You are on page 1of 29

Case Analysis Report

Case 19

Fonderia Del Piemonte


S.P.A
MGMG664 : Study Case in Finance

College of Management Mahidol University (CMMU)

Academic Year 2/2021


List of Content

Problem statement and Company Overview...................................2

SWOT Analysis..........................................................................................6

2.What are the cash flows associated with the Thor MM-9
investment?...............................................................................................8

3.What discount rate did you use? What DCF did you get?..........9

4.Are you uncertain about any of the assumption? What does a


sensitivity analysis of those assumptions reveal?..........................11

5.Are there qualitative issues that we should address but which


are not affected in the DCF analysis?...............................................12

6.What should Martine Bellucci recommend to her board of


directors?.................................................................................................13

Team Member........................................................................................14
Problem Statement and Company Overview
ในเดือนพฤศจิกายน 2015 Martina Bellucci กรรมการผู้จัดการของ
บริษัท Fonderia del Piemonte ได้พิจารณาซื้อเครื่องขึน
้ รูปอัตโนมัติ
Thor MM-9 โดยเครื่องจักรนีจ
้ ะทำหน้าที่เตรียมแม่พิมพ์ทรายเพื่อเทเหล็ก
หลอมเหลวเพื่อขึน
้ รูปเหล็กหล่อ เครื่องจักร Thor MM-9 จะเข้ามาแทนที่
เครื่องจักรรุ่นเก่าและจะเข้ามาปรับปรุงคุณภาพและความสามารถเพิ่มเติม
สำหรับการขยายตัวของธุรกิจ แต่อย่างไรก็ตามข้อเสนอนีไ้ ด้ถูกปฎิเสธโดย
คณะกรรมการบริษัทด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ในปี 2014 เนื่องจากค่าใช้
จ่ายในการลงทุนมีมูลค่าสูงเกือบ 2 ล้านยูโร ดังนัน
้ Bellucci จึงพยายาม
ประเมินต้นทุนและประโยชน์ของโครงการนีอ
้ ย่างรอบคอบ เพื่อตัดสินใจว่า
ทางบริษัทควรดำเนินการลงทุนในโครงการนีต
้ ่อไปหรือไม่

บริษัท Fonderia del Piemonte ซึ่งเป็ นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ


ด้านการผลิตการหล่อโลหะที่มีความแม่นยำสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในยานยนต์
อากาศยาน และอุปกรณ์ก่อสร้าง บริษัทนีไ้ ด้รับชื่อเสียงในด้านผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพ โดยเฉพาะชิน
้ ส่วนด้านความปลอดภัย ซึง่ ผลิตภัณฑ์ของบริษัท
ประกอบด้วยเพลาข้อเหวี่ยง ระบบส่งกำลัง คาลิปเปอร์เบรก เพลา ล้อ และ
ชิน
้ ส่วนประกอบพวงมาลัยต่างๆ โดยลูกค้าส่วนใหญ่ของบริษัทจะมาจากโซน
ยุโรป โดยพักหลังลูกค้าเริ่มมีการให้ความสำคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
มากขึน
้ และ Fonderia del Piemonte ได้มีการตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าโดยการลด Rejection Rate ของการหล่อให้เหลือเพียงเหลือ 70
ส่วนต่อล้าน
ซึ่งโจทย์การพัฒนาคุณภาพสินค้าในครัง้ นีทำ
้ ให้บริษัทต้องใช้เงิน
จำนวนมาก ซึ่งกลุ่มของลูกค้าของบริษัทได้มีการปล่อยเงินกู้ในอัตราดอกเบีย

ทีตำ
่ ่ให้แก่บริษัท Fonderia del Piemonte เพื่อรองรับการขยายคุณภาพ
ของสายการผลิต สุดท้ายบริษัทได้รับสัญญาระยะยาวในการผลิตสินค้าให้กับ
ทางลูกค้า

Fonderia del Piemonte ตัง้ อยู่ในเมืองตูริน ประเทศอิตาลี ก่อตัง้ ขึน



ในปี 1912 โดย Benito Bellucci ปู ่ทวดของ Bellucci วิศวกรทหารเรือ
โดยเริ่มแรกบริษัทได้จัดตัง้ ขึน
้ เพื่อผลิตอุตสาหกรรมอาวุธยุทโธปกรณ์ ในช่วง
ทศวรรษที่ 1920 และ 1930 บริษัทได้ขยายฐานลูกค้าไปสู่อุตสาหกรรมยาน
ยนต์ แม้ว่าในช่วงปลายทศวรรษ 1940 บริษัทเกือบที่จะปิ ดตัวลง แต่
Benito Bellucci ได้คาดการณ์ถึงความต้องการหลังสงครามสำหรับการ
หล่อโลหะ เขาจึงได้มีการปรับเปลี่ยนและวางแผนการของบริษัทใหม่ นับ
จากนัน
้ เป็ นต้นมา Fonderia del Piemonte เติบโตอย่างช้าๆ แต่มั่นคง
โดยยอดขายในปี 2015 คาดว่าจะอยู่ที่ 1.3 พันล้านยูโร และได้จดทะเบียน
ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์มิลานในปี 1991 โดยตระกูล Bellucci ถือหุ้นอยู่
ที่ 55% ของหุ้นสามัญที่คงค้างอยู่

Rate of Return on Capital ที่ 7% ของบริษัทยังคงเป็ นปั ญหา


เรื้อรัง และปั ญหาเหล่ายังคงไม่ถูกแก้ไขตัง้ แต่ปี 2012 นอกจากนีน
้ โยบาย
ของบริษัทที่ต้องการคืนทุนทัง้ หมดภายในห้าปี อีกทัง้ มูลค่าทุนของบริษัท
แบ่งเป็ นหนีส
้ ินที่ 33% และส่วนของผูถ
้ ือหุ้น 67% โดยอัตราการกู้ยืมอยู่ที่
2.6% และอัตราภาษีที่แท้จริงอยู่ที่ประมาณ 43% ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า
บริษัทมีการจ่ายอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลระดับประเทศและระดับท้องถิ่น

แม่พิมพ์ทรายเครื่องจักร ที่ถูกใช้งานสำหรับการหล่อในปั จจุบัน ได้ถก



นำมาติดตัง้ ในกระบวนการกึ่งอัตโนมัติที่ Fonderia del Piemonte การ
ทำงานของเครื่องจักรจะเริ่มโดยการที่คนงานนำส่วนผสมของทรายและกาว
มาผสมภายใต้ความร้อนและความดันที่สูง กระบวนการนีจำ
้ เป็ นที่ต้องใช้
แรงงานค่อนข้างมากและแรงงานจำเป็ นต้องผ่านการฝึ กอบรมเพื่อให้ได้งาน
ออกมามีคุณภาพ อีกทัง้ ในกระบวนการนีแ
้ รงงานต้องใช้แรงในการรยกของ
หนัก ซึง่ ผลกระทบให้มีการเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลสำหรับอาการบาดเจ็บ
ที่หลังในโรงหล่อได้เพิ่มขึน
้ เป็ นสองเท่าตัง้ แต่ปี 2012 เนื่องจากผลิตภัณฑ์
หล่อของ Fonderia del Piemonte เปลี่ยนไปใช้สินค้าที่มีน้ำหนักหนัก
เฉลี่ยที่สูงขึน
้ ถึง 25 กก. ในปี 2015

โดยเครื่องขึน
้ รูปแบบใหม่จะถูกนำเข้ามาแทนเครื่องปั๊ มขึน
้ รูปแบบกึง่
อัตโนมัติจำนวนหกเครื่อง ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วจะมีมูลค่าเริ่มต้นอยู่ที่ 423,000
ยูโร และค่าเสื่อมราคาสะสมจำนวน 169,200 ยูโรได้ถูกเรียกเก็บกับต้นทุน
เดิมแล้ว และค่าเสื่อมราคา 6 ปี ยังคงอยู่ตลอดอายุการใ้ช้ประโยชน์รวม 10
ปี ฝ่ ายบริหารของ Fonderia del Piemonte เชื่อว่าเครื่องกึ่งอัตโนมัติเหล่า
นัน
้ จะต้องถูกแทนที่หลังจากหกปี และเมื่อเร็วๆนี ้ Bellucci ได้รับข้อเสนอ
ราคาเครื่องจักรทัง้ หกเครื่องด้วยมูลค่าเพียง 130,000 ยูโร

ปั จจุบันเครื่องจักรหกเครื่องต้องการแรงงาน 12 คนต่อกะ (รวม


ทัง้ หมด 24 คน) ในราคา 14.66 ยูโรต่อคนต่อชั่วโมง บวกกับพนักงานซ่อม
บำรุงสองคน ซึ่งแต่ละคนได้รับค่าจ้าง 15.70 ยูโรต่อชั่วโมง รวมถึงค่าบำรุง
รักษา 6,000 ยูโรต่อปี Bellucci สันนิษฐานว่าเครื่องกึ่งอัตโนมัติหากเก็บไว้
จะใช้พลังงานไฟฟ้ าในอัตรา 15,300 ยูโรต่อปี

เครื่องขึน
้ รูป Thor MM-9 ได้ถูกผลิตโดยบริษัทอเมริกันในเมือง
Allentown รัฐเพนซิลวาเนีย Fonderia del Piemonte ได้รับราคาเสนอที่
1.9 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐจากบริษัทอเมริกัน เนื่องจากอัตราแลก
เปลี่ยนปั จจุบันระหว่างยูโรและดอลลาร์สหรัฐฯ อยู่ที่ 1.06 ดอลลาร์สหรัฐฯ
ต่อยูโร ราคาในสกุลเงินยูโรจึงอยู่ที่ 1.8 ล้านยูโร ค่าประมาณสำหรับการ
ปรับเปลี่ยนโรงงาน รวมถึงการเดินสายไฟสำหรับแหล่งจ่ายไฟเพื่อรองรับ
การติดตัง้ เครื่องจักรจะอยู่ที่ 100,000 ยูโร อีกทัง้ ยังมีค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง
การติดตัง้ และการทดสอบอยู่ที่ 50,000 ยูโร ดังนัน
้ ต้นทุนรวมของเครื่อง
Thor MM-9 คาดว่าจะอยู่ที่ 1.95 ล้านยูโร ซึ่งทัง้ หมดจะถูกคิดรวมเป็ นต้น
ทุนและหักค่าเสื่อมราคาเพื่อวัตถุประสงค์ทางภาษีตลอดแปดปี Bellucci
สันนิษฐานว่าด้วยอัตราการใช้งานของเครื่องจักรที่สูงและสม่ำเสมอของ
เครื่องจักร Thor MM-9 หลังจากปี ที่แปดทางบริษัทจำเป็ นต้องเปลี่ยน
เครื่องจักรใหม่มาทดแทน เครื่องจักรใหม่ต้องใช้ผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะ
สองคน (หนึง่ คนต่อกะ) โดยแต่ละคนได้รับเงิน 22.72 ยูโรต่อชั่วโมง และ
การบำรุงรักษาตามสัญญาที่ 120,000 ยูโรต่อปี และจะมีค่าใช้จ่ายด้าน
พลังงานที่ 40,000 ยูโรต่อปี นอกจากนีค
้ าดว่าเครื่องจักรอัตโนมัติจะ
ประหยัดเงินได้อย่างน้อย 30,000 ยูโรต่อปี ด้วยเครื่องจักรในปั จจุบัน ต้อง
ใช้พ้น
ื ที่มากกว่า 30% ของโรงหล่อ ทางบริษัทจำเป็ นต้องจัดพื้นที่ขนาดใหญ่
เพื่อรองรับเครื่องจักร ในส่วนของวัตถุดิบและสินค้าคงเหลือระหว่างผลิต
จำเป็ นต้องจัดวางให้ใกล้กับเครื่องจักรแต่ละเครื่องเพื่อให้ขน
ั ้ ตอนการทำงาน
เป็ นไปด้วยความสะดวก แต่สำหรับเครื่องจักรอัตโนมัติใหม่ จะทำให้มีพ้น
ื ที่
เหลือเกือบครึ่งหนึ่ง

ในบางแง่มุมของการตัดสินใจซื้อ Thor MM-9 นัน


้ เป็ นเรื่องที่ยาก
เนื่องจากประการแรก Bellucci ไม่แน่ใจว่าข้อตกลงร่วมกันที่เข้มงวดในการ
เจรจาต่อรองกับบริษัทจัดหาพนักงานจะยอมให้เธอเลิกจ้างพนักงานควบคุม
เครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติทงั ้ 24 รายหรือไม่ การมอบหมายงานใหม่ให้กับ
พนักงานอาจทำได้ง่ายกว่าแต่ถึงอย่างไรก็ตามตำแหน่งที่ต้องการล้วนเป็ น
งานที่ไม่ได้ต้องการทักษะ ซึ่งอัตราผลตอบแทนการจ้างงานจะจ่ายอยู่ที่
9.13 ยูโรต่อชั่วโมง ดังนัน
้ ขอบเขตของการลดรายจ่ายจากแรงงานจะขึน
้ อยู่
กับการเจรจากับสหภาพแรงงาน ประการที่สอง Bellucci เชื่อว่า Thor
MM-9 จะส่งผลให้คุณภาพผลิตภัณฑ์สูงขึน
้ และอัตราการสูญเสียที่ลดลง โดย
บริษัทกำลังมองว่าในขณะนี ้ ในแง่ของการแข่งขันที่เพิ่มขึน
้ เรื่อย ๆ ผลลัพธ์นี ้
อาจพิสูจน์ได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก อีกทัง้ Thor MM-9 มีกำลังการผลิต
ที่สูงกว่าเครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติทงั ้ หกเครื่องถึง 30% แต่ถงึ อย่างไร
เครื่องจักรเหล่านัน
้ ถูกใช้งานเพียง 90% ของกำลังการผลิต และ Bellucci
ยังคงไม่แน่ใจว่าจะต้องเพิ่มกำลังการผลิตเมื่อใด บวกกับความไม่แน่นอน
มากมายเกี่ยวกับแนวโน้มเศรษฐกิจในยุโรป และข่าวเศรษฐกิจล่าสุดชีใ้ ห้เห็น
ว่าเศรษฐกิจของยุโรปอาจจะกำลังชะลอตัว ดังนัน
้ จึงเป็ นเรื่องยากในการ
ตัดสินใจลงทุนเพิ่มในการติดตังเครื่องจักร Thor MM-9
SWOT Analysis
จุดแข็ง (Strength)

 บริษัทมีช่ อ
ื เสียงในด้านการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ สามารถสร้าง
ความพึงพอใจให้กับลูกค้า
 บริษัทก่อตัง้ มานานและเป็ นแบรนด์ที่ร้จ
ู ักกันในวงกว้างทั่วทัง้
โลก
 บริษัทได้เปรียบคู่แข่งเนื่องจากมีแหล่งทรัพยากรที่มีคุณภาพดี
และราคาถูก เนื่องจากบริษัทมีขนาดในการผลิตที่ค่อนข้างเยอะ
ดังนัน
้ บริษัทจึงมีอำนาจในการต่อรองกับซัพพลายเออร์
 บริษัทมีการผลิตสินค้าและการทำการตลาดที่แตกต่างจากแบ
รนด์อ่ น
ื ๆ เช่นการออกแบบสินค้าให้แตกต่างจากคู่แข่งรายอื่นๆ
หรือการเพิ่มความใส่ใจในการดูแลสิ่งแวดล้อม

จุดอ่อน (Weakness)

 บริษัทมีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพของสินค้า จึงทำให้บริษัท
มีต้นทุนที่เพิ่มขึน
้ และทำให้ระดับราคานัน
้ เพิ่มสูงขึน
้ ไปด้วย
 วิสัยทัศน์ของบริษัทไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่พวกบริษัทใช้อยู่
ในขณะนี ้ โดยบริษัทต้องลงทุนในนวัตกรรมมากขึน
้ เพื่อให้โดด
เด่นในตลาดที่มีการแข่งขันสูง
 เนื่องจากบริษัทมีการขยายธุรกิจและมีการสร้างแฟรนไซส์ที่เป็ น
จำนวนมาก ดังนัน
้ จึงทำให้บริษัทการดำเนินงานและการควบคุม
ธุรกิจที่ยากขึน

โอกาส (Opportunity)

 บริษัทเป็ นที่รู้จักของลูกค้ามากขึน
้ จากการมีผลิตภัณฑ์ใหม่ ทำให้
สามารถขยายฐานลูกค้าออกไปได้ จากการที่ผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพมากขึน
้ โดยบริษัทมีการขยายธุรกิจไปยังประเทศอื่นๆ
ในทวีปยุโรปและเอเชีย
 บริษัทมีการก้าวเข้ามาเป็ นผู้เล่นในตลาดใหม่ เช่นการผลิตเครื่อง
ใช้ไฟฟ้ า
 พฤติกรรมของลูกค้าและกฎหมายที่เปลี่ยนแปลง เช่นการใส่ใจ
ในผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ด้วยบริษัทมีนโยบายที่สนับสนุน
ในการผลิตเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

อุปสรรค (Threats)

 การที่บริษัทต้องลงทุนในโครงการดังกล่าวเป็ นจำนานมาก ทำให้


มีความเสี่ยงในเรื่องของอัตราดอกเบีย
้ ที่มีความไม่แน่นอน จาก
สภาพเศรษฐกิจ อาจจะทำให้บริษัทมีความเสี่ยงที่จะเกิดการขาด
สภาพคล่องได้
 การเข้ามาของผู้แข่งขันรายใหม่ในตลาด ทำให้บริษัทไม่สามารถ
คาดการณ์ถงึ ต้นทุนการดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงระดับ
ราคาของได้
 ค่าเงินดอลลาร์มีความผันผวน ทำให้การลงทุนของบริษัทมีความ
เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
2.What are the cash flows associated with the Thor MM-9
investment?
จากข้อมูล ผู้บริหารจะต้องตัดสินใจในการเปลี่ยนเครื่องจักรจาก
เครื่องจักรแบบกึ่งอัตโนมัติ 6 เครื่อง (มีอายุการใช้งานเหลืออีก 6 ปี ) เป็ น
เครื่องจักร Thor MM-9 (มีอายุการใช้งาน 8 ปี )

Labor Cost
Thor Current
  MM-9 Re-Assign Machines

Operator 1.00 12.00 12.00

Hour 8.00 8.00 8.00

Shifts 2.00 2.00 2.00

Paid per Hour 22.72 9.13 14.66

Days per year 210 210 210


Labor Cost 76,33 368,12 591
per year 9.20 1.60 ,091.20

Maintenance
Thor Current
MM-9 Machines
worker 0 2
Hour 0 8
Shifts 0 1
Paid per Hour 0 15.7
Days per year 0 210
Maintenance 120,00 52,752.00
labor 0.00
Maintenance
Supplies 6,000.00
30,000.
Labor saving 00
Power cost 40,000.
per year 00 15,300.00

ปั จจุบันบริษัทมีเครื่องจักรเดิมอยู่ที่ 6 เครื่อง โดยมีราคาต้นทุนเดิมอยู่


423,000 ยูโร และเมื่อหักค่าเสื่อมราคาสะสม 6 ปี จะทำให้มีมูลค่าทางบัญชี
อยู่ที่ 253,800 ยูโร และมีอายุการใช้งานเหลืออีก 10 ปี โดยมีมูลค่าทาง
ตลาดอยู่ที่ 130,000 ยูโร โดยการใช้งานของเครื่องนัน
้ จะต้องมีพนักงาน
ทัง้ หมด 12 คน โดยใช้ทงั ้ หมด 2 กะ 24 คน โดยคิดค่าใช้จ่ายชั่วโมงละ 14.6
6 ยูโรต่อชั่วโมง (สมมติว่าชั่วโมงทำการของธุรกิจคือ 8 ชั่วโมงต่อกะ) ทำให้
ต้นทุนทางแรงงานจะอยู่ที่ 591,091.20 ยูโรต่อปี ในส่วนค่า ซ่อมบำรุงจะ
อยู่ที่ 6,000 ยูโรต่อปี และค่าไฟ 15,300 ยูโรต่อปี

สำหรับเครื่องจักร Thor MM-9 มีค่าซ่อมบำรุงที่จ่ายมากกว่าเดิมจาก


6,000 ยูโร เป็ น 120,000 ต่อปี ซึ่งเป็ นอัตราเพิ่มขึน
้ ที่สูงขึน
้ อย่างมีนัยสำคัญ
และค่าไฟฟ้ าที่จ่ายเพิ่มขึน
้ เกือบ 3 เท่า แต่อย่างไรก็ตามเครื่อง THOR จะ
สามารถลดค่าแรงงานได้พอสมควร จากเครื่องเก่าที่จ่ายที่ประมาณ
591,091.20 ยูโรต่อปี เหลือเพียงประมาณ 368,121.60 ยูโรต่อปี พร้อมกับ
มูลค่าประสิทธิภาพเพิ่มค่าคิดเป็ นเงิน 30,000 ยูโรต่อปี
กระแสเงินสดของบริษัท
Year 0 1 2 3 4 5 6 7 8
Estimate Cash Flow for Thor
MM-9                  
(item : Euro)                  
                   
Labor Cost   -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20 -76,339.20
Reassign Labor Cost   0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
Maintenance   -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00 -120,000.00
Power Cost   -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00 -40,000.00
Labor Saving   30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00
- Depreciation   -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00 -243,750.00
Before Tax Cost   -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20 -450,089.20
Taxes (43%)   193,538.36 193,538.36 193,538.36 193,538.36 193,538.36 193,538.36 193,538.36 193,538.36
After Tax Cost   -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84 -256,550.84
+ Depreciation   243,750.00 243,750.00 243,750.00 243,750.00 243,750.00 243,750.00 243,750.00 243,750.00
- Capital Expenditure -1,766,766.00                
-
Cash Flow from Thor MM-9 1,766,766.00 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84
Year 0 1 2 3 4 5 6 7 8
Estimate Cash Flow for Semi
Automed                  
(item : Euro)                  
                   
Labor Cost   -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20 -591,091.20
Maintenance Labor   -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00 -52,752.00
Maintenance Supplies   -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00 -6,000.00
Power Cost   -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00 -15,300.00
Labor Saving                  
- Depreciation   -42,300.00 -42,300.00 -42,300.00 -42,300.00 -42,300.00 -42,300.00    
Before Tax Cost   -707,443.20 -707,443.20 -707,443.20 -707,443.20 -707,443.20 -707,443.20 -665,143.20 -665,143.20
Taxes   304,200.58 304,200.58 304,200.58 304,200.58 304,200.58 304,200.58 286,011.58 286,011.58
After Tax Cost   -403,242.62 -403,242.62 -403,242.62 -403,242.62 -403,242.62 -403,242.62 -379,131.62 -379,131.62
+ Depreciation   42,300.00 42,300.00 42,300.00 42,300.00 42,300.00 42,300.00    
- Capital Expenditure                  
Cash Flow from Semi - - - - - - - -
Automated 0.00 360,942.62 360,942.62 360,942.62 360,942.62 360,942.62 360,942.62 379,131.62 379,131.62

Year 0 1 2 3 4 5 6 7 8
Estimate of Incremental                  
Cash Flow
(item : Euro)                  
(New) Cash Flow from Thor MM-
9 -1,766,766.00 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84 -12,800.84
(Old) Cash Flow from Semi
Automated 0.00 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -379,131.62 -379,131.62
-
Incremental cash flow 1,766,766.00 348,141.78 348,141.78 348,141.78 348,141.78 348,141.78 348,141.78 366,330.78 366,330.78

จากตารางข้างต้น พบว่า ในการลงทุนในบริษัทไม่ควรลงทุนในเครื่องจักร Thor-MM9 เนื่องจาก


จำเป็ นต้องลงทุนจำนวนเงินที่สูงกว่าเครื่องจักรเดิม เป็ นเงิน 1,441,766 ยูโร
3.What discount rate did you use? What DCF did you get?
ต้นทุนถั่วเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WACC) สามารถคำนวณจากต้นทุนส่วน
ของเจ้าของ (Cost of Equity) และต้นทุนของหนีส
้ ิน (Cost of Debt) ถ่วง
น้ำหนักด้วยสัดส่วนของส่วนของเจ้าของ (Equity) และส่วนของหนีส
้ ิน (Deb
t) เนื่องจากค่าใช้จ่ายดอกเบีย
้ ของหนีส
้ ินสามารถใช้หักลดหย่อน ภาษี (Tax:
T) ได้ในประเทศส่วนใหญ่ ต้นทุนของหนีส
้ ินจึงจะคูณด้วย (1-T) ส่งผลให้
เกิดการลดลงของ ต้นทุนของหนีส
้ ิน สะท้อนให้เห็นถึงประโยชน์ทางภาษีที่
บริษัทได้รับจากการจ่ายภาษีน้อยลง (Tax Shield) โดยต้นทุนถั่วเฉลี่ยถ่วง
น้ำหนัก มีการคำนวณดังนี ้

โดย WACC = WeKe + WdKd (1-T)

ต้นทุนของส่วนของเจ้าของ (Cost of Equity: Ke) คือ ผลตอบแทนที่


คาดหวังหรือต้องการจากการลงทุนในหุ้น (Expected return on equity)
ประกอบด้วยอัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยง (Risk free rate)
และ ส่วนชดเชยความเสี่ยงที่เป็ นระบบของหลักทรัพย์ (Equity Risk
premium) โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวัดต้นทุนของส่วนของเจ้าของ ซึ่งได้รับ
การยอมรับอย่างกว้างขวางในทางปฏิบัติ คือ แบบจำลองกำหนดราคาหลัก
ทรัพย์ (Capital Asset Pricing Model: CAPM) แบบจำลองกำหนดราคา
หลักทรัพย์ (Capital Asset Pricing Model: CAPM)

Ke = Rf + (ß x MRP)

จากข้อมูลจะคำนวณได้ดังนี ้
Risk free rate (Rf) : หุ้นกู้ Euro-denominated bond ที่ออกโดยรัฐบาล
อิตาลีมีอัตราผลตอบแทนร้อยละ 1.70 และ Belucci สันนิษฐานว่าไม่ได้รับ
ผลกระทบจากอัตราเงินเฟ้ อไปอีก 10 ปี ข้างหน้า

Market Risk Premium (MRP) : Belucci เชื่อว่าอัตราผลตอบแทนของ


ตลาดที่มีเหนืออัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยง มีค่าเท่ากับร้อยละ
5

Beta (ß) : ค่า Beta ของบริษัทฯ จากการประเมินมีค่าเท่ากับ 1.25

ดังนัน
้ Cost of Equity สามารถคำนวนได้จาก CAPM model ตามที่ได้
กล่าวไว้ดังด้านบนโดยบริษัท Fonderia del Piemonte S.p.A. มี Cost of
Equity ที่ร้อยละ 7.95

ต้นทุนของหนีส
้ ิน (Cost of Debt: Kd) คือ อัตราดอกเบีย
้ ของเงินกู้
ของบริษัทโดยจะต้องพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนที่นักลงทุนต้องการจาก
การลงทุนในตราสารหนีใ้ นตลาดในปั จจุบัน โดยอัตราดอกเบีย
้ กู้ยืมของ
บริษัทเท่ากับร้อยละ 2.60 สัดส่วนของเงินทุนจากส่วนของเจ้าของต่อเงินทุน
รวมของ Fonderia del Piemonte S.p.A. เท่ากับร้อยละ 67 สัดส่วนของ
หนีส
้ ินจากส่วนของเจ้าของต่อเงินทุนรวมของ Fonderia del Piemonte S.
p.A. เท่ากับร้อยละ 33
ดังนัน
้ บริษัทจะมีต้ นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WACC) ดังตาราง

จากสูตร WACC = WeKe + WdKd (1-T) พบว่าบริษัท Fonderia del


Piemonte S.p.A. นัน
้ มีต้นทุนทางการเงินที่ร้อยละ 5.82 ซึ่งน้อยกว่า
ต้นทุนทางการเงินตามนโยบายการลงทุนของบริษัทที่กำหนดไว้ Hurdle
rate ร้อยละ 7 ดังนัน
้ WACC ที่บริษัทควรจะใช้ควรจะเป็ น WACC ที่มา
จาก WeKe + WdKd (1-T) เนื่องจากว่าได้คำนึงส่วนของหนีแ
้ ละส่วนของทุนที่
มีผลต่อบริษัทแล้ว

Discount Cash Flow (DCF)


Year 0 1 2 3 4 5 6 7 8
Estimate of Incremental Cash Flow
(item : Euro)
(New) Cash Flow from Thor MM-9 -1,441,766.00 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59 -30,269.59
(Old) Cash Flow from Semi Automated 0.00 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -360,942.62 -379,131.62 -379,131.62
Incremental cash flow -1,441,766.00 330,673.03 330,673.03 330,673.03 330,673.03 330,673.03 330,673.03 348,862.03 348,862.03
DCF (1,441,766.00) 312,499.44 295,324.66 279,093.79 263,754.96 249,259.15 235,560.01 234,858.87 221,951.16

Output
NPV 650,536.03
IRR 16.14%
PB 4.36

จากการประมาณการกระแสเงินของโครงการ Thor MM-9 และ


Semi Automated พบว่าบริษัทกระแสเงินสดที่เพิ่มขึน
้ ปี จากการติดตัง้
Thor MM-9 ประมาณ 3.3 แสนยูโร โดยพบว่ามูลค่าปั จจุบัน (NPV) ด้วย
WACC แล้วมีค่าเท่ากับ 6.5 แสนยูโร โดยมีระยะเวลาคืนทุนที่ 4.36 ปี ในแง่
ของผลตอบแทน (IRR) โครงการประมาณร้อยละ 16 หากพิจารณา NPV
และ IRR ที่มีค่ามากกว่า 0 และมากกว่า WACC โครงการดังกล่าวสมควรที่
จะลงทุนได้
4.Are you uncertain about any of the assumption? What
does a sensitivity analysis of those assumptions reveal?

จากที่ Bellucci ได้สันนิษฐานว่าอัตราการใช้งานของเครื่องจักร Thor MM-


9 หลังจากปี ที่แปดทาง บริษัทจำเป็ นต้องเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่มาทดแทน
และจำเป็ นต้องใช้ผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะ ทัง้ นี ้ Bellucci ยังเกิดความไม่มั่นใจ
ในปั จจัยดังนี ้

- ข้อตกลงที่เข้มงวดกับบริษัทจัดหาพนักงาน ในการเลิกจ้างพนักงานควบคุม
เครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติทงั ้ 24 ราย

-การมอบหมายงานใหม่ให้กับพนักงานอาจทำได้ง่าย แต่ทงั ้ นีพ


้ นักงานเหล่านี ้
เป็ นแรงงานไม่มีทักษะ หากจะลดค่าแรงลงก็ขน
ึ ้ อยู่กับการเจรจากับ
สหภาพแรงงาน

- ความไม่แน่ใจในปริมาณความจุในการใช้งานของเครื่องจักร Thor MM-9


จะต้องเพิ่มความจุเมื่อใด บวกกับความไม่แน่นอนมากมายเกี่ยวกับแนวโน้ม
เศรษฐกิจในยุโรป และข่าวเศรษฐกิจล่าสุดชีใ้ ห้เห็นว่าเศรษฐกิจของยุโรปอาจ
จะกำลังชะลอตัว ดังนัน
้ จึงเป็ นเรื่องยากในการตัดสินใจลงทุนเพิ่มในการติด
ตัง้ เครื่องจักร Thor MM-9 ซึ่งสามารถใช้งานได้เพียง 90% ของความจุ

ในการทำ Valuation จะมีผลกระทบจากปั จจัยเสี่ยงหลัก 3 ปั จจัยด้วยกัน


ประกอบไปด้วย
1.Labor Savings - จะเป็ นปั จจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุด ซึง่ ข้อตกลงใน
เรื่องของค่าจ้างกับลูกจ้างที่จะเกิดขึน
้ ในอนาคต จะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายทาง
ด้าน Labor Cost ที่แตกต่างกัน

2.Production Capacity - เป็ นปั จจัยที่มีผลกระทบรองลงมา จะเป็ น


ปั จจัยทางด้านภาพรวมทางเศรษฐกิจของยุโรป, GDP ที่ทางบริษัทกังวลว่า
เศรษฐกิจจะชะลอตัวลง ซึ่งจะส่งผลต่อความต้องการสินค้าและกำลังการ
ผลิตของบริษัท

3.Competitive Advantage - มีผลกระทบน้อยที่สุด ซึ่งเป็ นผลจากการ


พัฒนาของเครื่องจักรที่ทำให้ของเสียจากการผลิตนัน
้ ลดลง ทำให้ประหยัด
ต้นทุนมากขึน
้ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานอุตสาหกรรมที่จะส่งผล
ต่อขนาดของบริษัทในอนาคต

จากการทำ Sensitivity Analysis สำหรับการคาดการณ์ในส่วน


Reassignment Rate, Economics outlook และ Capacity ของ Thor
MM-9 ทัง้ หมด 3 เหตุการณ์ จะได้ข้อมูลดังนี ้

Case of investment in Thor MM-9 100%

NPV Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
Reass 0% 434,810 410,779 385,813 359,877 332,935
20 172,297 139,692 105,818 70,627 34,073
ign
40 (90,215) (131,395 (174,177 (218,622 (264,790
60 (352,727) (402,481 (454,172 (507,871 (563,652
80 (615,240) (673,568 (734,167 (797,121 (862,515

IRR Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
0% 11.65% 11.37% 11.07% 10.75% 10.42%
Reass 20 8.19% 7.76% 7.31% 6.82% 6.31%
ign 40 4.53% 3.91% 3.25% 2.54% 1.77%
60 0.59% -0.28% -1.22% -2.26% -3.41%
80 -3.74% -4.95% -6.31% -7.86% -9.65%

PB Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
0% 5.07 5.11 5.15 5.19 5.23
Reass 20 5.77 5.85 5.93 6.02 6.11
ign 40 6.64 6.79 6.95 7.14 7.37
60 7.80 No No No No
80 No No No No No
*ตารางการคำนวน NPV และ IRR ฉบับเต็มอยู่ในไฟล์ excel
Case of investment in Thor MM-9 80% (5 Machine instead of 6)

NPV Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
0% 650,536 626,505 601,539 575,603 548,661
Reassi 20 388,024 355,419 321,544 286,354 249,799
gn 40 125,511 84,332 41,549 (2,896) (49,063)
60 (137,001 (186,755 (238,446 (292,145 (347,926
80 (399,513 (457,842 (518,441 (581,394 (646,788
IRR Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
0% 16.14% 15.83% 15.51% 15.18% 14.82%
Reassi 20 12.16% 11.69% 11.20% 10.68% 10.12%
gn 40 7.94% 7.27% 6.54% 5.76% 4.92%
60 3.40% 2.45% 1.40% 0.25% -1.04%
80 -1.59% -2.95% -4.49% -6.26% -8.34%
PB Inflation
0% 1% 2% 3% 4%
0% 4.36 4.39 4.42 4.45 4.48
Reassi 20 4.99 5.05 5.11 5.18 5.25
gn 40 5.84 5.97 6.10 6.25 6.42
60 6.96 7.21 7.51 7.91 No
80 No No No No No
*ตารางการคำนวน NPV และ IRR ฉบับเต็มอยู่ในไฟล์ excel

จะเห็นได้ว่าการมอบหมายงานใหม่ให้กับพนักงานที่ใช้เครื่องจักรเดิม
จะมีผลต่อ NPV และ IRR ค่อนข้างมาก ด้วยเหตุผลที่ว่าการใช้เครื่องจักร
เดิมมีจำนวนพนักงานถึง 12 คน ในขณะที่กรณีที่ลงทุนใช้เครื่องจักร Thor
MM-9 จะใช้พนักงานดูแลเพียง 1 คนเท่านัน
้ แต่อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่าย
สำหรับการมอบหมายให้พนักงานเดิม จะส่งผลต่อ Tax Shield ให้เพิ่มสูง
ขึน
้ ด้วยเช่นกัน รวมไปถึงอัตราเงินเฟ้ อในอนาคตจะมีผลทำให้ NPV และ IRR
ต่ำลง ทัง้ นีก
้ ารลดต้นทุนในการซื้อเครื่องจักรอย่าง Thor MM-9 ให้เหลือ
เพียง 5 เครื่อง เพื่อรักษากำลังการผลิตให้เท่าเดิม ก็สามารถเพิ่ม NPV และ
IRR ได้เช่นกันอีกทัง้ มี Payback Period ที่เป็ นไปตามความคาดหวังของ
บริษัทที่มีระยะเวลาต่ำกว่า 5 ปี อีกด้วย

5.Are there qualitative issues that we should address but


which are not affected in the DCF analysis?
ประเด็นเชิงคุณภาพ (Qualitative issues) ที่ทางกลุ่มพิจารณา โดยที่ไม่
กระทบกับการวิเคราะห์การประเมินมูลค่าด้วยวิธีคิดลดกระแสเงินสด (DCF
analysis) นัน
้ ได้แก่

- คุณภาพการผลิต (Quality) เนื่องจากเครื่องจักร Thor MM-9 นัน


้ ใช้
แรงงานคนน้อยกว่ามาก จากเดิมที่ต้องใช้ 24 คนต่อวัน เหลือ 2 คน
ต่อวัน ทำให้คณ
ุ ภาพการผลิตนัน
้ ดีขน
ึ ้ จากการลดปั ญหาที่เกิดจาก
ความผิดพลาดของคน (Human error) ลงได้
- ความรู้ ทักษะ และความชำนาญ (Know-how) โดยเครื่องจักร Thor
MM-9 ต้องอาศัยแรงงานที่มีความรู้ ทักษะ และความชำนาญมากกว่า
เมื่อเทียบกับเครื่องจักรแบบเดิม หรือ Semiautomated
- จากการที่เครื่องจักร Thor MM-9 ต้องการแรงงานที่มีความรู้ ทักษะ
และความชำนาญสูงกว่า ดังนัน
้ การหาแรงงานมาทดแทน เมื่อนำ
เครื่องจักร Thor MM-9 มาใช้ จะทำได้ยากกว่า ส่งผลให้การดำเนิน
การผลิตมีความยืดหยุ่น (Flexibility) ต่ำลง
- เพราะการที่ Thor MM-9 เป็ นเทคโนโลยีใหม่ และใช้แรงงานคนน้อย
ลงมาก อาจนำมาซึ่งความเสี่ยงทางเทคโนโลยี (Technology risk)
โดยเป็ นความเสี่ยงที่หากระบบเกิดความล้มเหลว ก็จะทำให้การดำเนิน
การผลิตหยุดชะงักลงได้
- การนำ Thor MM-9 มาใช้ จะสามารถลดพื้นที่การผลิตลงได้เกือบครึ่ง
หนึ่ง จากเดิมที่ใช้พ้น
ื ที่กว่า 30% ต่อชัน
้ โรงหล่อ จึงทำให้ประหยัด
พื้นที่ (Save space) และสามารถนำพื้นที่นน
ั ้ มาเป็ นพื้นที่จัดเก็บ จะ
ทำให้ประหยัดต้นทุนการจัดเก็บได้ (Storage cost)
6.What should Martine Bellucci recommend to her board of
directors?

เมื่อพิจารณาจาก Sensitivity Analysis จะเห็นได้ว่า Martine


Bellucci ควรเลือกลงทุน Thor MM-9 80% (5 Machine instead of 6)
ซึ่งสังเกตจากค่า NPV (Net Present Value) ที่เป็ นบวก มีเท่ากับ 650,536
Euro มี IRR (Internal Rate of Return) เท่ากับ 16.14% ซึ่ง IRR ยังมีค่า
มากกว่า WACC ที่ 5.82% และมี PB (Payback) 4.36 ปี เมื่อเทียบกับอีก
แบบที่ลงทุน Thor MM-9 100% ที่มีค่า NPV 434,810 Euro มี IRR
เท่ากับ 11.65% และมี PB 5.07 ปี ซึ่งจะเห็นว่าแบบที่เลือกลงทุน Thor
MM-9 80% จะมี NPV IRR ที่มากกว่า และมี PB คืนทุนเร็วกว่าแบบที่เลือก
ลงทุน Thor MM-9 100% จึงสรุปได้ว่า เลือกลงทุนซื้อ Thor MM-90 80%
(5 Machine instead of 6) มาเปลี่ยนแทน Semi Automated นอกจาก
จะช่วยลดปั ญหาค่าแรง ยังช่วยเพิ่มคุณภาพการผลิตให้มากขึน
้ สามารถ
สร้างชื่อเสียงเพิ่มให้กับบริษัทอีกทางหนึ่งด้วย
Team Member
1. Mr. Thanakrit Watayanon Student ID : 6350021
2. Mr. Paphonsan Jirawanphan Student ID : 6350024
3. Miss Natnicha Nillmark Student ID : 6350106
4. Miss Thanunya Swakpibool Student ID : 6350108
5. Mr. Perawat Riensaowapak Student ID : 6350113
6. Mr. Vinithi Thongkampala Student ID : 6350116
7. Miss Araya Saraneeyanon Student ID : 6350118
8. Miss Kanoknad Kalaphakdee Student ID : 6350214 
9. Miss Nalinee Sirirat Student ID : 6350216
10. Mr. Suppawit Wareesurahan
Student ID : 6350218 
11. Miss Hathaichanok Triros Student ID : 6350220
12. Miss Pobporn Jeasakul Student ID : 6350222 
13. Miss Wanlapa deepun
Student ID : 6350224
14. Miss Chattraporn Mesawas
Student ID : 6350238 

You might also like