 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ มีคา่ เท่ากับ
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐵𝐷
เท่าใด

21. กาหนดให้ 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 ∶ arcsin 𝑥 + arcsin 𝑦 = arcsin(𝑥√1 − 𝑦 2 + 𝑦√1 − 𝑥 2 ) }


จงหาพื ้นที่ของเซต 𝐴
8 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

22. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนนับทังหมดที


้ ่มีผลบวกของเลขโดดเป็ น 5 จากนันเรี
้ ยงลาดับของสมาชิกทังหมด

ของ 𝐴 จากน้ อยไปมาก (นัน่ คือเขียน 𝐴 = {5, 14, 23, 32, …}) จงหาสมาชิกลาดับที่ 130 ของ 𝐴

23. จงหาสมการของวงกลมทีม่ ีจดุ ศูนย์กลางอยูบ่ นเส้ นตรง 4𝑥 + 3𝑦 − 2 = 0 และวงกลมวงนี ้สัมผัสทังเส้


้ นตรง
𝑥 + 𝑦 + 4 = 0 และ 7𝑥 − 𝑦 + 4 = 0

𝑥−7
24. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ นิยามโดย 𝑓(𝑥) = |2𝑥 + 4| + 3|𝑥 − 2| + |𝑥 − 5| + | 2
| , 𝑥∈ℝ
จงหาค่าต่าสุดของ 𝑓
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 9

25. จงหาจานวนของเมทริ กซ์ไม่เอกฐานขนาด 3 × 3 ทังหมดซึ


้ ง่ มี 1 เป็ นสมาชิกจานวนสีต่ วั และสมาชิกที่เหลือ
เป็ น 0 ทังหมด
้ และมีผลรวมของสมาชิกในแนวทแยงมุมหลักไม่เกิน 1

ตอนที่ 3 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 4 คะแนน


𝑥+1 𝑥
26. จงหาค่าของ lim x
𝑥 (arctan ( ) − arctan ( ))
𝑥+2 𝑥+2
1
( ข้ อเสนอแนะ : ถ้ า 𝑓(𝑥) = arctan 𝑥 แล้ ว 𝑓 ′ (𝑥) = 1+𝑥2 )

n
1
27. สาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 กาหนดให้ 𝑆𝑛 = 
𝑟(𝑟+1)(𝑟+2)
r 1

จงหาจานวนนับ 𝑘 ทีน่ ้ อยที่สดุ ที่ทาให้ |𝑆𝑘 − 0.25| < 0.0001


10 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

28. กาหนดให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนที่แตกต่างกัน 2 จานวน โดยที่ 𝑧1 𝑧2 ≠ 0 ถ้ า 𝑧12 + 𝑧22 = 𝑧1 𝑧2
และ |𝑧1 − 𝑧2 | = 1 แล้ ว |𝑧1 + 2𝑧2 | จะมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 𝑛 2
29. กาหนดให้ 𝑚 และ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มซึง่ สอดคล้ องกับสมการ 𝑚𝑛
+𝑚 = 𝑚−𝑛
จงหาค่าสูงสุดของ 𝑚 + 𝑛

30. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = tan(35° + 𝑥°) tan(25° − 𝑥°)


ถ้ าค่าที่เป็ นจานวนเต็มบวกทีต่ ่าที่สดุ ของ 𝑓 เกิดขึ ้นที่ 𝑥 = 𝛼 โดย 0 < 𝛼 < 90 แล้ ว
จงหาค่าของ tan(2015° + 𝛼°)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 11

31. สุม่ เขียนเลข 0 หรื อ 1 ในแต่ละช่องของตารางขนาด 4 × 4 จงหาความน่าจะเป็ นที่ผลรวมของตัวเลขในแต่ละแถว


และแต่ละหลักเป็ นจานวนคู่

32. จานวนของเมทริ กซ์ 𝑀 ทังหมดที


้ ่อยูใ่ นรูป 𝑀 = [𝑎 −𝑏] โดยที่ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง ซึง่ ทาให้ เมทริ กซ์
𝑏 𝑎
𝑀 + 𝑀 + 𝑀 + 𝑀 + 𝑀 เป็ นเมทริ กซ์ศน
9 7 5 3
ู ย์ มีจานวนเท่าใด

33. กาหนดให้ {𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥100} เป็ นข้ อมูลของประชากรทังหมดซึ ้ ง่ มีความแปรปรวนเท่ากับ 11 เลือกตัวอย่างจาก


ข้ อมูลชุดนี ้ 15 ตัว จะเห็นว่าสามารถเลือกตัวอย่างมาได้ ทงหมด ั้ (100
15
) ตัวอย่าง ( เช่น {𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥15 } ,
{𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥16 } , {𝑥15 , 𝑥16 , … , 𝑥26 , 𝑥50 , 𝑥88 , 𝑥100 } , … )
สาหรับแต่ละตัวอย่าง {𝑦1 , 𝑦2 , … , 𝑦15} ที่เลือกมานี ้ หาความแปรปรวนของตัวอย่างโดยใช้ สตู ร
15
(𝑦𝑘 −𝑦̅)2 𝑦1 +𝑦2 + … +𝑦15
ความแปรปรวนของตัวอย่าง = 
14
โดยที่ 𝑦̅ =
15
k 1

ถ้ า 𝑧1 , 𝑧2 , … , 𝑧(100
15 )
เป็ นความแปรปรวนของตัวอย่าง (100
15
) ตัวอย่างเหล่านี ้
จงหาค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑧1 , 𝑧2 , … , 𝑧(100
15 )
12 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)


1 3 𝑎 3
34. กาหนดให้ ∫0 ⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 =  (∫𝑎 𝑛 ⌊
𝑛+1 √𝑥
⌋ 𝑑𝑥) โดยที่ 0 < 𝑎𝑛+1 < 𝑎𝑛 < 𝑎1 = 1 ทุกจานวนนับ 𝑛
n 1

และ nlim

𝑎𝑛 = 0 ( สามารถพิสจู น์ได้ วา่ อนุกรมอนันต์ข้างต้ นไม่ขึ ้นกับลาดับ (𝑎𝑛 )∞
𝑛=1 )
1 1 1 1 3
ถ้ า 𝐴 = 12
+ 32 + 52 + … และ 𝐵 = ∫0 ⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 แล้ ว จงหาค่าของ 12𝐴 − 𝐵

35. กาหนดให้ 𝐴 = { 𝑛 ∈ ℕ | 𝑛 < 3003 และ ห. ร. ม. (𝑛, 3003) = 1 }


𝑛𝜋
จงหาค่าของ  sin2 (3003 )
n A
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 13

เฉลย
1. ค 10. ก 19. 1, −2 − 2 log 3 2 27. 70
2. ข 11. ข 20. 8 28. 7
𝜋
3. ค 12. ค 21. 2+2 29. 12
4. ก 13. ก 22. 100031 30. −√3
1
5. ก 14. ข 23. (𝑥 − 2)2 + (𝑦 + 2)2 = 8 31. 128
6. ง 15. ข (𝑥 + 4)2 + (𝑦 − 6)2 = 18 32. 9
100
7. ข 16. 225 24. 13.5 33. 9
37
8. ค 17. 1007.5 25. 24 34. 4
1
9. ง 18. 29580 26. 2
35. 719.5

แนวคิด
1. ค
ก. 𝐴 ∆ 𝐵 = 𝐵 ∆ 𝐴
(𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = (𝐵 − 𝐴) ∪ (𝐴 − 𝐵) 
𝐴 𝐵
ข้ อ ข. ค. ง. จะใช้ เทคนิค “กาหนดสมาชิกตัวแทน” ให้ แต่ละส่วน แล้ วหาผลลัพธ์ 1 6 2
5 7 4
ให้ 𝐴, 𝐵, 𝐶 มีสมาชิกดังรูป 3
ข. 𝐴 ∆ (𝐵 ∆ 𝐶) = (𝐴 ∆ 𝐵) ∆ 𝐶 𝐶
{1, 5, 6, 7} ∆ {2, 3, 5, 6} = {1, 2, 4, 5} ∆ {3, 4, 5, 7}
{1, 7, 2, 3 } = {1, 2, 3, 7} 

ค. (𝐴 ∆ 𝐵) ∪ 𝐶 = (𝐴 ∪ 𝐶) ∆ (𝐵 ∪ 𝐶)
{1, 2, 4, 5} ∪ {3, 4, 5, 7} = {1, 3, 4, 5, 6, 7} ∆ {2, 3, 4, 5, 6, 7}
{1, 2, 3, 4, 5, 7} = {1, 2 } 
ง. (𝐴 ∆ 𝐵) ∩ 𝐶 = (𝐴 ∩ 𝐶) ∆ (𝐵 ∩ 𝐶)
{1, 2, 4, 5} ∩ {3, 4, 5, 7} = {5, 7} ∆ {4, 7}
{4, 5} = {5, 4 } 

2. ข
ประโยคในรูป ถ้ า → แล้ ว ต้ องสมมติให้ ตวั หน้ าเป็ นจริ ง แล้ วดูวา่ ตัวหลังต้ องเป็ นจริ ง ตามมัย้
ก. สมมติให้ ∀𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] เป็ นจริ ง
แสดงว่า 𝑥 ทุกตัวต้ องทาให้ ทงั ้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ งทังคู ้ ่
การที่ 𝑥 ทุกตัวทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุปได้ วา่ ∀𝑥𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง
การที่ 𝑥 ทุกตัวทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุปได้ วา่ ∀𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ ∀𝑥𝑃(𝑥) ∧ ∀𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง → ก. ถูก
ข. สมมติให้ ∀𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] เป็ นจริ ง
แสดงว่า 𝑥 ทุกตัวต้ องทาให้ 𝑃(𝑥) หรื อ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ งตัวใดตัวหนึง่ หรื อทังคู
้ ่
ซึง่ 𝑥 บางตัว อาจทาให้ 𝑃(𝑥) จริ ง แต่ทาให้ 𝑄(𝑥) เท็จ และ 𝑥 บางตัว อาจทาให้ 𝑃(𝑥) เท็จ แต่ทาให้ 𝑄(𝑥) จริ ง
14 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

การที่ มี 𝑥 บางตัวทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นเท็จ จะสรุปได้ วา่ ∀𝑥𝑃(𝑥) เป็ นเท็จ
การที่ มี 𝑥 บางตัวทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นเท็จ จะสรุปได้ วา่ ∀𝑥𝑄(𝑥) เป็ นเท็จ
ซึง่ ในกรณีนี ้ จะทาให้ ∀𝑥𝑃(𝑥) ∨ ∀𝑥𝑄(𝑥) เป็ นเท็จ → ข. ผิด
(ตัวอย่างเช่น การที่ “ทุกคนเป็ นผู้ชายหรื อผู้หญิง” จะสรุปไม่ได้ วา่ “ทุกคนเป็ นผู้ชาย” หรื อ “ทุกคนเป็ นผู้หญิง”)
ค. สมมติให้ ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] เป็ นจริ ง
แสดงว่า มี 𝑥 บางตัวที่ทาให้ ทงั ้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ งทังคู
้ ่
การที่ 𝑥 ตัวนันท
้ าให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุปได้ วา่ ∃𝑥𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง
การที่ 𝑥 ตัวนันท
้ าให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุปได้ วา่ ∃𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ ∃𝑥𝑃(𝑥) ∧ ∃𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง → ค. ถูก
ง. สมมติให้ ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] เป็ นจริ ง
แสดงว่า มี 𝑥 บางตัวที่ทาให้ 𝑃(𝑥) หรื อ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ งตัวใดตัวหนึง่ หรื อทังคู
้ ่
 กรณีที่ 𝑥 ตัวนัน้ ทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุ ปได้ วา่ ∃𝑥𝑃(𝑥) เป็ นจริ ง
 กรณีที่ 𝑥 ตัวนัน้ ทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง จะสรุ ปได้ วา่ ∃𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง
ดังนั
้ น้ ∃𝑥𝑃(𝑥) หรื อ ∃𝑥𝑄(𝑥) จะเป็ นจริ งตัวใดตัวหนึง่ หรื อทังคู
้ ่
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ ∃𝑥𝑃(𝑥) ∨ ∃𝑥𝑄(𝑥) เป็ นจริ ง → ง. ถูก

3. ค
ถ้ า 𝑥 อยูใ่ นค่าสัมบูรณ์ หรื อ ถูกยกกาลังคู่ มักจะไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่ (เพราะ ค่าบวก และ ค่าลบ จะได้ ผลลัพธ์เท่ากัน)
จะเห็นว่า ข้ อ ข. และ ง. จะเข้ าข่ายนี ้ เช่น กรณี 𝑥 = 1 กับ 𝑥 = −1 จะได้ ผลลัพธ์เท่ากัน → ไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึ่ง
|1| |−1| 1 2|1| 2|−1|
ข. √1+1 2
=
√1+(−1)2
=2 ง. |1|+1 = |−1|+1 = 1

ส่วน ข้ อ ก. จะลองแทนค่า 𝑥 ดูเล่นๆก่อนก็ได้ ว่ามี 𝑥 ที่ได้ ผลลัพธ์เท่ากันหรื อไม่


จะเห็นว่า 𝑥 = 0 จะได้ ผลลัพธ์เหมือน 𝑥 = 1 → ไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่
ก. 𝑓(0) = |0 − 1| + |0| 𝑓(1) = |1 − 1| + |1|
= 1 + 0 = 0 + 1
= 1 = 1
แต่ถ้าใครแทนเล่นๆแล้ วไม่เจอ อาจสังเกตจากสมบัติของค่าสัมบูรณ์
𝑥 , 𝑥≥0 𝑥−1 , 𝑥−1≥0
|𝑥| = {
−𝑥 , 𝑥<0
และ |𝑥 − 1| = {
−(𝑥 − 1) , 𝑥 − 1 < 0
จะเห็นว่า ถ้ า 𝑥 เป็ นบวก |𝑥| = 𝑥
|𝑥| + |𝑥 − 1| = 𝑥 + (−(𝑥 − 1))
และ 𝑥 − 1 เป็ นลบ |𝑥 − 1| = −(𝑥 − 1) = 𝑥−𝑥+1
= 1
เมื่อถอดค่าสัมบูรณ์แล้ ว 𝑥 จะตัดกัน ทาให้ คา่ 𝑓(𝑥) = 1 เสมอ
นัน่ คือ ถ้ า 𝑥 เป็ นบวก แต่ 𝑥 − 1 เป็ นลบ (คือ 𝑥 อยูใ่ นช่วง 0 ถึง 1) จะได้ 𝑓(𝑥) = 1 ซ ้ากันรัวๆ → ไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่

ส่วน ข้ อ ค. มีแนวโน้ มที่จะเป็ นคาตอบของข้ อนี ้ (เพราะข้ ออื่นผิดหมด)


จะพิสจู น์โดยสมมติให้ กรณี 𝑥 = 𝑎 กับ 𝑥 = 𝑏 ได้ ผลลัพธ์เท่ากัน แล้ วพิสจู น์ให้ ได้ วา่ 𝑎=𝑏
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 15

𝑎 𝑏
สมมติให้ 1+|𝑎|
= 1+|𝑏|
→ พิจารณาเครื่ องหมาย จะเห็นว่าตัวส่วนเป็ นบวก เหมือนกันทังสองข้้ าง
คูณไขว้
ดังนัน้ ตัวเศษ คือ 𝑎 กับ 𝑏 ต้ องมีเครื่องหมายเหมือนกัน ไม่งนผลหารจะเท่
ั้ ากันไม่ได้

𝑎 + 𝑎|𝑏| = 𝑏 + |𝑎|𝑏
𝑎 = 𝑏 𝑎 กับ 𝑏 มีเครื่ องหมายเหมือนกัน จะทาให้ 𝑎|𝑏| = |𝑎|𝑏
ทาให้ ตดั 𝑎|𝑏| ทางซ้ าย กับ |𝑎|𝑏 ทางขวา ได้
ดังนัน้ ค. เป็ นหนึง่ ต่อหนึง่

4. ก
ก. ข้ อนี ้ เหมือนโจทย์ต้องการกระจายรูท
𝑓(𝑥) = √𝑥 4 − 4𝑥 2 แต่ การกระจายรูทแบบนี ้ ทาได้ ภายใต้ เงื่อนไขว่า
= √𝑥 2 (𝑥 2 − 4) ถ้ า 𝑥 2 (𝑥 2 − 4) ≥ 0 แล้ ว 𝑥 2 ≥ 0 และ 𝑥2 − 4 ≥ 0
= √𝑥 2 √𝑥 2 − 4 𝑥 2 (𝑥 − 2)(𝑥 + 2) ≥ 0
= |𝑥| √𝑥 2 − 4 กาลังคู่ ไม่ต้องสลับ บวก ลบ
+ − − +
−2 0 2
จะเห็นว่า ถ้ า 𝑥 = 0
𝑥 ∈ (−∞, −2] ∪ {0} ∪ [2, ∞) จะทาให้ 𝑥 2 − 4 ติดลบ
ขัดแย้ งกับเงื่อนไข
ดังนัน้ 𝑓(0) จะหาค่าได้ แต่ 𝑔(0) จะหาค่าไม่ได้ → 𝑓 ≠ 𝑔 → ก. ผิด
ข. หา D𝑓 → ต้ องแก้ อสมการ 𝑥 2 (𝑥 2 − 4) ≥ 0 ซึง่ แก้ ไปแล้ วในข้ อ ก.
จะได้ D𝑓 = (−∞, −2] ∪ {0} ∪ [2, ∞) → ดังนัน้ (−∞, −2] เป็ นสับเซตของ D𝑓 → ข. ถูก
ค. จาก D𝑓 = (−∞, −2] ∪ {0} ∪ [2, ∞) → ดังนัน้ [2, ∞) เป็ นสับเซตของ D𝑓 → ข. ถูก
ง. เนื่องจาก 𝑥 ถูกยกกาลังคู่ ดังนัน้ 𝑓 น่าจะไม่ใช่ฟังก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ (เพราะ เลขลบ กับ เลขบวก ยกกาลังคู่ จะ
กลายเป็ นบวกเท่ากัน) ซึง่ จะเห็นว่า 𝑓(2) = √24 − 4(2)2 และ 𝑓(−2) = √(−2)4 − 4(−2)2
= √16 − 16 = √ 16 − 16
= 0 = 0
เนื่องจาก 𝑓(2) = 𝑓(−2) ดังนัน้ 𝑓 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ → ง. ถูก

5. ก
⃗⃗ + 𝑐⃗
𝑏
(𝑎⃗ ∙ 𝑐⃗)𝑏⃗⃗ − (𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗)𝑐⃗ = 2 จาก 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 ให้ มุมระหว่าง 𝑎⃗ และ 𝑐⃗ = 𝜃𝑎𝑐
⃗⃗
𝑏 𝑐⃗
(|𝑎⃗||𝑐⃗| cos 𝜃𝑎𝑐 ) 𝑏⃗⃗ − (|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 𝜃𝑎𝑏 ) 𝑐⃗ = +2 มุมระหว่าง 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ = 𝜃𝑎𝑏
2
⃗⃗
𝑏 𝑐⃗
𝑎⃗, 𝑏⃗⃗, 𝑐⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วย
( 1 ∙ 1 ∙ cos 𝜃𝑎𝑐 ) 𝑏⃗⃗ − ( 1 ∙ 1 ∙ cos 𝜃𝑎𝑏 )𝑐⃗ = +2
2

(cos 𝜃𝑎𝑐 ) 𝑏⃗⃗ −


⃗⃗
𝑏 𝑐⃗ มุมระหว่างเวกเตอร์
2
= (cos 𝜃𝑎𝑏 ) 𝑐⃗ + 2
1 1
จะอยูใ่ นช่วง 0 ถึง 𝜋
(cos 𝜃𝑎𝑐 − 2) 𝑏⃗⃗ = (cos 𝜃𝑎𝑏 + 2) 𝑐⃗

เนื่องจาก 𝑏⃗⃗ และ 𝑐⃗ ไม่ขนานกัน จะสรุปได้ วา่ cos 𝜃𝑎𝑐 − 2 = 0


1
และ 1
cos 𝜃𝑎𝑏 + 2 = 0
1 1
cos 𝜃𝑎𝑐 = 2
cos 𝜃𝑎𝑏 = −2
𝜋 2𝜋
𝜃𝑎𝑐 = 3
𝜃𝑎𝑏 =
3
→ ตอบ
16 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

6. ง
log(log 𝑎) + log(log 𝑏) = log(log 𝑐)
log 𝑀 + log 𝑁 = log 𝑀𝑁
log( log 𝑎 ∙ log 𝑏 ) = log(log 𝑐)
ตัด log ทังสองข้
้ าง
log 𝑎 ∙ log 𝑏 = log 𝑐
โยน log 𝑎 ที่คณ
ู อยู่ ไปเป็ นเลขชี ้กาลังหลัง log
log 𝑏 log 𝑎 = log 𝑐
ตัด log ทังสองข้
้ าง
𝑏 log 𝑎 = 𝑐

7. ข
หา tan (4 arctan 15) ก่อน โดยใช้ สตู ร tan มุม 2 เท่า 2 รอบ 2 tan 𝐴
1 1 tan(2𝐴) =
1 2 tan(arctan ) 2( ) 2 25 5 1 − tan2 𝐴
5 5
tan (2 arctan ) = 1 = 1 2
= ∙ =
5 1−tan2(arctan ) 1−( ) 5 24 12
5 5
1 5
1 2 tan(2 arctan ) 2( ) 5 144 120
5 12
tan (4 arctan 5) = 1 = 5 2
= ∙
6 119
= 119
…(∗)
1−tan2(2 arctan ) 1−( )
5 12

1 1 𝜋
และจาก 4 arctan (5) − arctan (𝑥) = 4
1 𝜋 1
4 arctan 5 = 4
+ arctan 𝑥
1 𝜋 1
tan (4 arctan 5) = tan ( 4 + arctan (𝑥))
tan 𝐴+tan 𝐵
𝜋 1 tan(𝐴 + 𝐵) =
จาก (∗) 120 tan
4
+ tan(arctan )
𝑥
1−tan 𝐴 tan 𝐵

119
= 𝜋 1
1 − tan tan(arctan )
4 𝑥
1
120 1 +
𝑥
= 1
119 1 − ( 1 )( )
𝑥
120 119 คูณไขว้
120 − 𝑥
= 119 + 𝑥
239
1 = 𝑥
𝑥 = 239

8. ค
ก. เอาสองค่าที่โจทย์ให้ มาคูณกัน เพื่อให้ 𝑧 ตัดกับ 𝑧 −1 และ 𝑤 ตัดกับ 𝑤 −1 ดังนี ้
(𝑧 + 𝑤 −1 )(𝑧 −1 + 𝑤) = (√2 + 𝑖)(1 + √2𝑖)
𝑧𝑧 −1 + 𝑧𝑤 + 𝑤 −1 𝑧 −1 + 𝑤 −1 𝑤 = √2 + 2𝑖 + 𝑖 − √2
1 + 𝑧𝑤 + (𝑧𝑤)−1 + 1 = 3𝑖
𝑧𝑤 + (𝑧𝑤)−1 = −2 + 3𝑖 → ไม่เป็ นเต็มบวก → ก. ผิด
ข. เอา 𝑧𝑤 + (𝑧𝑤)−1 = −2 + 3𝑖 จาก ก. มายกกาลังสอง จะได้
(𝑧𝑤)2 + 2𝑧𝑤(𝑧𝑤)−1 + (𝑧𝑤)−2 = 4 − 12𝑖 − 9
(𝑧𝑤)2 + 2 + (𝑧𝑤)−2 = −5 − 12𝑖
(𝑧𝑤)2 + (𝑧𝑤)−2 = −7 − 12𝑖 → ไม่เป็ นเต็มบวก → ข. ผิด
ค. ใช้ สตู ร น3 + ล3 = (น + ล)(น2 − นล + ล2 ) จะได้
(𝑧𝑤)3 + (𝑧𝑤)−3 = (𝑧𝑤 + (𝑧𝑤)−1 )((𝑧𝑤)2 − 𝑧𝑤(𝑧𝑤)−1 + (𝑧𝑤)−2 )
จาก ก. จาก ข.
= ( −2 + 3𝑖 )(−7 − 12𝑖 − 1 )
= ( −2 + 3𝑖 )(−8 − 12𝑖)
= 16 + 24𝑖 − 24𝑖 + 36 = 52 → ค. ถูก
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 17

ง. เอา (𝑧𝑤)2 + (𝑧𝑤)−2 = −7 − 12𝑖 จาก ข. มายกกาลังสอง จะได้


(𝑧𝑤)4 + 2(𝑧𝑤)2 (𝑧𝑤)−2 + (𝑧𝑤)−4 = 49 − 168𝑖 − 144
(𝑧𝑤)4 + 2 + (𝑧𝑤)−4 = −95 − 168𝑖
(𝑧𝑤)4
+ (𝑧𝑤)−4 = −97 − 168𝑖 → ไม่เป็ นเต็มบวก → ง. ผิด
9. ง
𝑥 + 𝑎𝑦 + 𝑧 = 3 …(1)
2𝑥 + 𝑦 + 𝑏𝑧 = 1 …(2)
3𝑥 + 𝑦 + 3𝑧 = 2 …(3)
3 × (1) : 3𝑥 + 3𝑎𝑦 + 3𝑧 = 9 …(4)
(4) − (3) : 3𝑎𝑦 − 𝑦 = 7
(3𝑎 − 1)𝑦 = 7 3𝑎 − 1 𝑦 2
𝑎= , 𝑦=7
1 7 3
𝑎 = 0 , 𝑦 = −7
7 แยกเป็ นผลคูณของจานวนเต็มสองจานวนได้ 4 แบบ คือ −1 −7
8
7 1 𝑎= , 𝑦=1
แต่ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มที่ ≠ 0 −7 −1
3
𝑎 = −2 , 𝑦 = −1
ดังนัน้ ได้ แบบเดียวคือ 𝑎 = −2 และ 𝑦 = −1
แทน 𝑎 และ 𝑦 ใน (1) และ (2) แล้ วจัดรูป จะได้ 𝑥+𝑧 = 1 …(5)
2𝑥 + 𝑏𝑧 = 2 …(6)
2 × (5) : 2𝑥 + 2𝑧 = 2 …(7)
(6) − (7) : 𝑏𝑧 − 2𝑧 = 0
(𝑏 − 2)𝑧 = 0 แต่ 𝑧 เป็ น 0 ไม่ได้ ดังนัน้ 𝑏−2 = 0
𝑏 = 2
ดังนัน้ 2𝑥 − 3𝑦 + 2𝑧 + 3𝑎𝑏 = 2𝑥 − 3(−1) + 2𝑧 + 3(−2)(2)
จาก (5) = 2(𝑥 + 𝑧) + 3 − 12
= 2( 1 ) − 9 = −7

10. ก
A B C D เงื่อนไขการเข้ าแถวคือ A > B > C > D และ E > F > G > H
E F G H และ A < E , B < F , C < G , D < H
ข้ อนี ้ จะไล่นบั เอาก็ได้ → ให้ ทกุ คนเข้ าแถวจากเตี ้ยไปสูง แล้ วแปะหมายเลข 1, 2, 3, … , 8
เนื่องจาก D กับ H น้ อยสุดในแถว และในหลักขวา D < H → D น้ อยสุด → D = 1 D C B A #
4
C ต้ องมากกว่า D จะได้ C > 1 5
C = 2, 3 3 6 4
C ต้ องน้ อยกว่าตัวอื่นๆอีก 5 ตัว (A, B, G, F, E) จะได้ C < 4 7
2 5
B ต้ องมากกว่าตัวอื่นๆอีก 2 ตัว (C, D) จะได้ B > 2 4 6 3
B = 3, 4, 5 7
B ต้ องน้ อยกว่าตัวอื่นๆอีก 3 ตัว (A, F, E) จะได้ B < 6 1 6
5 7 2
A ต้ องมากกว่าตัวอื่นๆอีก 3 ตัว (B, C, D) จะได้ A > 3 5
A = 4, 5, 6, 7
6
A ต้ องน้ อยกว่าตัวอื่นๆอีก 1 ตัว (E) จะได้ A < 8 4
7
3
3
จากตารางจะได้ จานวนวิธี = 4 + 3 + 2 + 3 + 2 = 14 วิธี 5
6
7 2

หรื อถ้ าจะคานวณ จะสามารถใช้ เทคนิคในเรื่ อง Catalan Number ได้ โดยจับคูแ่ บบการเข้ าแถว กับ การเรี ยงตัวอักษร
“ล” และ “น” อย่างละ 4 ตัว โดยมีข้อกาหนดว่า จานวน “ล” นับจากซ้ าย ≥ จานวน “น” นับจากซ้ าย ในทุกๆตาแหน่ง
ของการเรี ยงตัวอักษร
18 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

วิธีจบั คูค่ ือ ให้ คนที่สงู ที่สดุ เลือกว่าจะยืนแถวหลัง (ล) หรื อ แถวหน้ า (น) แล้ วไปยืนชิดทางซ้ ายของแถวนันๆ

ให้ คนที่สงู ถัดมา เลือกว่าจะยืนแถวหลัง (ล) หรื อ แถวหน้ า (น) แล้ วไปยืนชิดทางซ้ ายของแถวนันๆ ้

6 4 2 1
เช่น “ล ล น ล น ล น น” จะได้ ผลลัพธ์คือ 8 7 5 3
87654321
จะเห็นว่า การให้ เลือกแถวตามลาดับความสูง จะทาให้ ความสูงภายในแถวเรี ยงจากมากไปน้ อย
และการกาหนดให้ จานวน “ล” นับจากซ้ าย ≥ จานวน “น” นับจากซ้ าย ในทุกๆตาแหน่ง จะทาให้ คนที่ยืนแถวหน้ า
สูงน้ อยกว่าคนที่อยูแ่ ถวหลังในตาแหน่งเดียวกันเสมอ
1 1
ซึง่ จากสูตรของ Catalan Number จะเรี ยงได้ = 𝑛+1 (2𝑛
𝑛
) = 4+1 (84) = 14 วิธี

11. ข
เนื่องจาก |𝑧 + 𝑤| และ |𝑧 − 𝑤| เป็ นจานวนจริง จะไม่มีสว่ นจินตภาพ
ดังนัน้ จะพิจารณา “ส่วนจินตภาพ” ทังสองฝั
้ ่ง ในสมการที่กาหนดให้ ก่อน
ไม่มีสว่ นจินตภาพ ไม่มีสว่ นจินตภาพ

√2𝑧 + |𝑧 + 𝑤| = 1 + 𝑖 √2𝑤 + |𝑧 − 𝑤| = 1 − 𝑖

ส่วนจินตภาพ = √2 Im(𝑧) ส่วนจินตภาพ = 1 ส่วนจินตภาพ = √2 Im(𝑤) ส่วนจินตภาพ = −1


ดังนัน้ √2 Im(𝑧) = 1 ดังนัน้ √2 Im(𝑤) = −1
1 1
Im(𝑧) = Im(𝑤) = −
√2 √2
1
ดังนัน้ 𝑧 จะอยูใ่ นรูป 𝑎+
1
√2
𝑖 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริ ง ดังนัน้ 𝑤 จะอยูใ่ นรูป 𝑏−
√2
𝑖 เมื่อ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง
แทน 𝑧 และ 𝑤 ในสมการโจทย์ จะได้ √2 𝑧 + | 𝑧 + 𝑤 | = 1+𝑖
1 1 1
√2 (𝑎 + 𝑖) + |(𝑎 + 𝑖) + (𝑏 − 𝑖)| = 1 + 𝑖
√2 √2 √2
√2𝑎 + 𝑖 +| 𝑎 +𝑏 | = 1+𝑖
√2𝑎 + √(𝑎 + 𝑏)2 = 1
2
(𝑎 + 𝑏)2 = (1 − √2𝑎) …(∗)
𝑎2 + 2𝑎𝑏 + 𝑏 2 = 1 − 2√2𝑎 + 2𝑎 2

−𝑎2 + 2𝑎𝑏 + 𝑏 2 = 1 − 2√2𝑎 …(1)


และ √2 𝑤 + | 𝑧 − 𝑤 | = 1−𝑖
1 1 1
√2 (𝑏 − 2 𝑖) + |(𝑎 + 2 𝑖) − (𝑏 − 2 𝑖)| = 1 − 𝑖
√ √ √
2
√2𝑏 − 𝑖 + | 𝑎−𝑏 + 𝑖 | = 1−𝑖
√2
2 2
√2𝑏 + √(𝑎 − 𝑏)2 + ( ) = 1
2 √
4 2
(𝑎 − 𝑏)2 + = (1 − √2𝑏)
2
𝑎2 − 2𝑎𝑏 + 𝑏 2 + 2 = 1 − 2√2𝑏 + 2𝑏 2
𝑎2 − 2𝑎𝑏 − 𝑏 2 = −1 − 2√2𝑏 …(2)
จะเห็นว่า (1) + (2) จะตัดกันได้ เกือบทุกตัว เหลือ 0 = −2√2𝑎 − 2√2𝑏
2√2𝑏 = −2√2𝑎
𝑏 = −𝑎
1 1
แทน 𝑏 = −𝑎 ใน 𝑤 จะได้ 𝑤 = −𝑎 −
√2
𝑖 และ เนื่องจาก 𝑧=𝑎+
√2
𝑖 จะเห็นว่า 𝑤 = −𝑧
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 19

แทน 𝑤 = −𝑧 ในสมการโจทย์อกี รอบ จะได้ √2 𝑧 + |𝑧 + (−𝑧)| = 1 + 𝑖


√2 𝑧 + 0 = 1+𝑖 แปลงเป็ นเชิงขัว้ ให้ ยกกาลังง่ายๆ
1 1 𝜋
𝑧 = 2 + 2 𝑖 = 1 cis 4
√ √

(2016−1)𝜋
ดังนัน้ 𝑧 2015 = 12015 cis 2015𝜋
4
= 1 cis 4
𝜋
= 1 cis (− 4 ) =
√2
2

√2
2
𝑖
จะได้ 𝑧 2015
−𝑤 2015
= 𝑧 2015
− (−𝑧) 2015

= 𝑧 2015 + 𝑧 2015
√2 √2
= 2𝑧 2015 = 2( 2 − 2
𝑖) = √2 − √2𝑖

12. ค
จานวนตรรกยะ บวกลบคูณหาร กับจานวนตรรกยะ จะได้ ผลลัพธ์เป็ นจานวนตรรกยะเสมอ
ดังนัน้ เราจะพยายามเอาจานวนที่โจทย์กาหนดให้ เป็ นตรรกยะ มาจัดรูปไปสูค่ า่ ที่โจทย์ถาม
(1) สมมติให้ 𝑃 และ 𝑄 เป็ นตรรกยะ ดังนัน้ 𝑃 + 𝑄 = sin2 𝜃 + cos 𝜃 + cos2 𝜃 + sin 𝜃
= 1 + cos 𝜃 + sin 𝜃 เป็ นตรรกยะด้ วย
เนื่องจาก 1 เป็ นตรรกยะ ดังนัน้ cos 𝜃 + sin 𝜃 ต้ องเป็ นตรรกยะ …(1)
และจะได้ 𝑃 − 𝑄 = (sin2 𝜃 + cos 𝜃) − (cos 2 𝜃 + sin 𝜃)
= sin2 𝜃 − cos 2 𝜃 + cos 𝜃 − sin 𝜃
= (sin 𝜃 − cos 𝜃)(sin 𝜃 + cos 𝜃) − (sin 𝜃 − cos 𝜃)
= (sin 𝜃 − cos 𝜃)(sin 𝜃 + cos 𝜃 − 1 ) เป็ นตรรกยะด้ วย
แต่จาก (1) จะได้ sin 𝜃 + cos 𝜃 − 1 เป็ นจานวนตรรกยะ ดังนัน้ จะได้ sin 𝜃 − cos 𝜃 เป็ นตรรกยะ …(2)
(1) + (2) จะทาให้ cos 𝜃 ตัดกัน จะสรุ ปได้ วา่ 2 sin 𝜃 เป็ นตรรกยะ → จะได้ sin 𝜃 เป็ นตรรกยะ
→ ทาต่อจาก (1) จะได้ วา่ cos 𝜃 เป็ นตรรกยะ
sin 𝜃
→ ดังนัน้ tan 𝜃 = cos 𝜃 เป็ นตรรกยะ
(เมื่อ cos 𝜃 ≠ 0)
อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่า การพิสจู น์เป็ นไปได้ ภายใต้ เงื่อนไข cos 𝜃 ≠ 0
กรณีที่ cos 𝜃 = 0 เช่น เมื่อ 𝜃 = 𝜋2 จะได้ 𝑃 = sin2 𝜋2 + cos 𝜋2 = 1 + 0 = 1 เป็ นตรรกยะ
𝜋 𝜋
𝑄 = cos 2 2 + sin 2 = 0 + 1 = 1 เป็ นตรรกยะ
แต่จะเห็นว่า tan 𝜋2 หาค่าไม่ได้ → ดังนัน้ (1) ผิด

(2) สมมติให้ 𝑃 และ 𝑅 เป็ นตรรกยะ → จาก 𝑃 = sin2 𝜃 + cos 𝜃


= 1 − cos2 𝜃 + cos 𝜃
เนื่องจาก 1 เป็ นตรรกยะ ดังนัน้ − cos 2 𝜃 + cos 𝜃 ต้ องเป็ นตรรกยะ
เนื่องจาก 𝑅 เป็ นตรรกยะ ดังนัน้ (− cos2 𝜃 + cos 𝜃) × 𝑅 = (− cos2 𝜃 + cos 𝜃)(tan 𝜃)
sin 𝜃
= (− cos2 𝜃 + cos 𝜃) (cos 𝜃)
= − sin 𝜃 cos 𝜃 + sin 𝜃 ต้ องเป็ นตรรกยะ …(1)
𝑃 sin2 𝜃+cos 𝜃
และ 𝑅
= tan 𝜃
(เมื่อ tan 𝜃 ≠ 0)
cos 𝜃
= (sin2 𝜃 + cos 𝜃) ( sin 𝜃 )
cos2 𝜃
= sin 𝜃 cos 𝜃 + sin 𝜃 ต้ องเป็ นตรรกยะ …(2)
20 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

cos2 𝜃 sin2 𝜃+cos2 𝜃 1


(1) + (2) จะทาให้ sin 𝜃 cos 𝜃 ตัดกัน เหลือ sin 𝜃 + sin 𝜃
= sin 𝜃
= sin 𝜃
ต้ องเป็ นตรรกยะ
sin 𝜃
ดังนัน้ sin 𝜃 เป็ นตรรกยะ → จาก 𝑅 = tan 𝜃 = cos 𝜃
เป็ นตรรกยะ จะสรุปได้ วา่ cos 𝜃 เป็ นตรรกยะด้ วย
ดังนัน้ 𝑄 = cos 2 𝜃 + sin 𝜃 เป็ นตรรกยะ
อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่า การพิสจู น์เป็ นไปได้ ภายใต้ เงื่อนไข tan 𝜃 ≠ 0
กรณีที่ tan 𝜃 = 0 จะได้ 𝜃 = 𝑛𝜋
ซึง่ จะทาให้ 𝑄 = cos2 𝑛𝜋 + sin 𝑛𝜋 = 1 + 0 = 1 เป็ นตรรกยะ → ดังนัน้ (2) ถูก

13. ก
จะประกอบเป็ นสามเหลีย่ มได้ เมือ่ แต่ละด้ าน สันกว่
้ า อีกสองด้ านที่เหลือรวมกัน
𝑥 𝑦 𝑧
𝐴 𝐵 นัน่ คือ 𝑥 < 𝑦 + 𝑧 , 𝑦 < 𝑥 + 𝑧 และ 𝑧 < 𝑥 + 𝑦
(ถ้ ามีด้านไหนยาวเกินไป จะทาให้ สองด้ านที่เหลือมาต่อกันไม่ถงึ → )
ซึง่ จากรูป จะเห็นว่า 𝑥 < 𝑦 + 𝑧 เมื่อ 𝑥 สันกว่ ้ าครึ่งหนึง่ ของ 𝐴𝐵 นัน่ เอง
และจาก 𝑦 < 𝑥 + 𝑧 และ 𝑧 < 𝑥 + 𝑦 จะได้ วา่ ทัง้ 𝑦 และ 𝑧 ก็ต้องสันกว่ ้ าครึ่งหนึง่ ของ 𝐴𝐵 ด้ วย
ดังนัน้ ทัง้ 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 ต้ องสันกว่
้ าครึ่งหนึง่ ของ 𝐴𝐵 จึงจะประกอบเป็ นสามเหลีย่ มได้
และเนื่องจาก ในสามด้ าน 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 จะมีได้ อย่างมากเพียงด้ านเดียวเท่านัน้ ที่ยาวเกินครึ่งหนึง่ ของ 𝐴𝐵
ดังนัน้ สองจุดที่สมุ่ ได้ จะแบ่ง 𝐴𝐵 ออกเป็ นแบบใดแบบหนึง่ ใน 4 แบบ คือ
1) 𝑥 ยาวเกินครึ่ง 2) 𝑦 ยาวเกินครึ่ง 3) 𝑧 ยาวเกินครึ่ง 4) ไม่มีด้านไหนยาวเกินครึ่ง
กรณีที่ 𝑥 ยาวเกินครึ่ง จะเกิดขึ ้นเมือ่ สองจุดที่สมุ่ ได้ ตกอยูท่ างครึ่งขวาของ 𝐴𝐵
ความน่าจะเป็ น ที่สมุ่ จุดจุดหนึง่ บน 𝐴𝐵 แล้ วได้ จดุ ทางครึ่งขวา จะเท่ากับ 12 ครึ่งขวา
𝐴 𝐵
1 1 1
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ทงสองจุ
ั้ ดที่สมุ่ ได้ อยูท่ างครึ่งขวา = 2 × 2 = 4
ความน่าจะเป็ นที่ 𝑦 ยาวเกินครึ่ง และ 𝑧 ยาวเกินครึ่ง จะเท่ากับ 14 เช่นกัน (เพราะเราสามารถจับคูแ่ บบที่ 𝑥 ยาวเกินครึ่ง
กับแบบที่ 𝑦 ยาวเกินครึ่ง แบบหนึง่ ต่อหนึง่ ได้ โดยการสลับ 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 เป็ น 𝑦 + 𝑥 + 𝑧)
ดังนัน้ จะเหลือความน่าจะเป็ นให้ กรณีไม่มีด้านไหนเกินครึ่ง = 1 − 3 (14) = 14

14. ข
−|𝑦| + 𝑥 − √𝑥 2 + 𝑦 2 − 1 ≥ 1
𝑥 − |𝑦| − 1 ≥ √𝑥 2 + 𝑦 2 − 1
(𝑥 − |𝑦| − 1)2 ≥ 𝑥2 + 𝑦2 − 1 ค่ารูททางขวา ≥ 0
𝑥 2 + |𝑦|2 + 1 − 2𝑥|𝑦| − 2𝑥 + 2|𝑦| ≥ 𝑥2 + 𝑦2 − 1
2 − 2𝑥|𝑦| − 2𝑥 + 2|𝑦| ≥ 0 ดังนัน้ 𝑥 − |𝑦| − 1 ≥ 0 ด้ วย
1 − 𝑥|𝑦| − 𝑥 + |𝑦| ≥ 0 𝑥 ≥ |𝑦| + 1
|𝑦| + 1 − 𝑥|𝑦| − 𝑥 ≥ 0
(|𝑦| + 1) − 𝑥(|𝑦| + 1) ≥ 0
(|𝑦| + 1)(1 − 𝑥) ≥ 0 เอามาต่อกัน จะได้ 1 ≥ 𝑥 ≥ |𝑦| + 1 …(∗)
1−𝑥 ≥ 0
เป็ นบวกเสมอ 1 ≥ 𝑥

พิจารณา ซ้ ายสุด กับขวาสุดของ (∗) จะได้ 1 ≥ |𝑦| + 1 → เป็ นจริ งได้ เมื่อ 𝑦 = 0 เท่านัน้
แทน 𝑦 = 0 ใน (∗) จะได้ 1 ≥ 𝑥 ≥ 1 → 𝑥=1 ดังนัน้ อสมการนี ้มีคาตอบเดียวคือ (𝑥, 𝑦) = (1, 0)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 21

15. ข
ลองวาดกราฟคร่าวๆดูก่อน โดยหาจุด (𝑥, 𝑦) ง่ายๆ ที่ทาให้ สมการเป็ นจริ ง จะได้ ดงั ตาราง 𝑥 0 1
1
4
เมื่อนาจุดในตาราง ไปพิจารณาร่วมกับกราฟอื่นที่เคยรู้จกั จะพอ เดาลักษณะกราฟได้ ดงั รูป 1
𝑦 1 0 4

1 1 1
จะเห็นว่ากราฟไม่นา่ จะเป็ นเส้ นตรงสอง
1 1
( , )
4 4 เส้ น แต่ยงั อาจจะเป็ นพาราโบลา วงรี
1 1 1 หรื อ ไฮเพอร์ โบลาได้ อยู่
2 2 𝑥+𝑦=1
𝑥 +𝑦 =1 √𝑥 + √𝑦 = 1

วาดเส้ นประเพิ่มดังรูป จะเห็นว่ากราฟสมมาตรรอบแนวเส้ นตรง OB


แกนสมมาตร /
A(0, 1) แกนเอก / ดังนัน้ กราฟจะมี แกนสมมาตร / แกนเอก / แกนตามขวาง ทับกับแนว
แกนตามขวาง
เส้ นตรง OB → จะได้ จดุ V(14 , 14) เป็ นจุดยอดของกราฟ
1 1
B( , )
2 2 เนื่องจาก B เป็ นจุดกึง่ กลางระหว่าง A(0, 1) และ C(1, 0)
1 1
O V( , )
4 4
ดังนัน้ พิกดั B คือ (0+1
2
1+0 1 1
, 2 ) = (2 , 2) → ดังนัน้ VB = VO
C(1, 0) และเนื่องจาก BCDO เป็ น สีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส → จะได้ CB = CD
จะเห็นว่า V และ C สอดคล้ องกับสมบัติของพาราโบลาที่มี B เป็ นจุด
D โฟกัส และ มีเส้ นตรง OD เป็ นไดเรคตริ กซ์
พาราโบลา ที่มีโฟกัส คือ B(12 , 12) และ เส้ นตรง OD เป็ นไดเรคตริ กซ์ จะต้ องมีระยะจาก (𝑥, 𝑦) ใดๆ ไปยัง B(12 , 12)
เท่ากับระยะจาก (𝑥, 𝑦) นันไปยั
้ งเส้ นตรง OD (เส้ นตรง OD มีสมการคือ 𝑥 + 𝑦 = 0)
2 2 |𝑥+𝑦|
จะได้ พาราโบลานี ้ คือ √(𝑥 − 1) + (𝑦 − 1) =
2 2 √12 +12
1 1 𝑥 2 +2𝑥𝑦+𝑦 2
𝑥2 − 𝑥 + 4 + 𝑦2 − 𝑦 + 4 = 2
1 1
2𝑥 2 − 2𝑥 + + 2𝑦 2 − 2𝑦 + = 𝑥 2 + 2𝑥𝑦 + 𝑦 2
2 2
𝑥 2 − 2𝑥𝑦 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 2𝑦 + 1 = 0

ซึง่ ถ้ าจัดรูป √𝑥 + √𝑦 = 1
ได้ เหมือนกับสมการ
𝑥 + 2√𝑥𝑦 + 𝑦 = 1
พาราโบลาเลย
2√𝑥𝑦 = 1−𝑥−𝑦
4𝑥𝑦 = 1 + 𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 2𝑦 + 2𝑥𝑦
0 = 𝑥 2 − 2𝑥𝑦 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 2𝑦 + 1

ดังนัน้ กราฟนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของพาราโบลา (ในส่วนที่ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ+ × ℝ+)


หมายเหตุ : หลังจากที่ร้ ูวา่ OB เป็ นแกนสมมาตร จะลอง หมุนกราฟ 45° แบบตามเข็ม ดูก็ได้
√𝑥 cos 45° − 𝑦 sin 45° + √𝑥 sin 45° + 𝑦 cos 45° = 1 𝑥2 𝑦2
2√ 2 − 2
= 1 − √2𝑥
𝑥 𝑦 𝑥 𝑦
√ − + √ + = 1 2𝑥 2 − 2𝑦 = 1 − 2√2𝑥 + 2𝑥 2
2
√2 √2 √2 √2
0 = 2𝑦 2 − 2√2𝑥 + 1
𝑥 𝑦 𝑥2 𝑦2 𝑥 𝑦
√2

√2
+ 2√ 2 − 2
+
√2
+
√2
= 1 ไม่มี 𝑥 2 → เป็ นพาราโบลา
22 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

16. 225

1 + 2 + ⋯ + 𝑛 = 12 + 22 + ⋯ + 𝑝 2
𝑛(𝑛+1) 𝑝(𝑝+1)(2𝑝+1)
=
2 6
𝑝(𝑝+1)(2𝑝+1)
𝑛(𝑛 + 1) =
3

ลองไล่แทน 𝑝 เป็ นจานวนเฉพาะน้ อยๆดู


(2)(2+1)(4+1)
𝑝 = 2 : จะได้ ฝั่งขวา = 3
= (2)(5) ซึง่ จะเขียนเป็ น 𝑛(𝑛 + 1) ไม่ได้
(3)(3+1)(6+1)
𝑝 = 3 : จะได้ ฝั่งขวา = 3
= (4)(7) ซึง่ จะเขียนเป็ น 𝑛(𝑛 + 1) ไม่ได้
(5)(5+1)(10+1)
𝑝 = 5 : จะได้ ฝั่งขวา = = (5)(2)(11) = (10)(11) → เขียนเป็ น 𝑛(𝑛 + 1) ได้
3
𝑝(𝑝+1) 2 5(5+1) 2
ดังนัน้ จะได้ 𝑝 น้ อยสุดคือ 5 และจะได้ 13 + 23 + ⋯ + 𝑝 3 = ( 2
) = ( 2
) = 225

17. 1007.5
2015
จะหา  𝑓(𝑥 + 2558) 𝑑𝑥 โดยดูจากพื ้นทีใ่ ต้ กราฟ
 2015

จะเห็นว่า ในสูตรของ 𝑓(𝑥) จะมี 𝑥 − ⌊𝑥⌋ ปรากฏอยูท่ กุ ครัง้ ที่มี 𝑥 ปรากฏ


เนื่องจาก ⌊𝑥⌋ คือการปั ดเศษลงให้ เป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ 𝑥 − ⌊𝑥⌋ ก็คือเศษที่ถกู ปั ดลงนัน่ เอง
ดังนัน้ 𝑥 − ⌊𝑥⌋ จะ “วนซ ้า” ในช่วง [0, 1) ทุกๆรอบจานวนเต็มของ 𝑥
ดังนัน้ เราจะวาดกราฟ เฉพาะในช่วง [0, 1) แล้ วคัดลอกไปแปะในรอบอื่นๆ
เมื่อ 𝑥 ∈ [0, 1) จะได้ วา่ ⌊𝑥⌋ = 0 ทาให้ ได้ วา่ 𝑥 − ⌊𝑥⌋ = 𝑥 → แทนใน 𝑓(𝑥)
1
𝑥 เมื่อ 𝑥≤ 1
จะได้ 𝑓(𝑥) = { 2
1
→ วาดกราฟได้ ดงั รูป 2
1−𝑥 เมื่อ 𝑥> 2
1 1
2

ดังนัน้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) จะมีกราฟคือ


−2 −1 1 2 3

และ 𝑦 = 𝑓(𝑥 + 2558) จะได้ จากการเลือ่ นกราฟไปทางซ้ าย 2558 หน่วย ซึง่ จะยังคงได้ กราฟรูปเดิม
𝑦 = 𝑓(𝑥)
(เพราะกราฟซ ้าทุกๆรอบจานวนเต็มของ 𝑥)
จาก −2015 ไปถึง 2015 จะมีสามเหลีย่ มทังหมด ้ 2015 − (−2015) = 4030 รู ป
1 1 1
ซึง่ สามเหลีย่ มแต่ละรูปมีพื ้นที่ = 2 ∙ 1 ∙ 2 = 4
2015
1
ดังนัน้  𝑓(𝑥 + 2558) 𝑑𝑥 = 4030 ∙ 4 = 1007.5
 2015

18. 29580
เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม จะจัดรูปให้ ฝั่งซ้ ายเป็ นตัวเลข แล้ วอ้ างว่าตัวเลขฝั่งซ้ ายเขียนเป็ นผลคูณได้ ไม่กี่แบบ
𝑓(𝑓(0)) = 1
𝑓(𝑎(0) + 𝑏) = 1
𝑓( 𝑏) = 1
𝑎𝑏 + 𝑏 = 1 𝑎+1 𝑏
1 เขียนเป็ นผลคูณได้ แค่ 2 แบบ 1 1 𝑎=0, 𝑏=1
(𝑎 + 1)𝑏 = 1
คือ 1 × 1 กับ −1 × −1 −1 −1 𝑎 = −2 , 𝑏 = −1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 23

จะได้ 𝑎 = 0 , 𝑏 = 1 หรื อ 𝑎 = −2 , 𝑏 = −1
ถ้ า 𝑎 = 0 , 𝑏 = 1 จะได้ 𝑓(𝑥) = (0)𝑥 + 1 = 1 → 𝑓(𝑥) = 1 เสมอ โดยไม่ขึ ้นกับค่า 𝑥
ดังนัน้ จะได้ 𝑓(𝑓(𝑓(1))) = 1 ซึง่ ขัดแย้ งกับที่โจทย์บอกว่า 𝑓(𝑓(𝑓(1))) = −11
ถ้ า 𝑎 = −2 , 𝑏 = −1 จะได้ 𝑓(𝑥) = −2𝑥 − 1 ดังนัน้ 𝑓(𝑓(𝑓(1))) = 𝑓(𝑓(−2(1) − 1))
= 𝑓(𝑓( −3 ))
= 𝑓( −2(−3) − 1 )
= 𝑓( 5 )
= −2(5) − 1
= −11 
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ 𝑎 = −2 , 𝑏 = −1 เท่านัน้ และจะได้ 𝑓(𝑥) = −2𝑥 − 1
พิจารณาสิง่ ที่โจทย์ถาม → จะได้ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(𝑛)))) = 𝑓(𝑓(𝑓( −2𝑛 − 1 )))
= 𝑓(𝑓(−2(−2𝑛 − 1) − 1))
= 𝑓(𝑓( 4𝑛 + 1 ))
= 𝑓( −2(4𝑛 + 1) − 1 )
= 𝑓( −8𝑛 − 3 )
= −2(−8𝑛 − 3) − 1
= 16𝑛 + 5
60 60 60
ดังนัน้ สิง่ ที่โจทย์ถาม =  16𝑛 + 5 = 16  𝑛 +  5
n 1 n 1 n 1
60(60+1)
= 16( 2 ) + 60(5) = 29280 + 300 = 29580

19. 1, −2 − 2 log 3 2
𝑥
3𝑥 ∙ 8𝑥+2 = 6 2 𝑥−1
3𝑥 log 2 (3 ∙ 2𝑥+2 ) = log 2 1
3𝑥 ∙ 2 𝑥+2 = 3∙2 2
3𝑥
3𝑥 ∙ 2𝑥+2
(𝑥 − 1) (log 2 (3 ∙ 2 𝑥+2 )) = 0
3∙2
= 1
3𝑥 2
3𝑥−1
∙2
𝑥+2
−1
= 1 𝑥 = 1 หรื อ log 2 (3 ∙ 2𝑥+2 ) = 0
3𝑥 − (𝑥+2)
3𝑥−1 ∙ 2 𝑥+2 = 1 2
2𝑥−2 log 2 3 + log 2 2𝑥+2 = 0
3𝑥−1 ∙ 2 𝑥+2 = 1 2
log 2 3 + 𝑥+2 = 0
2(𝑥−1)
3𝑥−1 ∙ 2 𝑥+2 = 1 2
2 𝑥−1 = − log 2 3
𝑥+2
(3 ∙ 2 𝑥+2 ) = 1 2
− log 3 = 𝑥+2
2
−2 − 2 log 3 2 = 𝑥

ดังนัน้ สมการมี 2 คาตอบ คือ 1 และ −2 − 2 log 3 2

20. 8
𝐶
โจทย์ให้ 𝐴𝐵 = 1 และ 𝐵𝐶 = 3 → จะสมมติให้ 𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑢̅ และ 𝐵𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑣̅
𝐷
→ จะได้ |𝑢̅| = 1 และ |𝑣̅ | = 3
𝑑̅ 𝑂
𝑣̅ สังเกตว่าข้ อมูลที่โจทย์ให้ จะอิงกับจุด 𝑂 → จะให้ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐵 = 𝑏̅ และ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗𝑂𝐷 = 𝑑̅
𝑏̅
แต่ไม่ต้องกาหนด ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐴 กับ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐶 แล้ ว เพราะ 𝑂𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑂𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑏̅ − 𝑢̅
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐵𝐴
𝐴 𝑢̅ 𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐶 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐵𝐶 = 𝑏̅ + 𝑣̅
𝑂𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
24 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

จากโจทย์ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐴 + ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐶 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐷 และ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐴 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗𝑂𝐶 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐵 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝐷
𝑏̅ − 𝑢̅ + 𝑏̅ + 𝑣̅ = 𝑏̅ + 𝑑̅ (𝑏̅ − 𝑢̅) ∙ (𝑏̅ + 𝑣̅ ) = 𝑏̅ ∙ 𝑑̅
𝑏̅ − 𝑢̅ + 𝑣̅ = 𝑑̅

โจทย์ถาม ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐵𝐷
𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐵𝐶
(𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ) ∙ (𝐵𝑂
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝑂𝐷
⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ) −𝑢̅ + 𝑣̅ = −𝑏̅ + 𝑑̅
= ( 𝑢̅ + 𝑣̅ ) ∙ (−𝑏̅ + 𝑑̅ )
= ( 𝑢̅ + 𝑣̅ ) ∙ (−𝑢̅ + 𝑣̅ )
= −𝑢̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑣̅ ∙ 𝑣̅
= −|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2
2
= −1 + 32 = 8

𝜋
21. 2+
2
𝜋 𝜋
ให้ arcsin 𝑥 = 𝛼 และ arcsin 𝑦 = 𝛽 → จากเรนจ์ของ arcsin จะได้ 𝛼, 𝛽 ∈ [− 2 , 2
]
𝑥 = sin 𝛼 𝑦 = sin 𝛽
แทนในโจทย์ จะได้
arcsin 𝑥 + arcsin 𝑦 = arcsin( 𝑥 √1 − 𝑦 2 + 𝑦 √1 − 𝑥 2 )
𝛼 + 𝛽 = arcsin(sin 𝛼 √1 − sin2 𝛽 + sin 𝛽 √1 − sin2 𝛼)
𝛼 + 𝛽 = arcsin(sin 𝛼 √ cos2 𝛽 + sin 𝛽 √ cos2 𝛼 )
𝜋 𝜋
𝛼 + 𝛽 = arcsin( sin 𝛼 | cos 𝛽 | + sin 𝛽 | cos 𝛼 | ) เนื่องจาก 𝛼, 𝛽 ∈ [− 2 , 2 ]
𝛼 + 𝛽 = arcsin( sin 𝛼 cos 𝛽 + sin 𝛽 cos 𝛼 ) จะได้ cos 𝛼 , cos 𝛽 ≥ 0
𝛼 + 𝛽 = arcsin( sin(𝛼 + 𝛽) )

จะเห็นว่าบรรทัดสุดท้ ายเป็ นจริ งเสมอ ภายใต้ เงื่อนไขว่า 𝛼 + 𝛽 ต้ องอยูใ่ นเรนจ์ของ arcsin ซึง่ คือ [ − 𝜋2 , 𝜋2 ]
จะได้ เงื่อนไขคือ − 𝜋2 ≤ 𝛼 + 𝛽 ≤ 𝜋2 → แบ่งกรณีวาด ตามจตุภาค จะได้ ดงั รูป
𝑌
กรณี 𝑥, 𝑦 ≥ 0 : จะได้ 𝛼, 𝛽 ∈ [ 0 , 𝜋2 ]
กรณี 𝑥 < 0 , 𝑦 ≥ 0 : 𝜋 𝜋
− ≤ 𝛼+𝛽 ≤
จะได้ − 𝜋2 ≤ 𝛼 < 0 2 2

𝜋 𝜋 จตุภาคแรก
และ 0 ≤ 𝛽 ≤
2 จริงเสมอ 𝛼 ≤
2
−𝛽 sin เป็ น
ดังนัน้ − 𝜋2 ≤ 𝛼 + 𝛽 < 𝜋

𝜋 เพราะ sin 𝛼 ≤ sin ( − 𝛽) ฟั งก์ชนั เพิ่ม
𝜋
2 2 2
𝛼, 𝛽 ≥ 0 sin 𝛼 ≤ cos 𝛽
สอดคล้ องกับเงื่อนไขเสมอ
sin 𝛼 ≤ √1 − sin2 𝛽
𝑥 ≤ √1 − 𝑦 2
𝑥 2 + 𝑦2 ≤ 1
𝑋
กรณี 𝑥, 𝑦 < 0 : สังเกตว่า ถ้ าแทน 𝑥 ด้ วย −𝑥 และ
กรณี 𝑥 ≥ 0 , 𝑦 < 0 :
แทน 𝑦 ด้ วย −𝑦 จะได้ สมการกราฟกลับเป็ นเหมือนเดิม 𝜋
จะได้ 0 ≤ 𝛼 ≤
2
𝜋 𝜋
− ≤ 𝛼 + 𝛽 ≤ และ − 𝜋2 ≤ 𝛽 < 0
2 2


𝜋
≤ arcsin 𝑥 + arcsin 𝑦 ≤
𝜋 เปลี่ยน ดังนัน้ − 𝜋2 ≤ 𝛼 + 𝛽 < 𝜋

𝜋
2 2
𝜋 𝜋
𝑥, 𝑦 2 2

2
≤ arcsin(−𝑥) + arcsin(−𝑦) ≤
2
เป็ นลบ สอดคล้ องกับเงื่อนไขเสมอ
𝜋 𝜋
− ≤ − arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦 ≤
2 2
𝜋 𝜋
≥ arcsin 𝑥 + arcsin 𝑦 ≥−
2 2

ดังนัน้ กราฟใน Q3 จะสมมาตรกับ Q1 รอบจุดกาเนิด


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 25

ในเงื่อนไขของ 𝐴 มี arcsin 𝑥 และ arcsin 𝑦 อยู่


𝑄2 : ได้ หมดทุกจุด 𝑄1 : 𝑥 2 + 𝑦 2 ≤ 1
พิจารณาโดเมนของ arcsin จะได้ 𝑥, 𝑦 ∈ [−1, 1] 1
เมื่อ 𝑥, 𝑦 ∈ [−1, 1]
วาดกราฟในแต่ละจตุภาค จะได้ ดงั รูป
1

𝜋(12 )
𝑄3 : เหมือน 𝑄1 𝑄4 : ได้ หมดทุกจุด
𝜋
จะได้ พื ้นที่ = 2 (12 + 4
) = 2+2 เมื่อ 𝑥, 𝑦 ∈ [−1, 1]

22. 100031
จานวน “ไม่เกิน 𝑛 หลัก” ที่ผลบวกเลขโดดเป็ น 5 จะเทียบได้ กบั การแจกของเหมือนกัน 5 ชิ ้น ให้ คน 𝑛 คน โดยอาจมีบาง
คนไม่ได้ ของ (ถ้ าคนไหนไม่ได้ ของ ถือว่าหลักนันเป็
้ น 0 และถ้ าหลักหน้ าๆเป็ น 0 จะกลายเป็ นจานวนที่น้อยกว่า 𝑛 หลัก)
เช่น ถ้ าแจกของเหมือนกัน 5 ชิ ้น ให้ คน 3 คน จะได้ 005 , 014 , 023 , 032 , … , 401 , 410 , 500
จาก Stars & Bars การแจกของเหมือนกัน 5 ชิ ้น ให้ คน 𝑛 คน โดยอาจมีคนไม่ได้ ของ จะมี (5+𝑛−1
𝑛−1
) แบบ
เช่น ถ้ า 𝑛 = 1 จะได้ จานวนไม่เกิน 1 หลัก มี ( 1−1 ) = (0) = 1 แบบ (คือ 5)
5+1−1 5

ถ้ า 𝑛 = 2 จะได้ จานวนไม่เกิน 2 หลัก มี (5+2−1


2−1
) = (61) = 6 แบบ (คือ 5, 14, 23, 32, 41, 50)

โจทยท์จะหาตัวที่ 130 → จะหา 𝑛 ที่ทาให้ ได้ จานวนแบบ ใกล้ เคียง 130
8∙7∙6
ถ้ า 𝑛 = 4 จะได้ จานวนไม่เกิน 4 หลัก มี (5+4−1
4−1
) = (83) = 3∙2 = 56 แบบ
9∙8∙7∙6
ถ้ า 𝑛 = 5 จะได้ จานวนไม่เกิน 5 หลัก มี (5+5−1
5−1
) = (49) = 4∙3∙2 = 126 แบบ → ใกล้ 130 แล้ ว
ตัวที่ 130 จะอยูถ่ ดั จากตัวที่ 126 ไปอีก 4 ตัว → ดังนันตั
้ วที่ 130 จะเป็ น “จานวน 6 หลักตัวที่ 4”
จานวน 6 หลัก เรี ยงจากน้ อยไปมาก แล้ วตอบตัวที่ 4 จะได้ 100004 , 100013 , 100022 , 100031

23. (𝑥 − 2)2 + (𝑦 + 2)2 = 8 , (𝑥 + 4)2 + (𝑦 − 6)2 = 18


จุดศูนย์กลางอยูบ่ นเส้ นตรง 4𝑥 + 3𝑦 − 2 = 0 → ให้ จดุ ศูนย์กลางคือ (ℎ, 𝑘) จะได้ 4ℎ + 3𝑘 − 2 = 0 …(1)
ระยะจาก ศก ไปยังเส้ นสัมผัส จะเท่ากับรัศมี
ระยะระหว่างจุด (𝑎, 𝑏) กับ
จะได้ |ℎ+𝑘+4| = 2
|7ℎ−𝑘+4|
= รัศมี …(∗)
√12 +12 √7 +(−1) 2
เส้ นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0
ℎ+𝑘+4 7ℎ−𝑘+4 |𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶|
= ± คือ
√2 √50 √𝐴2 +𝐵2
5(ℎ + 𝑘 + 4) = ±(7ℎ − 𝑘 + 4)

5(ℎ + 𝑘 + 4) = 7ℎ − 𝑘 + 4 5(ℎ + 𝑘 + 4) = −(7ℎ − 𝑘 + 4)


0 = 2ℎ − 6𝑘 − 16 12ℎ + 4𝑘 + 24 = 0
0 = ℎ − 3𝑘 − 8 …(2𝑎) 3ℎ + 𝑘 + 6 = 0 …(2𝑏)

แก้ (1) กับ (2𝑎) จะได้ หนึง่ คาตอบ และ แก้ (1) กับ (2𝑏) จะได้ อกี หนึง่ คาตอบ
(1) 4ℎ + 3𝑘 − 2 = 0 (1) 4ℎ + 3𝑘 − 2 = 0
(2𝑎) ℎ − 3𝑘 − 8 = 0 (2𝑏) 3ℎ + 𝑘 + 6 = 0
(1) + (2𝑎) : 5ℎ − 10 = 0 3 × (2𝑏) : 9ℎ + 3𝑘 + 18 = 0 …(3𝑏)
ℎ = 2 (3𝑏) − (1) : 5ℎ + 20 = 0
(2𝑎) : 2 − 3𝑘 − 8 = 0 ℎ = −4
6 (2𝑏) : 3(−4) + 𝑘 + 6 = 0
𝑘 = −3 = −2
𝑘 = 6
26 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

แทน (ℎ, 𝑘) ใน (∗) เพื่อหา รัศมี จาก |ℎ+𝑘+4|


√12 +12
(1) กับ (2𝑎) ได้ (ℎ, 𝑘) = (2, −2) (1) กับ (2𝑏) ได้ (ℎ, 𝑘) = (−4, 6)
จะได้ รัศมี = |2+(−2)+4|
√2
4
= 2 = 2√2

จะได้ รัศมี = |−4+6+4|
√12 +12
=
6
√2
= 3√2
จะได้ สมการวงกลมคือ จะได้ สมการวงกลมคือ
2 2 2 2
(𝑥 − 2)2 + (𝑦 − (−2)) = (2√2) (𝑥 − (−4)) + (𝑦 − 6)2 = (3√2)
(𝑥 − 2)2 + (𝑦 + 2)2 = 8 (𝑥 + 4)2 + (𝑦 − 6)2 = 18

24. 13.5
𝑥−7
𝑓(𝑥) = |2𝑥 + 4| + 3|𝑥 − 2| + |𝑥 − 5| + | 2 |
คูณ 2 ตลอด
2𝑓(𝑥) = 4|𝑥 + 2| + 6|𝑥 − 2| + 2|𝑥 − 5| + |𝑥 − 7|
𝑥𝑖 𝑓𝑖
จากสมบัติของมัธยฐาน จะได้ 2𝑓(𝑥) มีคา่ น้ อยที่สดุ เมื่อ 𝑥 = มัธยฐานของข้ อมูลดังตาราง −2 4
ซึง่ จากตาราง จะได้ มธั ยฐานจะอยูต่ าแหน่งที่ 13+1
2
=7 2 6
5 2
และจะเห็นว่า 𝑓𝑖 สะสม เกิน 7 ในชันที ้ ่ 2 (4 + 6 > 7) → มัธยฐาน = 2 7 1
13
ดังนัน้ ค่าน้ อยสุดของ 2𝑓(𝑥) = 4|2 + 2| + 6|2 − 2| + 2|2 − 5| + |2 − 7|
= 16 + 0 + 6 + 5 = 27
27
ดังนัน้ ค่าน้ อยสุดของ 𝑓(𝑥) =
2
= 13.5

25. 24
𝑎 𝑏 𝑐 เมทริ กซ์ไม่เอกฐาน แสดงว่า (𝑎𝑒𝑖 + 𝑏𝑓𝑔 + 𝑐𝑑ℎ) − (𝑔𝑒𝑐 + ℎ𝑓𝑎 + 𝑖𝑑𝑏) ≠ 0
[𝑑 𝑒 𝑓]
𝑔 ℎ 𝑖 ดังนัน้ ในบรรดา 𝑎𝑒𝑖 , 𝑏𝑓𝑔 , 𝑐𝑑ℎ , 𝑔𝑒𝑐 , ℎ𝑓𝑎 , 𝑖𝑑𝑏 ทังหกตั
้ ว ต้ องมีบางตัว ≠ 0

กรณี 𝑎𝑒𝑖 ≠ 0 จะได้ 𝑎, 𝑒, 𝑖 = 1 ทังสามตั


้ ว ทาให้ ผลรวมแนวทแยงมุมหลักเกิน 1 → ใช้ ไม่ได้
𝑎 1 𝑐
กรณี 𝑏𝑓𝑔 ≠ 0 จะได้ 𝑏, 𝑓, 𝑔 = 1 ทังสามตั
้ ว ได้ เป็ น [𝑑 𝑒 1] → 1 ที่เหลืออีกตัว ลงตรงไหนก็ได้ → 6 แบบ
1 ℎ 𝑖
กรณี 𝑐𝑑ℎ ≠ 0 ทาเหมือนกรณีที่สอง → 6 แบบ

จะเห็นว่ากลุม่ ทีเ่ หลือ 𝑔𝑒𝑐 , ℎ𝑓𝑎 , 𝑖𝑑𝑏 ทาแบบเดิมไมได้ แล้ ว เพราะพวกนี ้ผ่านแนวทแยงมุมหลัก 𝑎, 𝑒, 𝑖
𝑎 𝑏 1 0 𝑏 1
กรณี 𝑔𝑒𝑐 ≠ 0 จะได้ 𝑔, 𝑒, 𝑐 = 1 ได้ เป็ น [𝑑 1 𝑓 ] → 𝑒 = 1 ไปแล้ ว ทาให้ 𝑎, 𝑖 ต้ องเป็ น 0 ได้ [𝑑 1 𝑓]
1 ℎ 𝑖 1 ℎ 0
→ 1 ที่เหลือ จะเลือกลงได้ 4 แบบ
กรณี ℎ𝑓𝑎 ≠ 0 กับ 𝑖𝑑𝑏 ≠ 0 ทาแบบเดียวกัน ได้ อีกกรณีละ 4 แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบทังหมด
้ = 6 + 6 + 4 + 4 + 4 = 24 แบบ

26. 12
จะจัดรูปให้ คา่ ลิมิตอยูใ่ นรูป 00 แล้ วใช้ กฎของโลปิ ตาล
ให้ ℎ = 𝑥1 จะได้ 𝑥 = ℎ1 และจะเห็นว่า lim x
ℎ = lim
1
x 𝑥
= 0
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 27

1 1
𝑥+1 𝑥 1 +1
ดังนัน้ lim
x
𝑥 (arctan ( ) − arctan ( ))
𝑥+2 𝑥+2
= lim (arctan (ℎ1

h0 +2
) − arctan ( 1 ℎ ))
+2
ℎ ℎ
1+ℎ 1
1 ℎ ℎ
= lim ℎ (arctan ( 1+2ℎ ) − arctan ( 1+2ℎ ))
h0
ℎ ℎ
1+ℎ 1
arctan( ) − arctan( )
1+2ℎ 1+2ℎ
= lim ℎ
h0
1 1
arctan( ) − arctan( )
จะเห็นว่า ถ้ าแทน ℎ=0 จะได้ คา่ ลิมิตเป็ น 1
0
1
ซึง่ อยูใ่ นรูป 00
1 (1+2ℎ)(1) − (1+ℎ)(2) 1 −2
∙ − 2 ∙ (1+2ℎ)2
1+ℎ 2 (1+2ℎ)2 1
ดิฟบน 1+( ) 1+( )
ใช้ กฎของโลปิ ตาล จะได้ ดิฟล่าง = 1+2ℎ
1
1+2ℎ

1 (1 )(1) − (1 )(2) 1 −2
∙ − ∙ 1 1
แทน ℎ=0 จะได้ = 1+ 1 1
1
1+ 1 1
= −2+ 1 = 2

27. 70
ใช้ เทเลสโคปิ ค จะเห็นว่า 1
𝑟(𝑟+1)
− (𝑟+1)(𝑟+2) =
1 𝑟+2 − 𝑟
𝑟(𝑟+1)(𝑟+2)
=
2
𝑟(𝑟+1)(𝑟+2)
1 1 1 1
( − (𝑟+1)(𝑟+2)) =
2 𝑟(𝑟+1) 𝑟(𝑟+1)(𝑟+2)
k k
1 1 1 1
ดังนัน้ 𝑆𝑘 =  =  (𝑟(𝑟+1) − (𝑟+1)(𝑟+2))
r 1 𝑟(𝑟+1)(𝑟+2) r 1 2
k
1 1 1
= 
2 r 1 𝑟(𝑟+1)
− (𝑟+1)(𝑟+2)

1 1 1 1 1 1 1 1 1
= 2 ((1∙2 − 2∙3) + (2∙3 − 3∙4) + (3∙4 − 4∙5) + ⋯ + (𝑘(𝑘+1) − (𝑘+1)(𝑘+2)))
ตัดกันได้ เป็ นทอดๆ
เหลือตัวแรกสุด 1 1
= ( −
1 1 1
+ − + − + ⋯+
1 1 1 1
− (𝑘+1)(𝑘+2))
2 1∙2 2∙3 2∙3 3∙4 3∙4 4∙5 𝑘(𝑘+1)
กับ ตัวสุดท้ าย 1 1 1
= ( − (𝑘+1)(𝑘+2))
2 2
1 1
= −
4 2(𝑘+1)(𝑘+2)

แทนใน | 𝑆𝑘 − 0.25 | < 0.0001


1 1 1
|4 − 2(𝑘+1)(𝑘+2) − 0.25| < 10000
1 1
| − 2(𝑘+1)(𝑘+2) | < 10000
1 1
2(𝑘+1)(𝑘+2)
< 10000
5000 < (𝑘 + 1)(𝑘 + 2) → หาสองจานวนติดกัน ที่คณ
ู กันแล้ วมากกว่า 5000
(70)(71) = 4970
(71)(72) = 5112 
จะได้ 𝑘 + 1 = 71 → 𝑘 = 70
28 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

28. 7
เนื่องจาก 𝑧1 𝑧2 ≠ 0 จะได้ 𝑧1 ≠ 0 และ 𝑧2 ≠ 0
จัดรูปสมการ ให้ เป็ นสมการกาลังสองที่มี 𝑧𝑧1 เป็ นตัวแปร → 𝑧12 + 𝑧22 = 𝑧1 𝑧2
2
𝑧12 − 𝑧1 𝑧2 + 𝑧22 = 0
÷ 𝑧22 ตลอด
𝑧 2 𝑧1
( 1) − +1 = 0
𝑧2 𝑧2

2 2
𝑧1 −𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐 −(−1) ± √(−1)2 − 4(1)(1) 1 √3
จะได้ 𝑧2
= 2𝑎
= 2(1)
= 2
± 2
𝑖 → ดังนัน้ 𝑧 1 √3
|𝑧1 | = √(2) + (± 2 )
2
|𝑧1 |
|𝑧2 |
= 1
|𝑧1 | = |𝑧2 | …(∗)
และจาก (𝑧1 − 𝑧2 )2 = 𝑧12 − 2𝑧1 𝑧2 + 𝑧22
โจทย์ให้ 𝑧12 + 𝑧22 = 𝑧1 𝑧2
(𝑧1 − 𝑧2 )2 = 𝑧1 𝑧2 − 2𝑧1 𝑧2
(𝑧1 − 𝑧2 )2 = −𝑧1 𝑧2
|𝑧1 − 𝑧2 |2 = |−𝑧1 𝑧2 |
โจทย์ให้ |𝑧1 − 𝑧2 | = 1
1 = |𝑧1 ||𝑧2 |
|𝑧1 | = |𝑧2 | จาก (∗)
1 = |𝑧1 |2
1 = |𝑧1 |
ดังนัน้ |𝑧1 | = |𝑧2 | = 1 → แทนในสูตร |𝑧1 − 𝑧2 |2 = |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 − (𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 )
1 = 1 + 1 − (𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 )
𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 = 1

และสุดท้ าย ̅̅̅̅̅2 + 𝑧̅1 ∙ 2𝑧2 )


|𝑧1 + 2𝑧2 |2 = |𝑧1 |2 + |2𝑧2 |2 + (𝑧1 ∙ 2𝑧
2 2
= 1 + 4|𝑧2 + 2(𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 )
|𝑧 | |
= 1 + 4 + 2( 1 )
= 7

29. 12
1 𝑛 2
+ =
𝑚𝑛 𝑚 𝑚−𝑛 → ตัวส่วนห้ ามเป็ น 0 ดังนัน้ 𝑚≠0 และ 𝑛≠0 และ 𝑚≠𝑛
1 + 𝑛2 2
𝑚𝑛
= 𝑚−𝑛
(1 + 𝑛 2 )(𝑚
− 𝑛) = 2𝑚𝑛
𝑚 − 𝑛 + 𝑛2 𝑚 − 𝑛3 = 2𝑚𝑛

ทุกพจน์ ยกเว้ นพจน์แรก หารด้ วย 𝑛 ลงตัว ดังนันพจน์


้ แรก (𝑚) ต้ องหารด้ วย 𝑛 ลงตัวด้ วย
ให้ 𝑚 = 𝑘𝑛 จะได้ 𝑘𝑛 − 𝑛 + 𝑛2 𝑘𝑛 − 𝑛3 = 2(𝑘𝑛)𝑛
÷ 𝑛 ตลอด
𝑘 − 1 + 𝑛2 𝑘 − 𝑛2 = 2𝑘𝑛
เอาพจน์ที่มี 𝑘 มา
𝑛 𝑘 − 2𝑘𝑛 + 𝑘 − 𝑛2 − 1
2
= 0 บวก 2 ทังสองข้
้ าง ให้ กลุม่ ที่เหลือ
จับกลุม่ ดึงตัวร่วม
𝑘(𝑛2 − 2𝑛 + 1) − 𝑛2 + 1 = 2 เข้ าสูตรผลต่างกาลังสองได้
𝑘(𝑛2 − 2𝑛 + 1) − (𝑛2 − 1) = 2
𝑘(𝑛 − 1)2 − (𝑛 − 1)(𝑛 + 1) = 2
ดึง 𝑛 − 1 เป็ นตัวร่วม
(𝑛 − 1)(𝑘(𝑛 − 1) − (𝑛 + 1)) = 2
2 1
−2 −1 2 เขียนเป็ นผลคูณของจานวน
1 2 เต็มสองจานวนได้ แค่ 4 แบบ
−1 −2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 29

กรณี 𝑛−1 = 2 และ 𝑘(𝑛 − 1) − (𝑛 + 1) = 1


𝑛 = 3 𝑘(2) − 4 = 1
5
𝑘 =
2
กรณี 𝑛 − 1 = −2 และ 𝑘(𝑛 − 1) − (𝑛 + 1) = −1
𝑛 = −1 𝑘(−2) − 0 = −1
1
𝑘 =
2
กรณี 𝑛−1 = 1 และ 𝑘(𝑛 − 1) − (𝑛 + 1) = 2
เนื่องจาก 𝑘 ต้ องเป็ นจานวนเต็ม และ 𝑛 ≠ 0
𝑛 = 2 𝑘(1) − 3 = 2
𝑘 = 5 จะเหลือแค่ 𝑛 = 2 , 𝑘 = 5 เท่านันที้ ่ใช้ ได้
กรณี 𝑛 − 1 = −1 และ 𝑘(𝑛 − 1) − (𝑛 + 1) = 2 ซึง่ จะได้ 𝑚 = (2)(5) = 10
𝑛 = 0 ดังนัน้ 𝑚 + 𝑛 = 10 + 2 = 12
30. −√3
tan(35° + 𝑥°) tan(25° − 𝑥°)
sin(35°+𝑥°) sin(25°−𝑥°)
= ∙
cos(35°+𝑥°) cos(25°−𝑥°)
2 sin(35°+𝑥°) sin(25°−𝑥°)
= 2 cos(35°+𝑥°) cos(25°−𝑥°)
cos(𝐴 + 𝐵) + cos(𝐴 − 𝐵) = 2 cos 𝐴 cos 𝐵
cos(𝐴 + 𝐵) − cos(𝐴 − 𝐵) = −2 sin 𝐴 sin 𝐵
−(cos 60° − cos(10°+2𝑥°))
= cos 60° + cos(10°+2𝑥°)
1
− + cos(10°+2𝑥°)
2
= 1
+ cos(10°+2𝑥°)
2
1
− + cos(10°+2𝛼°)
ให้ 𝑘 เป็ นจานวนเต็มบวกที่ตา่ ที่สดุ ของ 𝑓 → 2
1 = 𝑘
+ cos(10°+2𝛼°)
2
1 𝑘
− + cos(10° + 2𝛼°) = + 𝑘 cos(10° + 2𝛼°)
2 2
1 𝑘
−2 − 2 = 𝑘 cos(10° + 2𝛼°) − cos(10° + 2𝛼°)
ถ้ า 𝑘 = 1 → ฝั่งซ้ าย ≠ 0 แต่ฝั่งขวา = 0 −
𝑘+1
= (𝑘 − 1) cos(10° + 2𝛼°)
2
ดังนัน้ 𝑘 ≠ 1 → เอา 𝑘 − 1 ย้ ายไปหารได้ 𝑘+1
− 2(𝑘−1) = cos(10° + 2𝛼°) …(∗)
𝑘+1
เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนเต็มบวก จะเห็นว่า − 2(𝑘−1) เป็ นลบเสมอ
𝑘+1
เนื่องจาก cos มีคา่ ได้ ในช่วง [−1, 1] เท่านัน้ ดังนัน้ − 2(𝑘−1) ≥ −1 คูณลบทังสองฝั
้ ่ง
𝑘 + 1 ≤ 2(𝑘 − 1) ต้ องกลับ ≥ เป็ น ≤
𝑘 + 1 ≤ 2𝑘 − 2
3 ≤ 𝑘 → จะได้ 𝑘 ต่าสุดคือ 3
3+1
แทน 𝑘 = 3 ใน (∗) จะได้ cos(10° + 2𝛼°) = − 2(3−1) = −1
เนื่องจาก 0 < 𝛼 < 90 จะได้ 10° + 2𝛼° = 180° ดังนัน้ tan(2015° + 𝛼°) = tan(2015° + 85°)
𝛼° = 85° = tan 2100°
= tan(−60°) = −√3
1
31. 128
𝑛(𝐸) : ตาราง 4 × 4 จะมี 16 ช่อง แต่ละช่องเลือกได้ 2 แบบ (0 หรื อ 1) ดังนัน้ จานวนแบบทังหมด
้ = 216 แบบ
? ? ?
𝑛(𝑆) : แนวคิดคือ ? ? ? ช่องที่เป็ น ? ทัง้ 9 ช่อง จะเลือกใส่ 0 หรื อ 1 ใส่ก็ได้
? ? ? ส่วนช่องทีเ่ หลือ จะโดน “บังคับใส่” ให้ ผลรวมแต่ละแถว และแต่ละหลักเป็ นคู่
30 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

𝑎 𝑏 𝑐 𝑝 กล่าวคือ 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑖 เป็ น 0 หรื อ 1 ก็ได้


𝑑 𝑒 𝑓 𝑞 0 , 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 เป็ นคู่
𝑔 ℎ 𝑖 𝑟 𝑝 จะโดนบังคับเป็ นค่าที่ทาให้ แถวแรกมีผลรวมเป็ นคู่ : 𝑝 = {
1 , 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 เป็ นคี่
𝑤 𝑥 𝑦 𝑧 ทานองเดียวกัน 𝑞 กับ 𝑟 จะโดนบังคับเป็ นค่าที่ทาให้ แถว 2 กับแถว 3 มีผลรวมเป็ นคู่
ทานองเดียวกัน 𝑤, 𝑥, 𝑦, 𝑧 จะโดนบังคับเป็ นค่าที่ทาให้ “หลัก” 1, 2, 3, 4 มีผลรวมเป็ นคู่
และเมื่อทัง้ 4 หลักมีผลรวมเป็ นคู่ และ 3 แถวแรกมีผลรวมเป็ นคู่ จะได้ แถวที่ 4 มีผลรวมเป็ นคูโ่ ดยอัตโนมัติ
(เพราะ ผลรวมแถวที่ 4 = ผลรวมทัง้ 4 หลัก − ผลรวม 3 แถวแรก)
นับจานวนแบบ → 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑖 รวม 9 ช่อง เป็ นได้ ช่องละ 2 แบบ แต่ช่องที่เหลือเลือกไม่ได้ → 𝑛(𝑆) = 29
29 1 1
จะได้ ความน่าจะเป็ น =
216
=
27
=
128

32. 9
ข้ อนี ้ ต้ องสังเกตว่า การบวกและคูณเมทริ กซ์ [𝑎 −𝑏
] จะเหมือนกับการบวกและคูณจานวนเชิงซ้ อน 𝑎 + 𝑏𝑖 ดังนี ้
𝑏 𝑎
บวก คูณ
𝑎 −𝑏 𝑐 −𝑑 𝑎 + 𝑐 −(𝑏 + 𝑑) 𝑎 −𝑏 𝑐 −𝑑 𝑎𝑐 − 𝑏𝑑 −(𝑎𝑑 + 𝑏𝑐)
[ ]+[ ] = [ ] [ ][ ]= [ ]
𝑏 𝑎 𝑑 𝑐 𝑏+𝑑 𝑎+𝑐 𝑏 𝑎 𝑑 𝑐 𝑎𝑑 + 𝑏𝑐 𝑎𝑐 − 𝑏𝑑
(𝑎 + 𝑏𝑖) + (𝑐 + 𝑑𝑖) = (𝑎 + 𝑐) + (𝑏 + 𝑑)𝑖 (𝑎 + 𝑏𝑖)(𝑐 + 𝑑𝑖) = (𝑎𝑐 − 𝑏𝑑) + (𝑎𝑑 + 𝑏𝑐)𝑖

ดังนัน้ (𝑎, 𝑏) ทีท่ าให้ 𝑀 = [𝑎 −𝑏] เป็ นคาตอบของ 𝑀9 + 𝑀7 + 𝑀5 + 𝑀3 + 𝑀 = 02×2


𝑏 𝑎
จะทาให้ 𝑧 = 𝑎 + 𝑏𝑖 เป็ นคาตอบของ 𝑧 9 + 𝑧 7 + 𝑧 5 + 𝑧 3 + 𝑧 = 0 ด้ วย
(𝑧)(𝑧 8 + 𝑧 6 + 𝑧 4 + 𝑧 2 + 1) = 0

𝑧=0 𝑧8 + 𝑧6 + 𝑧4 + 𝑧2 + 1 = 0 คูณ 𝑧 2 − 1 ทัง้


(𝑧 2 − 1)(𝑧 8 + 𝑧 6 + 𝑧 4 + 𝑧 2 + 1) = 0 สองข้ างเพื่อจัดรูป
𝑧10 − 1 = 0
𝑧10 = 1
เนื่องจาก รากที่ 10 ชอง 1 จะมี 10 ราก ดังนัน้ 𝑧10 = 1 จะมี 10 คาตอบ
หาจานวนคาตอบ โดยไล่ย้อนกลับ ดังนี ้ 𝑧10 = 1 → 10 คาตอบ
𝑧10 − 1 = 0
(𝑧 2 − 1)(𝑧 8 + 𝑧 6 + 𝑧 4 + 𝑧 2 + 1) = 0

2 คาตอบ 1 กับ −1 แทนแล้ ว ≠ 0


(1 กับ −1) ดังนัน้ วงเล็บนี ้ต้ องมี 10 − 2 = 8 คาตอบ
ดังนัน้ 𝑧 8 + 𝑧 6 + 𝑧 4 + 𝑧 2 + 1 = 0 มี 8 คาตอบ รวมกับ 𝑧 = 0 อีกคาตอบ ได้ เป็ น 9 คาตอบ

33. 100
9
∑ 𝑥𝑖2 ∑𝑥 2
จาก ความแปรปรวนประชากร = 11 จะได้ 100
− (100𝑖) = 11 2
𝑆ประชากร =
∑ 𝑥𝑖2
− 𝑥̅ 2
𝑁
∑ 𝑥𝑖2 ∑ 𝑥𝑖2 + 2 ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗
100
− 1002
= 11

(∑ 𝑥𝑖 )2 = (𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥𝑛 )(𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥𝑛 )
= 𝑥1 2 + 𝑥1 𝑥2 + 𝑥1 𝑥3 + … + 𝑥2 𝑥1 + 𝑥2 2 + 𝑥2 𝑥3 + …
จะเห็นว่า 𝑥1 𝑥2 กับ 𝑥2 𝑥1 จะกลายเป็ น 2𝑥1 𝑥2
𝑥1 𝑥3 กับ 𝑥3 𝑥1 จะกลายเป็ น 2𝑥1 𝑥3 …
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 31

100 ∑ 𝑥𝑖2 −(∑ 𝑥𝑖2 + 2 ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗 )


= 11
1002
99 ∑ 𝑥𝑖2 − 2 ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗 = 11 ∙ 1002 …(∗)

∑ 𝑦𝑖2 − 𝑁𝑦̅ 2
และจากสูตร 𝑆ตั2วอย่าง = (𝑦𝑘 −𝑦̅)
หรือจัดรูปจาก 𝑆ตั2วอย่าง = ∑ 𝑁−1
2

𝑁−1
∑ 𝑦𝑖2 15 ∑ 𝑦 2 ∑ 𝑦𝑘2 − 2𝑦̅ ∑ 𝑦𝑘 + ∑ 𝑦̅ 2
= − 14 ( 15𝑖) =
14 𝑁−1
∑ 𝑦𝑘2 – 2𝑦̅(𝑁𝑦̅) + 𝑁𝑦̅ 2
∑ 𝑦𝑖2 ∑ 𝑦𝑖2 +2 ∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗 =
= − 𝑁−1
14 14∙15 ∑ 𝑦𝑘2 − 𝑁𝑦̅ 2
15 ∑ 𝑦𝑖2 −(∑ 𝑦𝑖2 +2 ∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗 )
=
𝑁−1
= 14∙15
14 ∑ 𝑦𝑖2 −2 ∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗
= 14∙15
14 ∑ 𝑦𝑖2 −2 ∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗
ดังนัน้ 𝑧 แต่ละตัว จะหาได้ จาก 14∙15
โจทย์ถาม 𝑧̅ → ต้ องเอา 𝑧 ทัง้ 100
( 15 ) ตัวมาบวกกัน แล้ วหารด้ วย (100
15
)
เนื่องจาก 𝑦𝑖 แต่ละตัว จะกระจายอยูใ่ น 𝑧 ทัง้ (100 15
) ตัวอย่างเท่าๆกัน ดังนัน้ เราสามารถรวม 𝑦𝑖 ในกลุม
่ ตัวอย่าง
ทัง้ ( 15 ) กลุม่ แล้ วจับกลุม่ ใหม่ให้ เป็ น 𝑥𝑖 ในกลุม่ ประชากร โดยการเทียบสัดส่วนของจานวนพจน์ได้ ดังนี ้
100

14 ∑ 𝑦𝑖2 − 2 ∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗 ∑ 𝑦𝑖2 มี 𝑦𝑖2 กลุม


่ ละ 15 ตัว บวกกัน (100 15
) กลุม

𝑧 = 15
14∙15 จับกลุม่ ใหม่เป็ น ∑ 𝑥𝑖2 ที่มี 𝑥𝑖2 กลุม่ ละ 100 ตัว ได้ (100
15
)∙
100
กลุม่
15 (2) 15
∑ 𝑦𝑖 𝑦𝑗 มี 𝑦𝑖 𝑦𝑗 กลุม
่ ละ (15 ) ตัว บวกกัน (100 ) กลุม

14∙(100
15 )∙ ∙∑ 𝑥𝑖2 − 2(100
15 )∙ 100 ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗
2 15
100 ( 2 )
(15)
∑𝑧 = จับกลุม่ ใหม่เป็ น ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗 ที่มี 𝑥𝑖 𝑥𝑗 กลุม่ ละ (100 ) ตัว ได้ (100 2
) ∙ 100 กลุม่
14∙15 2 15 ( )
2

15 15∙14
∑𝑧 14 ∙ ∙∑ 𝑥𝑖2 −2∙ ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗
ดังนัน้ (100
= 100
14∙15
100∙99
15 )
1 1
= ∙ ∑ 𝑥𝑖2 − 2 ∙ ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗
100 100∙99
99 ∑ 𝑥𝑖2 − 2 ∑ 𝑥𝑖 𝑥𝑗
= 100∙99
11∙1002
จาก (∗)
= 100∙99
100
=
9

37
34. 4
1
3 3 3
หา 𝐵 : ⌊
√𝑥
⌋ คือ การปั ดเศษลงของ
√𝑥
→ จะแบ่ง  ⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 ตามค่าต่างๆทีเ่ ป็ นจานวนเต็มของ √3𝑥
0
3 3
จะเห็นว่า เมือ่ 𝑥 ∈ (0, 1) จะได้ √𝑥
≥3 → เมื่อ √𝑥
=3 จะได้ 𝑥=1
3 3 2
เมื่อ √𝑥
=4 จะได้ 𝑥 = (4)
3 3 2
เมื่อ √𝑥
=5 จะได้ 𝑥 = (5)


32 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

2 2
3 3
   
1 1 4 5
3 3 3 3
ดังนัน้  ⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 = 2⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 + 2⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 + 2⌊
√𝑥
⌋ 𝑑𝑥 + …
0 3 3 3
     
4 5 6
2 2
3 3
   
1 4 5
= 2 3 𝑑𝑥 + 2 4 𝑑𝑥 + 2 5 𝑑𝑥 + …
3 3 3
     
4 5 6
3 2 3 2 3 2 3 2 3 2
= 3 (1 − ( ) ) + 4 (( ) − ( ) ) + 5 (( ) − ( ) ) + …
4 4 5 5 6
3 2 3 2 3 2 3 2 3 2
= 3(1) − 3( ) + 4( ) −4( ) + 5( ) − 5( ) + …
4 4 5 5 6
3 2 3 2 3 2
= 3 + (4) + (5) + (6) + …
1 1 1
= 3 + 9( 42 + 52
+ 62
+⋯)

โจทย์ถาม 12𝐴 − 𝐵 ดังนัน้ ต้ องจัดรูป 𝐴 ให้ คล้ ายๆกัน จะได้ ตดั กันได้
หา 𝐴 : 112 + 312 + 512 + ⋯ = (112 + 212 + 312 + 412 + 512 + ⋯ ) − (212 + 412 + 612 + ⋯ )
1 1 1 1 1 1 1 1 1
= (12 + 22 + 32 + 42 + 52 + ⋯ ) − 22 (12 + 22 + 32 + ⋯ )
3 1 1 1
= (
4 12
+ 22 + 32 + ⋯ )

3 1 1 1 1 1 1
ดังนัน้ 12𝐴 − 𝐵 = 12 ∙ ( 2 +
4 1 22
+
32
+ ⋯ ) − (3 + 9 (
42
+
52
+
62
+ ⋯ ))
1 1 1 1 1 1
= 9 ( 2+ + + ⋯) −3 −9( + + + ⋯)
1 22 32 42 52 62
1 1 1
= 9 (2 + 2+ ) −3
1 2 32
9 37
= 9 + + 1 − 3 =
4 4

35. 719.5
3002
𝑛𝜋 𝑘𝜋
จะหาทังหมด
้  sin2 (
3003
) ก่อน แล้ วค่อยหักด้ วย sin2 (3003 ) ที่ ห.ร.ม. (𝑘, 3003) ≠ 1
n 1

3002 3002 1 − cos( 2𝑛𝜋 )


𝑛𝜋
 sin2 (3003) =  3003
n 1 n 1 2 cos 2𝜃 = 1 − 2 sin2 𝜃
1 − cos 2𝜃
3002
1 1
3002
2𝑛𝜋 sin2 𝜃 =
=  −  cos (3003) …(∗) 2
n 1 2 2 n 1

3002
2𝑛𝜋
สังเกตว่า  cos (3003) คล้ ายกับผลบวกของ “รากที่ 3003 ของ 1”
n 1
0
รากที่ 3003 ของ 1 = รากที่ 3003 ของ 1 cis 0
รากตัวแรก = 3003√1 cis 3003 →
= 1 cis 0
2𝜋 4𝜋 2(3002)𝜋
→ รากที่เหลือ = 1 cis 3003 , 1 cis 3003 , … , 1 cis 3003
แต่จากสูตรผลบวกรากของสมการ 𝑧 3003 = 1 จะได้ วา่ รากทัง้ 3003 ตัว ต้ องบวกกันได้ 0
2𝜋 4𝜋 2(3002)𝜋
ดังนัน้ 1 cis 0 + 1 cis 3003 + 1 cis
3003
+ … + 1 cis
3003
= 0
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58) 33

2𝜋 4𝜋 2(3002)𝜋
คิดเฉพาะส่วนจริงที่เป็ น cos จะได้ 1 cos 0 + 1 cos 3003 + 1 cos 3003 + … + 1 cos 3003
= 0

3002
2𝑛𝜋
1 +  cos (3003) = 0
n 1
3002
2𝑛𝜋
 cos (3003) = −1
n 1

3002
𝑛𝜋 3002 1 3003
แทนใน (∗) จะได้  sin2 (3003) = 2
− 2 (−1) = 2
n 1

𝑘𝜋
ถัดมา หัก sin2 (3003 ) ที่ ห.ร.ม. (𝑘, 3003) ≠ 1
เนื่องจาก 3003 = 3 ∙ 7 ∙ 11 ∙ 13 ดังนัน้ 𝑘 ต้ องหารด้ วย 3 หรื อ 7 หรื อ 11 หรื อ 13 ลงตัว
3𝜋 6𝜋 9𝜋 3000𝜋
หารด้ วย 3 ลงตัว → ต้ องหัก sin2 (3003 ) + sin2 (
3003
) + sin2 (
3003
) + … + sin2 (
3003
)
𝜋 2𝜋 3𝜋 1000𝜋
= sin2 (1001) + sin2 (1001) + sin2 (1001) + … + sin2 ( 1001 )
1000
𝑛𝜋
=  sin2 ( ) 3002
1001
n 1 ทาแบบเดียวกับที่เคยทา  sin2 (3003
𝑛𝜋
) =
3003
2
1001 n 1
= 2
7𝜋 14𝜋 21𝜋 2996𝜋
หารด้ วย 7 ลงตัว → ต้ องหัก sin2 (3003) + sin2 (3003) + sin2 (3003) + … + sin2 ( 3003 )
𝜋 2𝜋 3𝜋 428𝜋
= sin2 (429) + sin2 (429) + sin2 (429) + … + sin2 ( 429 )
428
𝑛𝜋
=  sin2 (429)
n 1
429
= 2
3003
283
ทาแบบเดียวกัน จะได้ หารด้ วย 11 ลงตัว → ต้ องหัก 11
2
= 2
3003
231
หารด้ วย 13 ลงตัว → ต้ องหัก 13
2
= 2

3003 1001 429 283 231


จะได้ ผลรวม หลังหัก = 2
− 2 − 2 − 11 − 2
3003 1 1 1 1
= 2
(1 − 3 − 7 − 11 − 13)

21𝜋
แต่จะเห็นว่า มีบางตัวที่โดน “หักซ ้า” (เช่น sin2 (3003) จะโดนหักทัง้ ตอนหาร 3 ลงตัว และ ตอนหาร 7 ลงตัว)
ดังนัน้ จะใช้ หลัก Inclusive – Exclusive เพื่อชดเชยตัวซ ้า จะได้ คาตอบ คือ
หัก หารลงตัว ตัวเดียว รวม หารลงตัว สองตัว หัก หารลงตัว สามตัว
3003 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
2
(1 − 3 − 7 − 11 − 13 + 3∙7 + 3∙11 + 3∙13 + 7∙11 + 7∙13 + 11∙13 − 3∙7∙11 − 3∙7∙13 − 3∙11∙13 − 7∙11∙13)

หาร 3 และ 7 ลงตัว หาร 3 และ 7 และ 11 ลงตัว


หมายเหตุ : รอบสุดท้ าย “หารลงตัว สีต่ วั ” ไม่ต้องคิด เพราะไม่มี sin2 (3003𝜋
3003
) ตังแต่
้ แรก
จะกระจาย 3003 แล้ วคิดเลขก็ได้ หรื อจะจับกลุม่ ดึงตัวร่วม (เป็ นแบบเดียวกับฟั งก์ชนั ฟี ออยเลอร์ ) ก็ได้
จะได้ = 3003
2
1 1 1 1
[(1 − 3) (1 − 7) (1 − 11) (1 − 13) − 3∙7∙11∙13]
1

3003 2 ∙ 6 ∙ 10 ∙ 12 1 3003 1439 1439


= [ − ] = [3∙7∙11∙13] = = 719.5
2 3∙7∙11∙13 3∙7∙11∙13 2 2
34 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 58)

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Gtr Ping จาก GTRmath สาหรับข้ อสอบครับ
ขอบคุณ เว็บ MathCenter สาหรับเฉลยคาตอบ และวิธีทา

You might also like